สารบัญ
38 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2493รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2อำเภอบ้านดุงอำเภอพรรณานิคมอำเภอพังโคนอำเภอกุมภวาปีอำเภอกุสุมาลย์อำเภอศรีสงครามอำเภอสว่างแดนดินอำเภอส่องดาวอำเภอหนองหานอำเภออากาศอำนวยอำเภอธาตุพนมอำเภอปลาปากอำเภอนาหว้าอำเภอนาแกอำเภอโพนสวรรค์อำเภอไชยวานอำเภอเมืองสกลนครอำเภอเมืองอุดรธานีอำเภอเมืองนครพนมอำเภอเจริญศิลป์จังหวัดบึงกาฬจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดมุกดาหารจังหวัดสกลนครจังหวัดหนองคายจังหวัดขอนแก่นจังหวัดนครพนมถนนมิตรภาพถนนนิตโยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 216ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงแปลก พิบูลสงคราม10 ธันวาคม
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2
ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วยเลข 2 สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางส่วนในภาคเหนือ และภาคกลาง.
ดู ถนนนิตโยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2
อำเภอบ้านดุง
อำเภอบ้านดุง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานีและเป็นอำเภอที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับสอง ของจังหวัดอุดรธานี.
อำเภอพรรณานิคม
รรณานิคม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.
อำเภอพังโคน
ังโคน เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่เกือบกึ่งกลางจังหวัดสกลนคร และเป็นอำเภอที่มีความเจริญมากอีกอำเภอหนึ่ง เป็นรองแค่เพียงอำเภอเมืองสกลนคร และอำเภอสว่างแดนดิน ถือเป็นศูนย์กลางทางด้านการค้าและการคมนาคมขนส่งทางตอนกลางของจังหวั.
อำเภอกุมภวาปี
อำเภอกุมภวาปี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
อำเภอกุสุมาลย์
กุสุมาลย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.
อำเภอศรีสงคราม
อำเภอศรีสงคราม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม เป็นศูนย์กลางของจังหวัดนครพนมตอนบน โดยเป็นที่ตั้งของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศรีสงคราม มหาวิทยาลัยนครพนม สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษานครพนม เขต 2 สำนักงานประปาศรีสงคราม สถานีไฟฟ้าศรีสงคราม และยังเป็นตลาดส่งออกปลาแม่น้ำสงครามที่สำคัญอีกแห่ง.
อำเภอสว่างแดนดิน
ว่างแดนดิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร เดิมมาจากเมืองสว่างแดนดิน จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น อำเภอสว่างแดนดิน และปี ..
ดู ถนนนิตโยและอำเภอสว่างแดนดิน
อำเภอส่องดาว
องดาว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.
อำเภอหนองหาน
หนองหาน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี.
อำเภออากาศอำนวย
อากาศอำนวย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.
อำเภอธาตุพนม
ตุพนม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.
อำเภอปลาปาก
อำเภอปลาปาก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.
อำเภอนาหว้า
นาหว้า เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครพนม ซึ่งมีชาวไทญ้ออาศัยเป็นจำนวนมาก เช่นที่ ตำบลนาหว้า เป็นต้น สถานที่สำคัญคือวัดธาตุประสิทธิ์และลำน้ำอูน ในอดีตมีการกล่าวว่าอำเภอนี้มีความทุรกันดาร และเนื่องจากในบริเวณอำเภอนาหว้า มีต้นหว้าจำนวนมาก ชาวบ้านจึงนำชื่อต้นหว้า มาตั้งเป็นชื่อ "อำเภอนาหว้า".
อำเภอนาแก
นาแก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.
อำเภอโพนสวรรค์
อำเภอโพนสวรรค์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.
อำเภอไชยวาน
วาน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี.
อำเภอเมืองสกลนคร
มืองสกลนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.
ดู ถนนนิตโยและอำเภอเมืองสกลนคร
อำเภอเมืองอุดรธานี
มืองอุดรธานี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี.
ดู ถนนนิตโยและอำเภอเมืองอุดรธานี
อำเภอเมืองนครพนม
อำเภอเมืองนครพนม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.
