โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ดัชนี ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

58 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2275พ.ศ. 2475พญามังรายพญางำเมืองพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาพุทธวงศ์พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)พระยาธรรมลังกาพระยาขัติยะพระยาคำฟั่นพระยาคำตันพระยาคำโสมพระยาน้อยลังกาพระยาน้อยอินท์พระยาไชยวงศ์พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)พระเจ้ากาวิละพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์พระเจ้ามโหตรประเทศพระเจ้าลำพูนไชยพระเจ้าอินทวิชยานนท์พระเจ้าดวงทิพย์ราชวงศ์ราชวงศ์มังรายราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปางสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหัวเมืองเหนืออาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรล้านนาอาณาจักรอยุธยาจังหวัดลำพูนจังหวัดลำปางประเทศพม่าประเทศกัมพูชานครรัฐนครเชียงใหม่เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้วเจ้าพรหมาภิพงษธาดาเจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง)เจ้าวรญาณรังษีเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปางเจ้าศรีอโนชาเจ้าอินทยงยศโชติ...เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์เจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์เจ้านรนันทไชยชวลิตเจ้าแก้วนวรัฐเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณเจ้าเหมพินธุไพจิตร ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

พ.ศ. 2275

ทธศักราช 2275 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพ.ศ. 2275 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พญามังราย

ญามังรายประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 267.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพญามังราย · ดูเพิ่มเติม »

พญางำเมือง

ญางำเมือง (60px) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 12 ของแคว้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพญางำเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพุทธวงศ์

ระยากากวรรณาธิปะราชวชิรปราการ หรือ พระยาพุทธวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาพุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

ระยาวิเชียรปราการ หรือ พระยาจ่าบ้าน (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราชนครเชียงใหม่สมัยกรุงธนบุรี ช่วง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาธรรมลังกา

ระยาธรรมลังกา หรือพระญาธัมมลังกา (120px) (พ.ศ. 2289- พ.ศ. 2365) หรือ พระยาเชียงใหม่ช้างเผือก เป็นพระยาเชียงใหม่องค์ที่ 2 ในราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นราชบุตรในเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า "เจ้าเจ็ดตน".

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาธรรมลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาขัติยะ

้าหลวงขัติยะ (80px) (เจ้าคันธิยะ ณ ลำปาง) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 7 ครองราชย์ในปี พ.ศ. 2380 แต่ครองราชย์ได้เพียง 6 เดือน ก็เสด็จถึงแก่พิราลั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาขัติยะ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำฟั่น

ระยาคำฟั่น หรือ พระญาคำฝั้น หรือพระนามเต็มว่า "เจ้ามหาสุภัทรราชะ" ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 1 ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาคำฟั่น · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำตัน

้าหลวงคำตัน หรือ พระยาคำตัน เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 4 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2381 - พ.ศ. 2384 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 3 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาคำตัน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำโสม

ระยาคำโสม (พ.ศ. 2287 - พ.ศ. 2337) หรือ เจ้าคำสม เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 4 เป็นหนึ่งในเจ้าเจ็ดตน และเป็นราชบุตรองค์ที่ 2 ของเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว ได้ครองนครลำปางสืบต่อจากพระเชษฐา คือพระเจ้ากาวิละ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาคำโสม · ดูเพิ่มเติม »

พระยาน้อยลังกา

้าหลวงธรรมลังกา (100px) หรือ พระยาน้อยลังกา (พ.ศ.2384 - พ.ศ. 2386) เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 5 ครองนครลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2384 ถึง พ.ศ. 2386 รวมระยะเวลาครองนคร 2 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาน้อยลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาน้อยอินท์

้าหลวงน้อยอินทร์ (80px) หรือ "พระยาน้อยอินท์" เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 8 และเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 3 เป็นราชบุตรของพระเจ้าคำโสม องค์ที่ 3 เป็นพระอนุชาเจ้าหลวงขัต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาน้อยอินท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาไชยวงศ์

้าหลวงไชยวงศ์ (100px) (เจ้ามหาขนานไชยวงศ์) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 6 ในระหว่างปี พ.ศ. 2369 - พ.ศ. 2380 เป็นราชบุตรองค์โต ในพระเจ้าคำโสม เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 4 เป็นราชนัดดาในเจ้าฟ้าชายแก้ว สิงหราชธานี และเป็นราชปนัดดาในพระเจ้าทิพย์จักรสุละวะฤๅไชยสงคราม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาไชยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)

ระยาไชยสงคราม หรือพระยาสุลวะลือไชยสงคราม หรือ พ่อเจ้าทิพย์ช้าง (80px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิละ

ระบรมราชาธิบดี หรือ พระเจ้ากาวิละ (125px) (พ.ศ. 2285 - พ.ศ. 2358) เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ปกครองดินแดนล้านนาไท 57 เมือง ตลอดรัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาแห่งการศึกสงครามและสร้างบ้านแปงเมือง ทรงเป็นกษัตริย์ชาตินักรบได้ทรงร่วมกับพระอนุชาทั้ง 6 และกองทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กอบกู้อิสรภาพแผ่นดินล้านนาออกจากพม่า และนำล้านนาเข้ามาเป็นประเทศราชแห่งสยาม ด้วยพระปรีชาสามารถและพระเดชานุภาพในการรบ ทรงสามารถขยายขอบขัณฑสีมาแผ่นดินล้านนาออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล กอปรกับความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี ในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้ากาวิละ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์

ระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามโหตรประเทศ

ระเจ้ามโหตรประเทศ (100px) (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้ามโหตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าลำพูนไชย

ระเจ้าลำพูนไชย (พ.ศ. 2303 - พ.ศ. 2370) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนพระองค์ที่ 2 ครองราชย์ในระหว่างปี พ.ศ. 2358 ถึงปี พ.ศ. 2370 เป็นหนึ่งในเจ้าเจ็ดตนต้นราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นเจ้าผู้ครองนครที่ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น "พระเจ้าประเทศราช" องค์ที่ 3 ตั้งในสมัยรัชกาลที่ 3.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้าลำพูนไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าดวงทิพย์

ระเจ้าดวงทิพย์ (80px) (พ.ศ. 2291 - พ.ศ. 2369) เจ้าผู้ครองนครลำปาง สืบต่อจากพระเจ้าคำโสมผู้เป็นพระเชษฐา ครองราชย์ในระหว่างปี 2337 - 2369 ซึ่งพระองค์ทรงเป็นเจ้าราชบุตรองค์ที่ 4 ของเจ้าฟ้าชายแก้ว สิงหราชธานี พระเจ้าดวงทิพย์ หรือ "พระเจ้านครลำปางดวงทิพ" ได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระเจ้าประเทศราช พระองค์ที่ 2 ถัดจากพระบรมราชาธิบดีฯวรชาติ มีชูบท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและพระเจ้าดวงทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์มังราย

ราชวงศ์มังราย (90px) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพญามังรายจนถึงพระเจ้าเมกุฎิสุทธิวงศ์ (ท้าวแม่กุ) เป็นเวลายาวนานกว่า 260 ปี จนถึงยุคเสื่อม เมื่ออุปนิกขิต (สายลับ) ที่พระเจ้าบุเรงนองส่งมาฝังตัวเพื่อรายงานสถานการณ์ในเชียงใหม่ แจ้งกลับไปบอกว่าเชียงใหม่ถึงยุคเสื่อมสุดแล้ว ให้ยกทัพหงสาวดีมาชิงเมือง ดังนั้น ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและราชวงศ์มังราย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง

้าผู้ครองนครลำปาง เป็นตำแหน่งที่เริ่มมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรหริภุญชัย โดยกษัตริย์พระองค์แรกของนครลำปางคือพระเจ้าอนันตยศ พระราชโอรสของพระนางจามเทวี พระเจ้าอนันตยศทรงสร้างนครลำปางและขึ้นครองเมืองเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

หัวเมืองเหนือ

มืองเหนือ หรือ หัวเมืองเหนือ มีความหมายต่างกันในด้านเงื่อนไขเวลา ดังนี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและหัวเมืองเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐ

โมนาโก ถือเป็นนครรัฐแห่งหนึ่ง นครรัฐ (city state) คือภูมิภาคที่ควบคุมโดยสมบูรณ์โดยเมืองเพียงเมืองเดียว ส่วนใหญ่จะมีเอกราช โดยประวัติศาสตร์แล้ว นครรัฐมักจะเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ใหญ่กว่า ดังเช่นนครรัฐในกรีกโบราณ (เช่น เอเธนส์ สปาร์ตา และโครินธ์) เมืองในเอเชียกลางตามเส้นทางสายไหม นครรัฐในอิตาลีเหนือ (โดยเฉพาะ ฟลอเรนซ์และเวนิซ) ปัจจุบันประเทศที่เป็นนครรัฐมีอยู่ทั้งหมด 3 ประเทศ คือ สาธารณรัฐสิงคโปร์, ราชรัฐโมนาโก และนครรัฐวาติกัน แต่บางแห่งก็ถูกจัดว่าเป็นนครรัฐด้วย อาทิ สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐซานมารีโนMogens, Hansen.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและนครรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (120px) (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ครองราชย์ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2465) ตลอดรัชสมัย เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตดำรงความมั่นคงสุจริตและความจงรักภักดีต่อพระบรมราชวงศ์จักรี พระองค์ได้ทรงพัฒนานครลำปางและเมืองบริวารในด้านต่าง ๆ ให้ทันกับการพัฒนาในส่วนกลาง ได้ทรงประทานที่ดินและทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อจัดสร้างถาวรวัตถุในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และการก่อสร้างสถานศึกษา ตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆ เพื่อความผาสุกแก่ประชาชนลำปางอย่างแท้จริง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว

้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว (140px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางพระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมาภิพงษธาดา

้าพรหมาภิพงษธาดา (250px) เจ้านครลำปางองค์ที่ 10 ในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2416 ถึงปี พ.ศ. 2435 (แต่ในบางตำราว่าถึงปี พ.ศ. 2429).

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าพรหมาภิพงษธาดา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง)

รองหัวหมื่น เจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง) (300px) เป็นผู้รั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำปาง ต่อมาถึงแก่พิราลัยใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าราชบุตร (แก้วเมืองพวน ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวรญาณรังษี

้าวรญาณรังษี เจ้าผู้ครองนครลำปางองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร เป็นราชบุตรในพระเจ้าคำโสม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าวรญาณรังษี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง

้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือ สายสกุล ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทในสังคม เป็นผู้นำของกลุ่มเจ้านายสายสกุล ณ ลำปาง และเป็นประธานกรรมการมูลนิธิเจ้าพระญาสุลวะลือไชยสงคราม (พ่อเจ้าทิพย์ช้าง).

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีอโนชา

้าศรีอโนชา หรือ เจ้ารจจาสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าศรีอโนชา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทยงยศโชติ

้าอินทยงยศโชติ (110px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าอินทยงยศโชติ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์

้าหลวงดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ (170px) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 7 แห่ง ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)".

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านรนันทไชยชวลิต

้านรนันทไชยชวลิต (120px) เป็นเจ้านครลำปางองค์ที่ 12มงคล ถูกนึก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้านรนันทไชยชวลิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ

้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (210px) เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 6 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2386 - พ.ศ. 2414 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 28 ปี ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนที่ปกครองลำพูนยาวนานเป็นอับดับที่ 2 รองจากเจ้าจักรคำขจรศัก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเหมพินธุไพจิตร

้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่ง "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)".

ใหม่!!: ราชวงศ์ทิพย์จักรและเจ้าเหมพินธุไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชวงศ์กาวิละราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์เจ้าเจ็ดตนราชวงศ์ทิพจักราธิวงศ์ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน (ทิพย์จักราธิวงศ์)ตราประทับประจำราชวงศ์ทิพยจักราธิวงศ์เชื้อเจ็ดองค์เจ้าเจ็ดตน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »