โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซินท์ป็อป

ดัชนี ซินท์ป็อป

ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop).

19 ความสัมพันธ์: บับเบิลกัมป็อปชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักรสปานเดาบัลเลต์อิเล็กโทรป็อปดรัมแมชชีนดิสโก้ดูแรนดูแรนดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ครัฟท์แวร์คซีเควนเซอร์ป็อปนิวเวฟแกรี นูแมนแกลมร็อกแนวเพลงโพสต์พังก์เอ็มทีวีเคราต์ร็อกเครื่องสังเคราะห์เสียง

บับเบิลกัมป็อป

ับเบิลกัมป็อป (Bubblegum pop หรือรู้จักในชื่อ ดนตรีบับเบิลกัม หรือสั้น ๆ ว่า บับเบิลกัม) เป็นแนวเพลงป็อปที่มีจังหวะเร็ว โดยมุ่งตลาดที่ผู้ฟังช่วงก่อนวัยรุ่นและวัยรุ่น ซึ่งอาจผลิตขึ้นโดยกลุ่มโปรดิวเซอร์ที่อยู่ในสายการผลิตนี้และมักใช้นักร้องที่ไม่เป็นที่รู้จัก เพลงบับเบิลกัมยุคคลาสสิก อยู่ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและบับเบิลกัมป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร

ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร (UK Singles Chart) คือชาร์ตที่จัดอันดับซิงเกิลโดยบริษัทดิออฟฟิเชียลยูเคชาร์ตสคอมปานี (The Official UK Charts Company, OCC) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมดนตรีของอังกฤษ ชาร์ตรายสัปดาห์จะเริ่มนับจากวันอาทิตย์ จนกระทั่งถึงวันเสาร์ ชาร์ตนี้ออกเผยแพร่ทางนิตยสาร มิวสิกวีค โดยแสดง 75 อันดับแรก และชาร์ตพลัส แสดง 200 อันดับแรก และออกเผยแพร่ชาร์ตออนไลน์ใน 40 อันดับแรกเท่านั้น โดยได้รับความร่วมมือการให้ข้อมูลจากร้านค้าในสหราชอาณาจักรกว่า 6,500 ร้าน รวมถึงร้านทางอินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยซิงเกิลส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักรจะออกจำหน่ายในวันจันทร์ ชาร์ตซิงเกิลเต็มรูปแบบ 200 อันดับแรกประกอบไปด้วยยอดขายจากซีดีและยอดการจำหน่ายทางดิจิตอลดาวน์โหลด โดยทั่วไปจะพิจารณากันใน 75 อันดับแรก และออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนทั่วไปเฉพาะใน 40 อันดับแรกทางสถานีวิทยุบีบีซีเรดิโอวันช่วงบ่ายวันอาทิตย์ ชาร์ต 75 อันดับแรกจะเผยแพร่ทางนิตยสาร มิวสิกวีค ในวันจันทร์ และชาร์ตเต็มรูปแบบ 200 อันดับแรกจะตีพิมพ์ใน ชาร์ตสพลัส หนังสือพิมพ์ชาร์ตอิสระ ในวันพุธ หมวดหมู่:อุตสาหกรรมดนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ชาร์ตเพลงสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สปานเดาบัลเลต์

ปานเดาบัลเลต์ (Spandau Ballet) เป็นวงดนตรีจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งตั้งแต่ปลายยุค 1970s ได้รับอิทธิพลจากนิวโรแมนติกแฟชั่น เพลงของพวกเขามีคุณลักษณะผสมกับดนตรีแนว ฟังก์, แจ๊ส, โซล และ ซินธ์ป็อป ประสบความสำเร็จในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยได้ท็อปเทนซิงเกิล เมื่อแรกตั้งวง ใช้ชื่อวงว่า "The Cut" ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "The Makers" และเปลี่ยนเป็น "Spandau Ballet" หลังจากดีเจที่เป็นเพื่อนสนิทกับสมาชิกวง ชื่อโรเบิร์ต เอล์มส ไปเห็นชื่อนี้เขียนอยู่ที่ผนังห้องน้ำของไนท์คลับแห่งหนึ่งในเยอรมนีTrue: the Autobiography of Martin Kemp, p.44 ชื่อนี้มีที่มาจากชื่อเรือนจำแห่งหนึ่งในเขตสปานเดา กรุงเบอร์ลิน ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีการประหารชีวิตนักโทษชาวยิวในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสำนวนที่ผู้คุมนาซีใช้เรียกอากัปกิริยาของนักโทษ ขณะกำลังเสียชีวิตด้วยการแขวนคอ บางแหล่งก็ว่าหมายถึงอาการของนักโทษประหารในห้องรมแก๊ส ที่คล้ายกับการเต้นบัลเลต.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและสปานเดาบัลเลต์ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโทรป็อป