ดู ถนนนิตโยและอำเภอเมืองนครพนม
อำเภอเจริญศิลป์
ริญศิลป์ เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 18 อำเภอของจังหวัดสกลนคร.
จังหวัดบึงกาฬ
ึงกาฬ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนสุดของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 765 กิโลเมตร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ.
จังหวัดกาฬสินธุ์
ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.
ดู ถนนนิตโยและจังหวัดกาฬสินธุ์
จังหวัดมุกดาหาร
มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.
จังหวัดสกลนคร
กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).
จังหวัดหนองคาย
หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษ.
จังหวัดขอนแก่น
ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.
จังหวัดนครพนม
ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.
ถนนมิตรภาพ
นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..
ถนนนิตโย
นนนิตโย หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี–นครพนม เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็นถนนทหาร และถนนอุดรดุษฎี ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี (เส้นเดียวกับถนนโพศรี) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่านอำเภอหนองหาน อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง และเข้าสู่เขตจังหวัดสกลนครที่อำเภอสว่างแดนดิน ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน อำเภอพังโคน อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมืองสกลนคร เทศบาลตำบลท่าแร่ อำเภอกุสุมาลย์ และเข้าสู่เขตจังหวัดนครพนมที่อำเภอเมืองนครพนมไปบรรจบเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 240.746 กิโลเมตร ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 สายหนองคาย–อุบลราชธานี หรือ ถนนชยางกูร เริ่มจากแยกถนนมิตรภาพสายเก่า ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 233 ใน อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ไปทางทิศตะวันออกทอดยาวไปตามแม่น้ำโขง ผ่านเข้าจังหวัดบึงกาฬ จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดยโสธร จังหวัดอำนาจเจริญ และไปสิ้นสุดที่ตัวเมืองจังหวัดอุบลราชธานี มีระยะทางประมาณ 583.575 กิโลเมตร เดิมมีชื่อเรียกว่า ทางหลวงแผ่นดินสายอุบลราชธานี-มุกดาหาร-นครพนม ได้รับการตั้งขนานนามว่า ถนนชยางกูร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม..
ดู ถนนนิตโยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 216
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 216 หรือ ถนนวงแหวนรอบเมืองอุดรธานี เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งจังหวัดอุดรธานี เป็นถนนวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองอุดรธานี มีระยะทาง 26.497 กิโลเมตร.
ดู ถนนนิตโยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 216
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222 สายพังโคน–บึงกาฬ เป็นทางหลวงในแนวเหนือ-ใต้ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดสกลนครกับจังหวัดบึงกาฬ มีระยะทางตลอดทั้งสาย 128.756 กิโลเมตร.
ดู ถนนนิตโยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227 สายกาฬสินธุ์–พังโคน เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวเหนือ-ใต้ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดกาฬสินธุ์กับจังหวัดสกลนคร และมีเส้นทางคาบเกี่ยวไปยังจังหวัดอุดรธานี มีระยะทางตลอดทั้งสาย 162.667 กิโลเมตร เส้นทางมีเริ่มต้นในทางทิศใต้ จากทางแยกระหว่างถนนบุญกว้างกับถนนอนรรฆนาค ในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ มุ่งไปยังทิศเหนือไปยังอำเภอสหัสขันธ์ เมื่อถึงตำบลโนนบุรี เส้นทางจะเลี้ยวไปทางขวาอ้อมเขื่อนลำปาว ผ่านบางส่วนของอำเภอสมเด็จ เข้าอำเภอคำม่วง อำเภอสามชัย แล้วเข้าเขตจังหวัดอุดรธานี ผ่านอำเภอวังสามหมอ แล้วเลี้ยวขวาขึ้นไปทางทิศเหนือไปยังจังหวัดสกลนคร ผ่านอำเภอวาริชภูมิ และสิ้นสุดที่อำเภอพังโคน และสามารถเชื่อมต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222 ไปยังจังหวัดบึงกาฬได้.
ดู ถนนนิตโยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง อยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้องค์การยูเนสโกจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก.
ดู ถนนนิตโยและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ถนนนิตโยและแปลก พิบูลสงคราม
10 ธันวาคม
วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22