สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: ชเวโบพระมหามัยมุนีพระเจ้าจักกายแมงพระเจ้าปดุงพระเจ้าแสรกแมงรัฐยะไข่ราชวงศ์โกนบองรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่าอมรปุระตะนาวศรี
- นายพลชาวพม่า
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2305
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2351
- ราชวงศ์โก้นบอง
- เจ้าชายพม่า
ชเวโบ
วโบ (Shwebo; ရွှေဘို) เป็นเมืองในเขตสะกาย ประเทศพม่า ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 113 กิโลเมตร ระหว่างแม่น้ำอิรวดีกับแม่น้ำมู มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ เป็นสถานที่ประสูติของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายของประเทศพม่า ต่อมาเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรในรัชสมัยของพระองค์ระหว่างปี..
พระมหามัยมุนี
ระมหามัยมุนี หรือ มหาเมียะมุนี (မဟာမြတ်မုနိ ရုပ်ရှင်တော်မြတ်ကြီး) เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศพม่า และเป็นหนึ่งในห้าศาสนวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ของพม่า คำว่า มหามัยมุนี แปลว่า "ผู้รู้อันประเสริฐ" (The Great Sage) เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องกษัตริย์ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ อดีตราชธานีของพม่าในยุคราชวงศ์คองบอง เดิมทีเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของยะไข่ มีตำนานเล่าว่าสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลโดยกษัตริย์แห่งเมืองยะไข่ องค์พระทำจากทองสัมฤทธิ์หนัก 6.5 ตัน มีการสร้างบนฐานสูง รวมองค์พระมีความสูงทั้งหมดกว่า ไหล่กว้าง และรอบเอวกว้าง Schober, p.263 ก่อนสร้างกษัตริย์ผู้สร้างทรงพระสุบินว่า พระพุทธเจ้า เสด็จมาประทานพรให้พระพุทธปฏิมาองค์นี้เป็นตัวแทนของพระองค์ เพื่อเป็นเครื่องสืบพระพุทธศาสนาไปในภายภาคหน้าSchober, p.268 โดยในอดีตแม้เมืองยะไข่จะถูกโจมตีโดยกษัตริย์เมืองอื่นที่ทรงแสนยานุภาพอย่างไร ก็ไม่อาจที่จะเคลื่อนย้ายองค์พระมหามัยมุนีนี้ออกจากเมืองได้ ต้องมีเหตุให้ขัดข้องทุกครั้งไป จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระเจ้าปดุง แห่งราชวงศ์คองบองสามารถตียะไข่ได้ และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีออกจากยะไข่ได้ในปี พ.ศ.
พระเจ้าจักกายแมง
ระเจ้าบาจีดอ หรือ พระเจ้าจักกายแมง (Bagyidaw, Sagaing Min; ဘကြီးတော်)เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 6 แห่งราชวงศ์อลองพญา มีนโยบายขยายอำนาจเข้าไปในแคว้นอัสสัมและมณีปุระ ทำให้มีปัญหากับอังกฤษ และนำไปสู่การเกิดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง.
ดู ตะโดเมงสอและพระเจ้าจักกายแมง
พระเจ้าปดุง
ระเจ้าปดุง (Bodawpaya) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์อลองพญา (หรือเป็นองค์ที่ 6 หากนับรวมพระเจ้าหม่องหม่องด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี พ.ศ.
พระเจ้าแสรกแมง
ระฆัง ''Maha Tissada Gandha'' สร้างโดยพระเจ้าแสรกแมง แขวนไว้ที่พระเจดีย์ชเวดากอง พระเจ้าสารวดี (Tharrawaddy Min; သာယာဝတီမင်း) หรือ พระเจ้าแสรกแมง เป็นพระโอรสของตะโดเมงสอ (Thado Minsaw) ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าปดุง พระองค์เป็นพระอนุชาของพระเจ้าจักกายแมง หรือพระเจ้าบาจีดอว์ และเป็นกษัตริย์องค์ที่ 7 ในราชวงศ์อลองพญา ประสูติเมื่อ 14 มีนาคม..
รัฐยะไข่
ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.
ราชวงศ์โกนบอง
ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..
รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า
ระเจ้าธีบอถูกเนรเทศในปี 1885.