อิเล็กโทรป็อป (Electropop) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะเน้นการใช้งานเครื่องสังเคราะห์เสียง แนวเพลงได้เห็นการฟื้นตัวจากความนิยมและมีอิทธิพล ตั้งแต่ช่วงปลายยุค 2000 "อิเล็กโทรป็อป" เป็นคำย่อมาจาก อิเล็กทรอนิกส์ป็อป (electronic pop) หมวดหมู่:แนวดนตรี.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและอิเล็กโทรป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ดรัมแมชชีน

รัมแมชชีน Yamaha RY30 ดรัมแมชชีน (Drum machine) เป็นเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่จำรองเสียงกลอง ฉาบ เครื่องเคาะจังหวะอื่นๆ และเบสไลน์ ดรัมแมชชีนมักมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดนตรีเฮาส์ แต่ยังรวมถึงแนวเพลงอื่นๆ อีกมากมาย ยังถูกใช้แทนมือกลองที่ไม่ว่างหรือการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างมือกลองที่มีค่าจ้างแพง นอกจากนี้ดรัมแมชชีนในปัจจุบันมีเสียงหลายรูปแบบที่ไม่ซ้ำกัน และช่วยให้ผู้ใช้แต่งจังหวะและการเขียนที่ไม่ซ้ำกันด้วย ที่ใช้งานไม่ยากและง่ายเหมือนคนตีกลองของจริง ในปัจจุบันดรัมแมชชีนยังเป็นซีเควนเซอร์ในรูปแบบแซมเพิล (rompler) หรือ ซินธิไซเซอร์ที่สังเคราะห์เสียงกลองจากกลอง.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและดรัมแมชชีน · ดูเพิ่มเติม »

ดิสโก้

ก้ (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่ง สาขาย่อยของดนตรีแดนซ์ซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ที่ผสมผสานแนวฟังก์กับโซลเข้าด้วยกัน ดิสโก้ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วยยุคคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ตอนกลางถึงปลาย ศิลปินแนวดิสโก้ที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น เช่น ดอนนา ซัมเมอร์, เดอะแจ็กสันไฟฟ์, แบร์รี ไวต์, บีจีส์, บอนนี เอ็ม. และแอ็บบ้า เป็นต้น ดิสโก้ได้ลดความนิยมไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและดิสโก้ · ดูเพิ่มเติม »

ดูแรนดูแรน

ูแรนดูแรน (Duran Duran) เป็นกลุ่มดนตรีแนว นิว เวฟ จากอังกฤษ มีผลงานดังในยุค 80s มากมายเช่น The Reflex, A View To Kill เป็นต้น ด้วยสถิติยอดขายกว่า 70 ล้านก๊อปปี้ทั่วโลกและเป็นเจ้าของ 2 รางวัลแกรมมี.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและดูแรนดูแรน · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ครัฟท์แวร์ค

รัฟท์แวร์ค (Kraftwerk) เป็นวงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์วงแรก ๆ จากเมืองดึสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี 1970 โดยรัลฟ์ ฮึทเทอร์ และฟลอเรียน ชไนเดอร์ ครัฟท์แวร์คถือเป็นวงสำคัญวงหนึ่งที่สร้างสรรค์เพลงแนวอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่พัฒนาขึ้นในเยอรมนี วงอยู่สังกัดอีเอ็มไอ คราฟต์แวร์คถือเป็นวงอิเล็กทรอนิกส์วงแรกที่ได้ทำสัญญากับค่ายใหญ่ ถึงแม้ว่าวงจะไม่ประสบความสำเร็จด้านการตลาด จนกระทั่งวงดนตรี วงรุ่นอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ สร้างกระแสแนวอิเล็กทรอนิกส์ให้เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับการสืบทอดมาจากแนวดนตรีของครัฟท์แวร์ค ต่อมา มีการพัฒนาไปสู่แนวดนตรีใหม่ ๆ อย่างเทคโน, อิเล็กโทร, อิเล็กโทรป็อป โดยเพลงดังของเขาได้ถูกนำมาทำใหม่บ่อยที่สุด และหลายเวอร์ชันคือเพลง das Model เช่นโดย Rammstein เป็นต้น.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและครัฟท์แวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ซีเควนเซอร์

