สารบัญ
18 ความสัมพันธ์: ชิคาโกสหรัฐดรัมแมชชีนดั๊บ (แนวดนตรี)ดีทรอยต์เทคโนดนตรีแดนซ์คีย์บอร์ดซินท์ป็อปซีเควนเซอร์แฟรงกี นักเคิลส์แจ๊สแซมเพลอร์โพสต์ดิสโก้โอลด์สคูลฮิปฮอปไนต์คลับเฮาส์ (แนวดนตรี)เทคโนเครื่องสังเคราะห์เสียง
ชิคาโก
ก (Chicago; คำอ่าน) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ รู้จักกันในชื่อ "เมืองแห่งลม" (Windy City) ชื่อเล่นนี้ มีที่มาจากการที่นักข่าวเขียนล้อเลียนนักการเมืองของ ชิคาโกใน ศตวรรตที่ 19 เกี่ยวกับการพูดจากลับกลอกไปมา บางคนเชื่อว่ามีที่มาจากการที่เป็นเมืองที่มีลมพัดแรงตลอดเวลาแต่ไม่ได้มีหลักฐานใดๆเขียนสนับสนุนทฤษฎีนี้ ชิคาโกเป็นเมืองใหญ่อันดับสามในสหรัฐอเมริกาเทียบตามจำนวนประชากร รองจากเมืองนิวยอร์ก และลอสแอนเจลิส เมืองชิคาโกตั้งอยู่ในเคาน์ตีคุก รัฐอิลลินอยส์ เขตมิดเวสต์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อรวมเคาน์ตีรอบ ๆ ชิคาโกทั้ง 8 เคาน์ตีจะเรียกเขตว่า ชิคาโกแลนด์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 9 ล้านคน ชิคาโกพัฒนาจากเมืองทุ่งนาจากปี พ.ศ.
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
ดรัมแมชชีน
รัมแมชชีน Yamaha RY30 ดรัมแมชชีน (Drum machine) เป็นเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่จำรองเสียงกลอง ฉาบ เครื่องเคาะจังหวะอื่นๆ และเบสไลน์ ดรัมแมชชีนมักมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดนตรีเฮาส์ แต่ยังรวมถึงแนวเพลงอื่นๆ อีกมากมาย ยังถูกใช้แทนมือกลองที่ไม่ว่างหรือการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างมือกลองที่มีค่าจ้างแพง นอกจากนี้ดรัมแมชชีนในปัจจุบันมีเสียงหลายรูปแบบที่ไม่ซ้ำกัน และช่วยให้ผู้ใช้แต่งจังหวะและการเขียนที่ไม่ซ้ำกันด้วย ที่ใช้งานไม่ยากและง่ายเหมือนคนตีกลองของจริง ในปัจจุบันดรัมแมชชีนยังเป็นซีเควนเซอร์ในรูปแบบแซมเพิล (rompler) หรือ ซินธิไซเซอร์ที่สังเคราะห์เสียงกลองจากกลอง.
ดั๊บ (แนวดนตรี)
นตรีดั๊บ (dub music) เป็นแนวเพลงที่แยกออกจากเร้กเก้ในทศวรรษที่ 1960 และถูกจัดเป็นแนวเพลงย่อย แม้ว่าจะได้มีการพัฒนาจนต่างไกลจากดนตรีเร้กเก้ ส่วนใหญ่เพลงในแนวดนตรีนี้ประกอบด้วยเพลงบรรเลงที่ถูกริมิกซ์ให้ยาวขึ้นในการบันทึกเสียง ซึ่งมีความสำคัญในการจัดการ การก่อร่างบันทึกเสียง ปกติจะการเอาเสียงร้องที่มีอยู่ออกจากชิ้นงานเพลงและเน้นส่วนกลองและเบส และเทคนิคอื่น ๆ ได้แก่การเพิ่มเสียงไดนามิก และเอฟเฟกต์อื่น ๆ เช่น เอ็กโค รีเวิร์บ พาโนรามิกดีเลย์ (การใช้ดีเลย์ในระหว่างสองช่องเสียง) มีการนำเสียงร้องหรือเพลงบรรเลงเวอร์ชันเก่าและงานเพลงอื่นบางส่วนมาอัดเสียงทับใหม่เป็นบางครั้ง.