ดู ตะโดเมงสอและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า
อมรปุระ
อมรปุระ เป็นเมืองที่อยู่ทางตอนใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ออกไป 12 กิโลเมตร นับเป็นอีกหนึ่งเมืองของพม่าที่ยังคงมนต์ขลังมาจนปัจจุบัน ซึ่งสามารถสัมผัสได้จากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมไปถึงอารยธรรมอันเก่าแก่ของเมืองที่สามารถพบเห็นได้จากเหล่าวัดอารามและเจดีย์ที่ตั้งเรียงรายอยู่รอบๆตัวเมือง วัดมหากันดายน (Maha Gandhayon Kyaung) วัดที่ตั้งอยู่ริมทะเลสาบตองตะมาน (Taungthaman Lake) วัดมหากันดายน เป็นวิทยาลัยสงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดของพม่า มีภิกษุและสามเณรมาศึกษาเล่าเรียนทางธรรมกว่า 1,200 คน นอกจากนี้แล้วยังมีพระสงฆ์บางส่วนเป็นพระชาวต่างชาติที่มาจากหลายๆประเทศได้แก่ ยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น ฯลฯ ทะเลสาบตองตะมานมี สะพานอูเบ็ง (U Bein Bridge) สะพานไม้สักที่ยาวที่สุดในโลก สะพานไม้อูเบ็งทอดข้ามทะเลสาบตองตะมานซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของเมืองอมรปุระ มุ่งตรงไปสู่เจดีย์เจ๊าตอว์กยี (Kyautawgyi Paya) ซึ่งอยู่อีกฝากหนึ่งของทะเลสาบรวมระยะทางยาวกว่า 1.2 กิโลเมตร.
ตะนาวศรี
ตะนาวศรี (တနင်္သာရီ, ตะนี้นตายี; สำเนียงมอญ: ตะเนิงซอย; Tanintharyi, Taninthayi) เดิมใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า เทนัสเซริม (Tenasserim) เป็นเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม.
ดูเพิ่มเติม
นายพลชาวพม่า
- ตะโดเมงสอ
- พญาทะละ (เสนาบดี)
- มหาพันธุละ
- มหาเนเมียว
- มังฆ้องนรธา
- มังมหานรธา
- มี่นอองไลง์
- ราซะทินจานแห่งพุกาม
- สมิงนครอินทร์
- สมิงพยู
- สมิงมะราหู
- สมิท ดุน
- อองซาน
- อะแซหวุ่นกี้
- เนเมียวสีหตู
- เนเมียวสีหบดี
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2305
- จักรพรรดิซา ล็อง
- จักรพรรดินีเถื่อ เทียน
- ช็อง ยัก-ย็อง
- ตะโดเมงสอ
- สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
- สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2351
- จักรพรรดินีเซี่ยวมู่เฉิง
- ตะโดเมงสอ
- พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก
- อาร์ชดัชเชสมาเรีย เอลีซาเบทแห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1743–1808)
- เจ้าหญิงฮวาวาน
ราชวงศ์โก้นบอง
- กินหวุ่นมินจี
- จูน โรส เบลลามี
- ตะโดเมงสอ
- พระเจ้าจักกายแมง
- พระเจ้าจิงกูจา
- พระเจ้าปดุง
- พระเจ้ามังระ
- พระเจ้ามังลอก
- พระเจ้ามินดง
- พระเจ้าสีป่อ
- พระเจ้าหม่องหม่อง
- พระเจ้าอลองพญา
- พระเจ้าแสรกแมง
- มหาพันธุละ
- มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว
- มหาเนเมียว
- มังฆ้องนรธา
- สงครามจีน–พม่า
- สงครามอะแซหวุ่นกี้
- สงครามเก้าทัพ
- เจ้าหญิงเต่งกะด๊ะ
- เจ้าหญิงเมกถีหล่า
- เจ้าหญิงเมียะพะยา
- เจ้าหญิงเมียะพะยากะเล
- เจ้าหญิงเมียะพะยาละ
- เนเมียวสีหตู
เจ้าชายพม่า
- ตะโดเมงสอ
- นะฉิ่นเหน่าง์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Thado Minsawตะโดเมงสอ (พระเจ้าปดุง)