เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรพรรดิโคโก

ดัชนี จักรพรรดิโคโก

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิโคโก จักรพรรดิโคโก (Emperor Kōkō) จักรพรรดิองค์ที่ 58 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยจักรพรรดิโคโกมีอีกพระนามหนึ่งว่า โคะมะสึ ซึ่งในเวลาต่อมาพระนามนี้ได้ถูกนำไปเป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 ที่ปกครองญี่ปุ่นในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14 จักรพรรดิโคโกขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจาก จักรพรรดิโยเซ ที่ถูกปลดออกจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

สารบัญ

  1. 14 ความสัมพันธ์: พระราชวังหลวงเฮอังราชวงศ์ญี่ปุ่นจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิอุดะจักรพรรดินิมเมียวจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึจักรพรรดิโยเซจักรพรรดิไดโงะจักรพรรดิเซวะคริสต์ศตวรรษที่ 14นางสนองพระโอษฐ์ไซโอเจ้าหญิงพระชายาเจ้าหญิงอิชิ

  2. บุคคลจากเกียวโต
  3. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1373

พระราชวังหลวงเฮอัง

ระที่นั่งไดโงะกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว พระราชวังหลวงเฮอัง (Heian Palace) เคยเป็นที่ประทับของจักรพรรดิญี่ปุ่นช่วงปี..

ดู จักรพรรดิโคโกและพระราชวังหลวงเฮอัง

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู จักรพรรดิโคโกและราชวงศ์ญี่ปุ่น

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิญี่ปุ่น

จักรพรรดิอุดะ

ักรพรรดิอุดะ (Emperor Uda) จักรพรรดิองค์ที่ 59 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอุดะครองราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ.

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิอุดะ

จักรพรรดินิมเมียว

ักรพรรดินิมเมียว จักรพรรดิองค์ที่ 54 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นEmperor Ninmyō, Fukakusa Imperial Mausoleum, Imperial Household Agency ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ในวันที่ 18 เดือน 4 ปี โคนิง ที่ 14 ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม..

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดินิมเมียว

จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

ักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น และจักรพรรดิองค์แรกหลัง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

จักรพรรดิโยเซ

ักรพรรดิโยเซ (Emperor Yōzei) จักรพรรดิองค์ที่ 57 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยพระนามของพระองค์ต่อมาได้ถูกนำไปเป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-โยเซ จักรพรรดิองค์ที่ 107 ที่ปกครองญี่ปุ่นในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 16 จักรพรรดิโยเซหรือเจ้าชายซะดะอะกิระได้รับการสถาปนาจากจักรพรรดิเซวะพระราชบิดาให้เป็นรัชทายาทและผู้สืบราชบัลลังก์เมื่อ..

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิโยเซ

จักรพรรดิไดโงะ

ักรพรรดิไดโงะ (Emperor Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 60 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิไดโงะทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิไดโงะ

จักรพรรดิเซวะ

ักรพรรดิเซวะ (Emperor Seiwa) ซึ่งมีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซุโน (Emperor Mizunoo) จักรพรรดิองค์ที่ 56 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู จักรพรรดิโคโกและจักรพรรดิเซวะ

คริสต์ศตวรรษที่ 14

ริสต์ศตวรรษที่ 14 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1301 ถึง ค.ศ. 1400.

ดู จักรพรรดิโคโกและคริสต์ศตวรรษที่ 14

นางสนองพระโอษฐ์

ลตติก โนลส์ เคาน์เตสแห่งเอสเซกซ์และไลเชสเตอร์ นางสนองพระโอษฐ์ในราชสำนักอังกฤษ นางสนองพระโอษฐ์ (lady-in-waiting) หมายถึงสตรีผู้ช่วยส่วนพระองค์ในราชสำนัก ซึ่งถวายการรับใช้แด่สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี เจ้าฟ้าหญิง หรือสตรีสูงศักดิ์ นางสนองพระโอษฐ์มักจะมีพื้นหลังมากจากครอบครัวที่มีฐานะทางสังคมสูงแต่มีฐานันดรต่ำกว่าสตรีที่ตนรับใช้ ซึ่งแม้ว่านางสนองพระโอษฐ์คนใดจะรับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม มักจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นคนรับใช้หรือข้าราชบริพาร นางสนองพระโอษฐ์ ยังหมายถึงกลุ่มของสตรีผู้มีฐานะครอบครัว บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่ทางการที่หลากหลาย ซึ่งความแตกต่างกันในฐานะ บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่เหล่านี้มักจะมีเกียรติศักดิ์สูง พระบรมวงศานุวงศ์หญิงหรือสตรีผู้สูงศักดิ์อาจทรงสามารถเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้ด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็ได้ แต่แม้ว่าจะทรงมีสิทธิในการเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้อย่างเสรี หากตามประวัติศาสตร์แล้ว การตัดสินใจดังกล่าวมักจะได้รับอิทธิพลจากองค์พระมหากษัตริย์ พระราชบิดา-พระราชมารดา พระราชสวามี หรือเหล่าเสนาบดีของพระมหากษัตร.

ดู จักรพรรดิโคโกและนางสนองพระโอษฐ์

ไซโอ

ก ตำนานเก็นจิ แสดงการใช้ชีวิตในไซกุ รายพระนามของผู้ที่ดำรงตำแหน่งไซโอ ไซโอ หรือที่รู้จักในชื่อ อิสึกิ โนะ มิโกะ (Itsuki no Miko) ตำแหน่งหัวหน้านักบวชหญิงประจำ ศาลเจ้าอิเสะ ซึ่งส่วนมากผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้เป็นเจ้าหญิงหรือเชื้อพระวงศ์ฝ่ายหญิงที่มีความเกี่ยวข้องกับองค์จักรพรรดิซึ่งยังไม่ผ่านการเสกสมรส โดยผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้เป็นองค์แรกคือ เจ้าหญิงโอกุ พระราชธิดาใน จักรพรรดิเท็มมุ จักรพรรดิองค์ที่ 40 เมื่อ..

ดู จักรพรรดิโคโกและไซโอ

เจ้าหญิงพระชายา

้าหญิงพระชายา คือตำแหน่งของพระชายาในเจ้าชายผู้เป็นประมุขราชรัฐ กรณีที่เป็นคู่สมรสของพระมหากษัตริย์ อาจเรียกว่า "เจ้าหญิงพระราชชายา" ถ้าพระภรรยาเจ้าพระองค์นั้นไม่ได้รับพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินี" นอกจากนี้ สตรีใด ๆ ที่ได้เสกสมรสกับพระราชวงศ์ ก็เรียกว่า "เจ้าหญิงพระชายา" เช่นกัน ปัจจุบันมีผู้ดำรงพระอิสริยศเจ้าหญิงพระชายา 3 พระองค์คือ เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก และ เจ้าหญิงลัลลา ซัลมา แห่งโมร็อกโก.

ดู จักรพรรดิโคโกและเจ้าหญิงพระชายา

เจ้าหญิงอิชิ

้าหญิงอิชิ (? – 27 เมษายน 1442) เจ้าหญิงและเจ้าหญิงพระชายาในจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยพระองค์เป็นพระราชธิดาใน จักรพรรดิโคโก จักรพรรดิองค์ที่ 58 ที่ประสูติแต่ จักรพรรดินีฮันชิ พระราชชนนี และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระราชมารดาเดียวกับ จักรพรรดิอุดะ จักรพรรดิองค์ที่ 59 รวมถึงเป็นเจ้าหญืงพระชายาใน จักรพรรดิไดโงะ จักรพรรดิองค์ที่ 60 เจ้าหญิงอิชิสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน..

ดู จักรพรรดิโคโกและเจ้าหญิงอิชิ

ดูเพิ่มเติม

บุคคลจากเกียวโต

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1373