ซีเควนเซอร์ หรือ การจัดลำดับดนตรี (music sequencer หรือ sequencer) เป็นอุปกรณ์หรือโปรแกรมเขียนเพลงที่สามารถจัดลำดับโน๊ตเพลงขึ้นมาเองได้ ผ่านในการบันทึกหลายรูปแบบ เช่น CV/gate, MIDI หรือ โอเพนซาวด์คอนโทรล (OSC) บางครั้งสามารถใช้ระบบข้อมูลอัตโนมัติผ่าน DAW หรือปลั๊กอินอื่น.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและซีเควนเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

นิวเวฟ

บลอนดี (Blondie) ในปี ค.ศ. 1976 จากซ้ายไปขวา: แกรี วาเลนไทน์, เคล็ม เบิร์ก, เดโบราห์ แฮร์รี, คริส สไตน์ และ จิมมี เดสทรี นิวเวฟ เป็นแนวเพลงป็อปร็อกที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 และกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ที่ผูกพันกับพังก์ร็อก โดยทั่วไปคำนี้มีความหมายเดียวกับพังก์ร็อก ก่อนที่จะรวมกับอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีทดลอง ม็อด ดิสโก้ และป็อป ต่อมานิวเวฟได้มีแนวเพลงย่อยได้แก่ นิวโรแมนติกและกอทิกร็อก ในฐานะที่เป็นแนวเพลงที่ได้รวมเอามากจากเสียงของพังก์ร็อกที่เป็นต้นฉบับ และอุปนิสัยของชนกลุ่มน้อย เช่นเน้นเพลงในเวลาสั้นและเราะรานReynolds, Simon "Rip It Up and Start Again PostPunk 1978–1984" p160แต่มันเป็นลักษณะซับซ้อนมากขึ้นในเพลงและเนื้อเพลงทั้ง ลักษณะทั่วไปของดนตรีนิวเวฟ นอกเหนือจากอิทธิพลของพังก์รวมถึงการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียง และการผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการจัดแต่งทรงผมและศิลปะหลากหลายขึ้น ในฐานะที่คำว่านิวเวฟมักจะใช้เพื่ออธิบายเพลงซึ่งเป็นที่เล่นโวหารและพิสดาร ลวงและปรากฏที่หัวใจ ผสมผสานในการติดท่อนแบบไพเราะชัดเจน ในลักษณะรูปแบบของแนวเพลงนี้แตกต่างกันอย่างมากตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและนิวเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

แกรี นูแมน

แกรี นูแมน (Gary Numan) เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1958 ที่ แฮมเมอร์สมิธ ในนครลอนดอน เป็นนักร้องชาวอังกฤษ เขาเป็นที่รู้จักกับซิงเกิล "Are 'Friends' Electric?" รวมกับวง Tubeway Army และ ประสบความสำเร็จกับซิงเกิล "Cars" ก็ทำให้เป็นเพลงซินธ์ป็อปนิยมไปทั้งอังกฤษและอเมริก.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและแกรี นูแมน · ดูเพิ่มเติม »

แกลมร็อก

แกลมร็อก (Glam rock) เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในสหราชอาณาจักรในต้นทศวรรษที่ 1970s ซึ่งนักร้องและวงดนตรีมักจะนิยมในการ "แต่งหน้า" "ทำผม" และแต่งตัวด้วยชุดที่ดูแปลกประลาด แกลมร็อกที่เป็นที่รู้จักและมีชื่อดังอย่างเช่น เดวิด โบวี, หมวดหมู่:ดนตรีร็อก หมวดหมู่:เพศภาวะ.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและแกลมร็อก · ดูเพิ่มเติม »

แนวเพลง

แนวดนตรี เป็นการจำแนกเพลงที่มีลักษณะพื้นฐานต่าง ๆ ร่วมกัน โดยอาจไม่ได้คำนึงถึงเกี่ยวกับด้านเพลงอย่างเดียว (เช่น ที่มาของเพลง และ เนื้อหาของเพลง เป็นต้น) อาจพูดได้ว่า แนวเพลงนั้นพิจารณาจาก เทคนิค รูปแบบ บริบท ที่มา และเนื้อหาของเพลง เป็นต้น.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและแนวเพลง · ดูเพิ่มเติม »

โพสต์พังก์

ต์พังก์ (post-punk) เป็นแนวพังก์ร็อกที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษที่ 70 เกิดขึ้นหลังพังค์ร็อกได้รับความนิยมในทศวรรษที่ 70 มีการหยิบซาวนด์มาทดลองมากกว่า อย่างเช่น ซาวนด์ของอิเล็กทรอนิกส์ เร้กเก้ แอฟริกันบีต แจ๊ส โฟล์ค เข้าไปใช้ โพสต์พังก์ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณปี 1977-1984 อย่าง ทอล์คกิ้ง เฮด เป็นต้น วงโพสต์พังก์รุ่นใหม่ เช่น เดอะ ฟิวเจอร์เฮดส์, ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์, เดอะ สโตรคส์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มทีวี

ลโก้เอ็มทีวี เอ็มทีวี ย่อมาจาก Music Television เป็นสถานีโทรทัศน์สำหรับวัยรุ่น โดยมีบริษัทแม่อยู่ที่นิวยอร์ก แรกเดิมจะเน้นเปิดมิวสิกวีดีโอ ต่อมาเพิ่มความหลากหลาย สร้างเรียลลิตี้โชว์จำนวนมาก และงานอวอร์ดสต่างๆ โดยเอ็มทีวีได้กลายเป็น Pop Culture ของวัยรุ่นอเมริกัน และทั่วโลกในเวลาต่อมา เอ็มทีวีออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1981 ตั้งแต่ที่เอ็มทีวีได้ออกอากาศ มีสโลแกน "I want my MTV" ที่เป็นที่จดจำ, คอนเซ็บของวีเจเป็นที่รู้จักและแพร่หลาย,การแนะนำเพลงผ่านมิวสิกวิดีโอ, เป็นศูนย์กลางระหว่างแฟนเพลงและตัวศิลปิน รวมถึงเป็นศูนย์กลางของข่าวสารดนตรี เทศกาลดนตรี การประชาสัมพันธ์ เอ็มทีวีได้มีบทบาทต่ออุตสาหกรรมดนตรีเป็นอย่างมาก เอ็มทีวีถือเป็นสื่อที่ทรงอิทธิพลที่สุดจากบทสรุปของ BusinessWeek กลับยกให้ MTV ด้วยจำนวนผู้ชมสูงถึงกว่า 1,000 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและเอ็มทีวี · ดูเพิ่มเติม »

เคราต์ร็อก

ราต์ร็อก (Krautrock) เป็นดนตรีในรูปแบบดนตรีทดลองที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศเยอรมนี ได้รับความนิยมคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอังกฤษ โดยดีเจจอห์น พีล จากบีบีซีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เผยแพร่ให้เคราต์ร้อกได้รับความนิยม นอกประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน เคราต์ร็อกเป็นการแนวเพลงรวมหลายแนวเพลง โดยมักจะผสมเพลงการแจมกันแบบโพสต์-ไซเคเดลิกของชาวแองโกลอเมริกัน และโพรเกรสซีฟร็อก รวมเข้ากับการเพลงทดลองคลาสสิกร่วมสมัย (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนักประพันธ์ คาร์ลไฮนซ์ สต็อกเฮาเซน เป็นต้น) และจากทิศทางการทดลองแบบใหม่ ที่ปรากฏในเพลงแจ๊ซช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 (อย่างฟรีแจ๊ซ โดยออร์เนตต์ โคลแมน หรืออัลเบิร์ต ไอเลอร์) ที่ตีห่างจากโครงสร้างรูปแบบทั่วไปของเพลงและเมโลดี้ที่ร็อกมากขึ้นในเพลงเคราต์ร็อกในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ และยังมีบางกระแสที่ใช้เครื่องดนตรีและซาวน์อีเลกโทรนิกมากขึ้น ลักษณะโดยหลักของเพลงนี้คือการรวมของกลุ่มเพลงใต้รูปแบบ การสังเคราะห์จังหวะของเพลงร็อกแอนด์โรลอเมริกัน แต่ค่อนไปทางเยอรมันหรือใช้แหล่งดนตรีอื่น ลายเซ็นดนตรีของเพลงเคราต์ร็อก คือกรวมดนตรีเพลงร็อก และเครื่องดนตรีของวงร็อกอย่างกีตาร์ เบส กลอง เข้ากับเครื่องดนตรีอีเลกโทรนิก และทำให้เสียงมีความหยาบละเอียด โดยมากมักหมายถึงความรู้สึกแบบดนตรีแอมเบียนต์ จังหวะทั่วไปของดนตรี จะใช้จังหวะแน่นอน 4/4 มักจะเรียกว่า "โมโตริก" (motorik) จากสื่อประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและเคราต์ร็อก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ใหม่!!: ซินท์ป็อปและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Synth-popSynthpopอีเลคโทรป็อปซินธ์ป๊อปซินธ์ป็อปเทคโนป็อป

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »