สารบัญ
32 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2443กรีกกิโลเมตรกึ่งแกนเอกระบบสุริยะรีอา (ดาวบริวาร)วันวงแหวนของดาวเสาร์สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลองศา (มุม)ดาวบริวารดาวเสาร์ดาวเคราะห์แคระความเอียงของวงโคจรคาบดาราคติแพนแพนโดราแอตลัสแซตเทิร์นโพรมีเทียสโรมันโครนัสไฮพีเรียนไฮโดรคาร์บอนไททันไดโอนีเส้นผ่านศูนย์กลางเอพิมีเทียสเอนเซลาดัสเจนัสเนเจอร์ (วารสาร)S/2007 S 2
พ.ศ. 2443
ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และพ.ศ. 2443
กรีก
กรีก (Greek) อาจหมายถึง.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และกรีก
กิโลเมตร
กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และกิโลเมตร
กึ่งแกนเอก
กึ่งแกนเอกของวงรี ระยะกึ่งแกนเอก (Semi-major axis) ในทางเรขาคณิต หมายถึงความยาวครึ่งหนึ่งของแกนเอก ซึ่งใช้แสดงถึงมิติของวงรีหรือไฮเพอร์โบลา หมวดหมู่:ภาคตัดกรวย.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และกึ่งแกนเอก
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และระบบสุริยะ
รีอา (ดาวบริวาร)
รีอา (Rhea,; Ῥέᾱ) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของดาวเสาร์และดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ในระบบสุริยะ ค้นพบโดยโจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี ในปี ค.ศ.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และรีอา (ดาวบริวาร)
วัน
วัน คือหน่วยของเวลาที่เท่ากับ 24 ชั่วโมง ถึงแม้หน่วยนี้จะไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่ก็มีการยอมรับเพื่อใช้ประกอบกับหน่วยเอสไออื่น ซึ่งหน่วยเวลาที่เป็นหน่วยเอสไอคือ วินาที คำว่า วัน มาจากภาษาไทยเดิม (ลาว: ວັນ วัน, ไทใหญ่:ဝၼ်း วั้น) คำว่า day ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า dæg ซึ่งสะกดคล้ายกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ตัวอย่างเช่น dies ในภาษาละตินและ dive ในภาษาสันสกฤต ซึ่งกลายเป็น ทิวา ในภาษาไท.
วงแหวนของดาวเสาร์
ราสดาวเสาร์บังดวงอาทิตย์ จากยานคาสสินี-ไฮเกนส์ เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2006 ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีระบบวงแหวนดาวเคราะห์ขนาดใหญ่มากกว่าดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากนับไม่ถ้วน ที่มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่ไมโครเมตรไปจนถึงหลายเมตร กระจุกตัวรวมกันอยู่และโคจรไปรอบๆ ดาวเสาร์ อนุภาคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง มีบางส่วนที่เป็นฝุ่นและสสารอื่น วงแหวนของดาวเสาร์ช่วยสะท้อนแสง ทำให้มองเห็นความสว่างของดาวเสาร์เพิ่มมากขึ้น แต่เราไม่สามารถมองเห็นวงแหวนเหล่านี้ได้ด้วยตาเปล่า ในปี..
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และวงแหวนของดาวเสาร์
สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล
หพันธ์ดาราศาสตร์สากล (ไอเอยู) (IAU - International Astronomical Union) เป็นองค์กรที่รวมกลุ่มสมาคมดาราศาสตร์ต่าง ๆ จากทั่วโลกเข้าด้วยกัน และเป็นสมาชิกของสภาวิทยาศาสตร์นานาชาติ (ไอซีเอสยู) มีอำนาจในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย รวมถึงวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์อื่น ๆ สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลประกอบด้วยคณะทำงานตั้งชื่อระบบดาวเคราะห์ (Working Group for Planetary System Nomenclature - WGPSN) ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการในการประชุมตั้งชื่อวัตถุต่าง ๆ และรับผิดชอบระบบโทรเลขดาราศาสตร์ แม้ว่าไม่ได้เป็นผู้ดำเนินการเองโดยตรง สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล
องศา (มุม)
องศา (degree) หรือในชื่อเต็มคือ ดีกรีของส่วนโค้ง (degree of arc, arcdegree) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ หนึ่งองศา แทนการกวาดมุมรอบจุดศูนย์กลางของวงกลมไปได้ 1 ส่วนใน 360 ส่วน และเมื่อมุมนั้นอ้างอิงกับเส้นเมอริเดียน องศาจะแสดงให้เห็นถึงตำแหน่งต่างๆ บนวงกลมใหญ่ของทรงกลม อย่างที่มีการใช้อ้างอิงตำแหน่งบนโลก ดาวอังคาร หรือทรงกลมท้องฟ้า เป็นต้น สัญลักษณ์วงกลมเล็ก ° ใช้แทนหน่วยองศาในการเขียน และเป็นหน่วยเดียวที่ไม่ต้องเว้นวรรคระหว่างตัวเลขกับสัญลักษณ์ เช่น 15° แทนมุมขนาด 15 อง.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และองศา (มุม)
ดาวบริวาร
วบริวาร (Natural satellite) คือ วัตถุตามธรรมชาติที่โคจรรอบดาวเคราะห์ ระบบสุริยะของเรามีดาวบริวารบริวารอยู่มากกว่า 140 ดวง โดยปกติดาวเคราะห์แก๊สที่มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก จะมีดาวบริวารจำนวนมาก ดาวพุธและดาวศุกร์ไม่มีดาวบริวารแม้แต่ดวงเดียว โลกมี 1 ดวง คือดวงจันทร์ ดาวอังคารมีดาวบริวารขนาดเล็ก 2 ดวง.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และดาวบริวาร
ดาวเสาร์
วเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวงอาทิตย์ ถัดจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยักษ์ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่มวลของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า ดาวเสาร์ตั้งชื่อตามเทพโรมันแห่งการเกษตร สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทนเคียวของเทพเจ้า ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลกของเร.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และดาวเสาร์
ดาวเคราะห์แคระ
แสดงวัตถุพ้นดาวเนปจูนขนาดใหญ่ ที่เป็นที่รู้จักแล้วในปัจจุบัน ดาวเคราะห์แคระ เป็นดาวชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายดาวเคราะห์ ตามการจำแนกชนิดดาวเคราะห์ที่เสนอโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union: IAU) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และดาวเคราะห์แคระ
ความเอียงของวงโคจร
แสดงความเอียงของวงโคจร ความเอียงของวงโคจร (inclination) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของวงโคจร หมายถึงมุมระหว่างระนาบของวงโคจรกับระนาบอ้างอิง ความเอียงของวงโคจร เป็นหนึ่งใน 6 องค์ประกอบของวงโคจร ใช้อธิบายถึงรูปร่างและทิศทางของวงโคจรของวัตถุท้องฟ้า นับเป็นระยะเชิงมุมของระนาบวงโคจรเทียบกับระนาบอ้างอิง (โดยมากมักใช้เส้นศูนย์สูตรหรือเส้นสุริยวิถีของดาวฤกษ์แม่ในระบบ และมีหน่วยเป็นองศา) สำหรับระบบสุริยะ ความเอียงของวงโคจร (คือ i ในภาพด้านข้าง) ของดาวเคราะห์ดวงหนึ่งๆ จะเท่ากับมุมระหว่างระนาบของวงโคจรของดาวเคราะห์นั้นกับเส้นสุริยวิถี ซึ่งเป็นระนาบที่เป็นเส้นทางโคจรของโลก นอกจากนี้ยังสามารถวัดได้โดยเปรียบเทียบกับระนาบอื่นๆ เช่น เทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ หรือเทียบกับระนาบโคจรของดาวพฤหัสบดี แต่การใช้เส้นสุริยวิถีในการอ้างอิงจะเหมาะสมกับผู้สังเกตการณ์บนโลกมากกว่า วงโคจรของดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะของเรามีค่าความเอียงของวงโคจรค่อนข้างน้อย ไม่ว่าจะเปรียบเทียบกันเองหรือเทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ก็ตาม มีข้อยกเว้นก็เพียงในบรรดาดาวเคราะห์แคระ เช่น พลูโต และ อีรีส ซึ่งมีค่าความเอียงของวงโคจรเทียบกับสุริยวิถีสูงถึง 17 องศาและ 44 องศาตามลำดับ ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่เช่น พัลลัส ก็มีความเอียงของวงโคจรสูงถึง 34 องศา สำหรับดาวเคราะห์นอกระบบ ยังไม่ค่อยมีการวัดความเอียงของวงโคจร ทราบได้แต่เพียงมวลต่ำสุดของมันเท่านั้น ซึ่งหมายถึง ดาวเคราะห์นอกระบบบางดวงที่แท้อาจเป็นดาวแคระน้ำตาล หรือเป็นดาวแคระแดงที่จางมากๆ ก็ได้ มีแต่เพียงดาวเคราะห์ที่ตรวจพบการเคลื่อนผ่าน และที่ตรวจจับด้วยวิธีมาตรดาราศาสตร์ จึงสามารถทราบถึงความเอียงของวงโคจร และบางทีอาจทราบถึงมวลที่แท้จริงได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 2010 ข้างหน้านี้ น่าจะมีการตรวจวัดความเอียงของวงโคจรและมวลที่แท้จริงของดาวเคราะห์นอกระบบจำนวนมากได้เพิ่มขึ้น โดยใช้การสังเกตการณ์ในอวกาศผ่านปฏิบัติการต่างๆ เช่น Gaia mission, Space Interferometry Mission, และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และความเอียงของวงโคจร
คาบดาราคติ
ในทางดาราศาสตร์ คาบดาราคติ (orbital period) คือระยะเวลาที่วัตถุหนึ่งใช้ในการโคจรรอบวัตถุอื่นที่ใช้ในทางดาราศาสตร์ ซึ่งคาบดาราคตินั้นมีประโยชน์อย่างมากสำหรับนักดาราศาสตร์ ที่จะต้องใช้คาบดาราคติในการคำนวณระยะเวลาของดาวดวงหนึ่งโคจรรอบดาวอีกดวงหนึ่ง คาบดาราคติยังแบ่งออกได้เป็นหลายแบบ ดังนี้.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และคาบดาราคติ
แพน
แพน อาจจะหมายถึง.
แพนโดรา
แพนโดร่า วาดโดยจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์ ค.ศ. 1896 แพนโดรา (Pandora) เป็นสตรีนางแรกบนโลกมนุษย์และเป็นผู้หญิงที่สวยที่สุดเพราะเป็นผู้หญิงคนเดียวบนโลก ผู้ซึ่งเปิดกล่องที่บรรจุความชั่วร้ายนานาซึ่งทำให้จิตใจของมนุษย์ไม่บริสุทธิ์ ตำนานได้กล่าวว่าแพนโดร่าถูกสรรค์สร้างขึ้นมาจากฝีมือที่ประณีตของเทพและเทพีหลายองค์โดยมีจุดประสงค์เพื่อจะลงโทษมนุษย์ เหตุเพราะก่อนหน้านี้ เทพโปรมีทีอุส ได้ขโมยไฟจากเตาของเทวีเฮสเทียบนเขาโอลิมปัสเพื่อนำมาให้มนุษย์ ส่งผลให้มนุษย์เริ่มแข็งข้อต่อเทพเจ้า เทพซุสได้ใส่ความอยากรู้อยากเห็นลงในตัวของแพนดอร่า พร้อมกับมอบกล่องแพนดอร่าซึ่งกำชับไม่ให้นางเปิดดู แล้วส่งนางลงไปยังโลกมนุษย์ แพนดอร่าได้แต่งงานกับไททันเอพะมีธีเอิส และมีลูกหลานหญิงชายสืบต่อกันมาเป็นเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ นับวันความสงสัยของนางแพนดอร่าก็มีมากขึ้น จนนางตัดสินใจเปิดกล่องแพนดอร่าออก ทันใดนั้นเอง ความชั่วร้ายต่างๆ นานาก็พวยพุ่งออกมาจากกล่องตรงเข้าไปกัดกินหัวใจมนุษย์ให้ฆ่าฟันกันเองจนกลายเป็นยุคมืด นางแพนดอร่าตกใจรีบปิดกล่องทำให้สามารถกักเก็บ ความสิ้นหวัง เอาไว้ในกล่องใบนั้นได้ทัน มนุษย์จึงยังคงดำรงชีวิตอยู่มาได้ด้วยความหวัง แต่ทว่ามนุษย์เริ่มมีจิตใจชั่วร้ายโสมมมากขึ้น จนสุดท้ายเทพเจ้าจึงบันดาลให้เกิดน้ำท่วมโลกจนมนุษย์ผู้ชั่วร้ายตายกันหมด มนุษย์ผู้มีจิตใจดีที่ยังเหลือรอดจึงได้สืบเชื้อสายเผ่าพันธุ์ต่อมา โดยที่ยังมีความชั่วร้ายเกาะติดอยู่ในหัวใจ ทว่าหากมีความหวัง อดกลั้นข่มใจไม่ทำความผิด ความชั่วร้ายต่างๆ ก็มิอาจทำอันตรายใดได้อีก หมวดหมู่:บุคคลในตำนานเทพปกรณัมกรีก.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และแพนโดรา
แอตลัส
แอตลัส อาจหมายถึง.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และแอตลัส
แซตเทิร์น
แซตเทิร์นโดยคาราวัจจิโอ แซตเทิร์น (Saturn, Saturnus) เป็นเทพในตำนานเทพปกรณัมโรมันที่เทียบเท่ากับเทพโครนัสในตำนานเทพปกรณัมกรีก เทพแซตเทิร์นเป็นเทพแห่งการเกษตรกรรมและการเก็บเกี่ยวและพลัง มือซ้ายถือเคียวและมือขวาถือฟ่อนข้าวสาลี แซตเทิร์นเป็นลูกของเฮเลนหรือเฮล ตำนานของแซตเทิร์นและโครนัสบางครั้งก็มักจะผสมเผสกัน ภรรยาของแซตเทิร์นคืออ็อปส์ (Ops) แซตเทิร์นเป็นพ่อของเซเรส, จูปิเตอร์, เวริทาส, พลูโต และเนปจูน.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และแซตเทิร์น
โพรมีเทียส
วาดโพรมีเธียสขโมยไฟมาให้มนุษย์ วาดโดย ไฮน์ริช ฟูเกอร์ ในปี ค.ศ. 1817 โพรมีเทียส หรือ โพรมีทีอูส (Prometheus, Προμηθεύς แปลว่า มองการณ์ไกล) เป็นเทพไททันองค์หนึ่งที่มีความเฉลียวฉลาด เป็นผู้ขโมยไฟจากเฮสเทีย เทพีแห่งเตาไฟ ลงไปให้มนุษย์ จึงทำให้มนุษย์รู้จักใช้ไฟในการหุงหาอาหารและใช้เพื่อแสงสว่างจนสามารถสร้างอารยธรรมต่างๆ ได้ จึงทำให้ซูสโกรธและลงโทษโพรมีเทียสด้วยการขังไว้ในถ้ำบนคอคาซัส และมีนกอินทรียักษ์มาจิกกินตับของโพรมีเทียสทุกวันโดยที่ไม่ตาย และทุกคืนตับของโพรมีเทียสจะงอกใหม่เพื่อให้นกอินทรียักษ์จิกกินในวันรุ่งขึ้น แต่สำหรับมนุษย์แล้ว โพรมีเทียสถือว่าเป็นเทพที่กล้าหาญและเป็นเพื่อนที่ดีต่อมนุษย์ จึงได้รับการยกย่องและนับถือ.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และโพรมีเทียส
โรมัน
รมัน อาจหมายถึง;ประวัติศาสตร.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และโรมัน
โครนัส
เทพโครนัส โครนัส หรือ โครนอส (Cronus หรือ Kronus, /kroʊnəs/; ภาษากรีกโบราณ: Κρόνος, Krónos) เป็นผู้นำเหล่ายักษ์ไททัน (Titan) รุ่นแรกที่มีอายุน้อยที่สุด ซึ่งเป็นทายาทของเทพีไกอา (Gaia) พระแม่ธรณี และเทพบิดายูเรนัส (Uranus) เทพแห่งท้องฟ้า เทพโครนัสได้โค่นบัลลังก์ของพระบิดา (เทพยูเรนัส) และขึ้นครองบัลลังก์ในช่วงยุคทอง จนกระทั่งถูกโค่นบัลลังก์โดยพระโอรสของตน คือ เทพซูส (Zeus) เทพโครนัสมิได้ถูกจองจำในยมโลกทาร์ทารัส (Tartarus) เหมือนเช่นไททันตนอื่น ๆ แต่เขากลับหลบหนีไปได้ ด้วยเหตุที่ว่าเทพโครนัสมีความเกี่ยวเนื่องกับยุคทองของเขาจึงได้รับการสักการะในฐานะเทพแห่งฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งรวมไปถึงการเก็บเกี่ยวพืชผลเช่น ข้าว ธรรมชาติ ผลผลิตทางการเกษตร และการเดินไปข้างหน้าของกาลเวลาที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ภาพของเทพโครนัสมักถือเคียวไว้ในมือ ซึ่งพระองค์ใช้ในการเก็บเกี่ยวพืชผล และเป็นอาวุธที่พระองค์ใช้โค่นบัลลังก์เทพยูเรนัส ในกรุงเอเธนส์ (Athens) วันที่ 12 ของทุกๆ เดือน ถูกเรียกว่าวันฮีคาทอมบาเอียน (Hekatombaion) ซึ่งจะมีงานเทศกาลชื่อว่า เทศกาลโครเนีย (Kronia) จะจัดขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เทพโครนัสสำหรับฤดูเก็บเกี่ยว พระนามของเทพโครนัสในตำนานเทพปกรณัมโรมันคือ เทพแซเทิร์น (Saturn) หมวดหมู่:เทพไททัน.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และโครนัส
ไฮพีเรียน
ไฮพีเรียน (Hyperion) เป็นยักษ์ไททัน เป็นเจ้าแห่งแสงและหนึ่งในยักษ์ไททันผู้ควบคุมสี่มุมโลก ซึ่งไฮพีเรียนนั้นควบคุมทิศตะวันออก ไฮพีเรียนยังเป็นบิดาของฮีลีออส เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์องค์แรกก่อนจะยกหน้าที่นี้ให้แก่อะพอลโล ฮไฮพีเรียน.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และไฮพีเรียน
ไฮโดรคาร์บอน
ในเคมีอินทรีย์ ไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งประกอบขึ้นจากไฮโดรเจนและคาร์บอนทั้งหมด ไฮโดรคาร์บอนที่อะตอมไฮโดรเจนหนึ่งอะตอมถูกนำออกเป็นหมู่ฟังก์ชัน เรียก ไฮโดรคาร์บิล ไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ เช่น อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (อะรีน) อัลเคน อัลคีน ไซโคลอัลเคนและอัลไคน์ ไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ที่พบบนโลกเกิดตามธรรมชาติในน้ำมันดิบ ซึ่งสสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายให้คาร์บอนและไฮโดรเจนปริมาณมากซึ่งเมื่อสร้างพันธะสามารถเรียงต่อกันเพื่อสร้างสายที่ดูไม่มีที่สิ้น.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และไฮโดรคาร์บอน
ไททัน
ททัน (Titan) อาจหมายถึง.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และไททัน
ไดโอนี
อนี (Διώνη) เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ ค้นพบโดย โจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี ในปี ค.ศ. 1684 เป็นชื่อจากไททัน ไดโอนีของเทพปกรณัมกรีก.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และไดโอนี
เส้นผ่านศูนย์กลาง
เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) เส้นผ่านศูนย์กลาง (อังกฤษ: diameter) คือเส้นตรงซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลางของรูปวงกลมไปบรรจบกับเส้นรอบวงทั้งสองข้าง ซึ่งรูปวงกลมนั้นอาจมาจากหน้าตัดของทรงกระบอก ทรงกรวย หรือทรงกลมก็ได้ เส้นผ่านศูนย์กลางมีความยาวเป็นสองเท่าของเส้นรัศมี เป็นคอร์ดที่ยาวที่สุดในรูปวงกลม และแบ่งรูปวงกลมออกเป็นรูปครึ่งวงกลมสองส่วนเท่าๆ กัน และสามารถเปลี่ยนไปได้ทุกทิศทางไม่กำหนด เส้นผ่านศูนย์กลางจะสร้างมารถคำนวณได้โดยหาค่ารัศมีแล้วคูณสอง เพราะว่าความยาวของรัศมีหนึ่งเส้นเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลาง ในทางวิศวกรรมศาสตร์ เส้นผ่านศูนย์กลางสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ ⌀ (ยูนิโคด: U+8960) ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปวงกลมเล็กๆ ขีดทับด้วยเส้นตรงเอียงลงทางซ้าย มีประโยชน์ในการบ่งบอกขนาดของรูปวงกลม หมวดหมู่:เรขาคณิตมูลฐาน หมวดหมู่:ความยาว.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และเส้นผ่านศูนย์กลาง
เอพิมีเทียส
อพิมีเทียส เอพิมีเทียส (Epimetheus,; Ἐπιμηθεύς) เป็นไททันซึ่งเป็นน้องชายฝาแฝดของโพรมีเทียสและเป็นสามีของแพนโดรา (สตรีนางแรก) เขาและโพรมีเทียสพี่ชายเป็นเสมือนตัวแทนของมนุษย์ และมีบุคลิกที่ตรงกันข้ามกัน โพรมีเทียสเป็นผู้มีปัญญาและมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในขณะที่เอพิมีเทียส (ที่แปลว่า การทำก่อนคิด) นั้นเบาปัญญาและมีวิสัยทัศน์ที่แคบ ครั้งที่มหาเทพซูสมีพระประสงค์จะให้มีสิ่งมีชีวิตบนโลก เอพิมีเทียสขอรับมอบหมายให้เป็นผู้ประสาทพรแก่สรรพสัตว์ ให้นกบินได้ แมวล่าหนู สิงโตเป็นเจ้าป่า ฯลฯ ด้วยนิสัยที่ชอบทำก่อนคิด ตนเกิดให้พรจนหมด พอโพรมีเทียสสร้างมนุษย์ปรากฏว่าไม่มีพรเหลืออยู่แล้ว โพรมีเทียสจึงให้พรด้วยตนเอง (บางตำราก็ว่าอะทีนาเป็นผู้ประสาทพรให้) หลังจากที่โพรมีเทียสได้ขโมยไฟไปให้มวลมนุษย์ ซูสได้วางแผนที่จะแก้แค้นเขาด้วยการสร้างสตรีนางแรกขึ้นเพื่อแก้แค้นพวกมนุษย์ซึ่งในขณะนั้นมีแต่ผู้ชาย เหล่าเทพเจ้าทุกพระองค์ได้มอบของขวัญล้ำค่าให้นาง และนางเป็นผู้มีรูปโฉมสะคราญตาจนไม่มีใครปฏิเสธได้ นางได้รับการขนานนามว่า แพนโดรา หรือที่แปลว่า ของขวัญทั้งมวล ซูสได้มอบนางให้เป็นของขวัญแก่โพรมีเทียสแต่เขาปฏิเสธเพราะรู้ว่าสตรีจะนำความวิบัติมาให้ แต่เอพะมีธีเอิสผู้เบาปัญญารับนางเป็นภรรยา และก่อให้เกิดความพินาศในหมู่มนุษย์ในเวลาต่อมา ซูสมอบไหปิดผนึกใบหนึ่งให้กับแพนโดรา โดยที่นางไม่ทราบเลยว่าไหใบนั้นบรรจุความชั่วร้ายทั้งปวงไว้ ความอยากรู้อยากเห็นทำให้แพนโดราเปิดไหออกและปลดปล่อยความชั่วร้ายออกมาในโลกด้วยความตกใจแพนโดราจึงรีบปิดไหและกักขัง เอลพิส จิตวิญาณแห่งความหวังเอาไว้.
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และเอพิมีเทียส
เอนเซลาดัส
อนเซลาดัส (Enceladus) หรือ Saturn II เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับที่ 6 ของดาวเสาร์ ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม วิลเลียม เฮอร์เชล เมื่อ..
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และเอนเซลาดัส
เจนัส
นัส (Janus) หรือ ยานุส (Ianus) เป็นเทพเจ้าในเทพปกรณัมโรมันและตำนานเจนัส เทพเจนัสมีบทบาทในฐานะเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้นและการเปลี่ยนแปลง ภาพลักษณ์ของเทพเจนัสมักปรากฎในลักษณะเทพสองใบหน้า หน้าหนึ่งมองไปยังอนาคต และอีกหน้าหนึ่งมองไปยังอดีตที่ผ่านมา ดังนั้นเดือนแรกของปีจึงได้ชื่อมาจากเทพเจนัสนั่นเอง (January).
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และเจนัส
เนเจอร์ (วารสาร)
วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และเนเจอร์ (วารสาร)
S/2007 S 2
S/2007 S 2 เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ การค้นพบได้มีการประกาศโดย Scott S. Sheppard, David C. Jewitt, Jan Kleyna และ Brian G. Marsden วันที่ 1 พฤษภาคม..
ดู ดาวบริวารของดาวเสาร์และS/2007 S 2