ดู ชิคาโกเฮาส์และดั๊บ (แนวดนตรี)
ดีทรอยต์เทคโน
ีทรอยต์ เทคโน (Detroit techno) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ช่วงยุค 80' ใน เมืองดีทรอยต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในเนื้อเพลงจะใช้ แอนะล็อกซินธิไซเซอร์ เป็นหลัก.
ดู ชิคาโกเฮาส์และดีทรอยต์เทคโน
ดนตรีแดนซ์
ดนตรีแดนซ์ (dance music) เป็นดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกหรือเพื่อคลอไปกับการเต้นรำ ในด้านการแสดง ดนตรีแดนซ์แบ่งประเภทหลักเป็นดนตรีแดนซ์สดกับดนตรีแดนซ์ที่บันทึกไว้ ขณะที่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการเต้นรำพร้อมกับดนตรีตั้งแต่ยุคโบราณ (ตัวอย่างเช่น แจกันสมัยกรีกโบราณแสดงนักเต้นรำร่วมกับนักดนตรี) ดนตรีแดนซ์ฝั่งตะวันตกยุคแรก ๆ คือการเต้นรำยุคกลางที่เหลือรอดมาได้ ในยุคบาโรก รูปแบบการเต้นรำหลัก ๆ คือการเต้นรำในราชสำนักคนชั้นสูง ดนตรีแดนซ์สมัยใหม่ได้เกิดขึ้นจากเพลงลีลาศแบบตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 การเต้นลีลาศได้เพิ่มความนิยมในหมู่ชนชั้นแรงงานที่มักเข้าร่วมงานเต้นรำสาธารณะ ดนตรีแดนซ์กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงยุค 1920 ในยุค 1930 ดนตรีสวิงเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยมในอเมริกา ยุค 1950 ร็อกแอนด์โรลกลายเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยม ในช่วงปลายยุค 1960 มีการเกิดของแนวเพลงโซลและอาร์แอนด์บีและดิสโก้ในยุค 1970 ซึ่งทำให้ดนตรีแดนซ์เป็นที่นิยมมากในผู้คนทั่วไป มาถึงช่วงปลายยุค 1970 ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ได้รับการพัฒนามาเรี่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นรูปแบบของเพลงสมัยนิยมที่มักจะเปิดในไนต์คลับ สถานีวิทยุ คอนเสิร์ต หมวดหมู่:ดนตรีแดนซ์.
คีย์บอร์ด
ีย์บอร์ด (keyboard) เป็นของหมักดอง มีรสและกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากถูกหมักบ่ม และ เก็บมานานภายใต้สภาพอากาศปิด ยิ่งนานยิ่งมีกลิ่นที่เปรี้ยวรุนแรง อาจรวมถึง Mouse ด้วย เช่นกัน; ในการพิม.
ซินท์ป็อป
ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop).
ซีเควนเซอร์
ซีเควนเซอร์ หรือ การจัดลำดับดนตรี (music sequencer หรือ sequencer) เป็นอุปกรณ์หรือโปรแกรมเขียนเพลงที่สามารถจัดลำดับโน๊ตเพลงขึ้นมาเองได้ ผ่านในการบันทึกหลายรูปแบบ เช่น CV/gate, MIDI หรือ โอเพนซาวด์คอนโทรล (OSC) บางครั้งสามารถใช้ระบบข้อมูลอัตโนมัติผ่าน DAW หรือปลั๊กอินอื่น.
แฟรงกี นักเคิลส์
แฟรงกี นักเคิลส์ (Frankie Knuckles) เกิดวันที่ 18 มกราคม..
ดู ชิคาโกเฮาส์และแฟรงกี นักเคิลส์
แจ๊ส
แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.
แซมเพลอร์
AKAI MPC2000 sampling sequencer นักดนตรีใช้ Yamaha SU10 Sampler แซมเพลอร์ (sampler) เป็นเครื่องดนตรีอีเลคทรอนิกส์ มีความใกล้เคียงกับเครื่องสังเคราะห์เสียง แทนที่จะใช้เสียงที่ได้จากการถูบนเทิร์นเทเบิล แซมเพลอร์เริ่มจากการนำหลาย ๆ เพลง (หรือเรียกว่า แซมเพิล) จากเสียงหลาย ๆ เสียงนำมาใส่โดยผู้ใช้ และเล่นกลับไปมาโดยขึ้นอยู่กับการปรับแต่งเครื่องดนตรี และเพราะว่าแซมเพิลมักจะเก็บไว้ใน RAM ทำให้การเข้าถึงข้อมูลจึงเร็ว การใช้เครื่องแซมเพลอร์ กลายเป็นสิ่งสำคัญในดนตรีฮิปฮอป ดนตรีอีเลกโทรนิกส์ และดนตรีอาวองต์การ์ด แซมเพลอร์มีส่วนร่วมในการตั้งค่าของเครื่องสังเคราะห์เสียง และสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ แซมเพลอร์มีความสามารถแบบโพลีโฟนิก ที่พวกเขาสามารถเล่นมากกว่า 1 โน้ตได้ในเวลาเดียวกัน.
โพสต์ดิสโก้
ต์ดิสโก้ (Post Disco) เป็นดนตรีแนวดิสโก้ ที่รวมองค์ประกอบของดนตรีอีเลกโทรนิก ดนตรีฟังก์ยุค ในยุค 70 ผสมผสานแนวดิสโก้กับดนตรีอีเลกโทรนิกแดนซ์เข้าด้วยกัน โพสต์ ดิสโก้ได้สืบทอดไปยังแนวใหม่ อย่าง ดนตรีเฮาส์ และ อัลเทอร์เนทีฟแดนซ.
โอลด์สคูลฮิปฮอป
อลด์สคูลฮิปฮอป (Old school hip hop) เป็นรูปแบบหนึ่งของแนวเพลงฮิปฮอปอเมริกันในช่วงแรกสุดที่บันทึกเสียงในช่วงปี 1979–1984 ศิลปินโอลด์สคูลฮิปฮอป ได้แก่ the Fat Boys, Kool Herc, Afrika Bambaataa, The Sugarhill Gang, The Treacherous Three, Funky Four Plus One, Fab 5 Freddy, Grandmaster Flash and the Furious Five และ The Foolest (Prayamic,King Aglet,Lvrk).
ดู ชิคาโกเฮาส์และโอลด์สคูลฮิปฮอป
ไนต์คลับ
ไนต์คลับ (nightclub หรือสะกด night club หรือ club) เป็นสถานที่บันเทิงสำหรับพบปะ ดื่ม เต้นรำ ที่โดยมากจะเป็นธุรกิจกลางคืน คนที่มาไนต์คลับบ่อย ๆ จะเรียกว่า คลับเบอร์ (clubber) ไนต์คลับนั้นมีความแตกต่างจาก บาร์, ผับหรือโรงเหล้า คือ มีพื้นที่เต้นรำที่เรียก แด๊นซ์ฟลอร์และมีบูธดีเจ ที่เล่นเพลงจำพวกแด๊นซ์และเพลงป็อป บางไนต์คลับมากิจกรรมบันเทิงอื่น เช่น ตลก, นักเต้น โก-โก้, นักเต้นเปลื้องผ้า ดนตรีในไนต์คลับมีทั้งที่เป็นวงไลฟ์แบนด์ หรือเป็นเพลงมิกซ์จากดีเจ ส่วนใหญ่แนวเพลงที่เล่นจะเป็นเทคโน, ดนตรีเฮาส์, เฮฟวีเมทัล, การาจ, ฮิปฮอป หรือซัลซ่า หมวดหมู่:กลางคืน หมวดหมู่:ชีวิตกลางคืน หมวดหมู่:สถานบันเทิง.
เฮาส์ (แนวดนตรี)
() เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมีต้นกำเนิดมาจากเมืองชิคาโก รัฐอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสำหรับชาวแอฟริกัน-อเมริกัน, ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่ 1980 ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก, นิวเจอร์ซีย์, ดีทรอยต์และไมอามี จนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสำคัญแก่แนวเพลงป็อปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค 1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนำเอาการเคาะเพอคัสชั่น (percussion) แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุก ๆ บีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก, กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อป รวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเล.
ดู ชิคาโกเฮาส์และเฮาส์ (แนวดนตรี)
เทคโน
ทคโน (techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คำว่า techno ได้ถูกจัดเป็นแนวดนตรีครั้งแรกในปี 1988Brewster 2006:354Reynolds 1999:71.
เครื่องสังเคราะห์เสียง
Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.
ดู ชิคาโกเฮาส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Chicago house