สารบัญ
22 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะฟุจิวะระ โนะ อิชิฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิพ.ศ. 1559พ.ศ. 1560พ.ศ. 1561พ.ศ. 1579พระราชวังหลวงเฮอังพระตำหนักสึชิมิกะโดะยุคโชวะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิอิชิโจจักรพรรดิซังโจจักรพรรดินีโชชิจักรพรรดิโกะ-ซุซะกุคริสต์ศตวรรษที่ 11ไดโจไดจิงเซ็สโซและคัมปะกุ10 มีนาคม15 พฤษภาคม18 มีนาคม5 มิถุนายน
- บุคคลจากเกียวโต
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1551
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1579
- บุคคลในยุคเฮอัง
ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ
ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ (ค.ศ. 966 - ค.ศ. 1028) หรือ มิชินะงะแห่งฟุชิวะระ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระจักรพรรดิ (เซ็สโซ และ คัมปะกุ) ในยุคเฮอัง ถือว่าเป็นผู้สำเร็จราชการที่มีอำนาจมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น เป็นบิดาของจักรพรรดินีถึงสามพระองค์และเป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิสามพระองค์เช่นกัน.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ
ฟุจิวะระ โนะ อิชิ
ฟุจิวะระ โนะ อิชิ (2 กุมภาพันธ์ 1543 – 28 กันยายน 1579) จักรพรรดินีในจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นโดยพระองค์เป็น ชูงู หรือจักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ พระองค์เป็นธิดาคนที่ 3 ใน ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ พระอัยกา (ตา) ขององค์จักรพรร.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและฟุจิวะระ โนะ อิชิ
ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
ลาหงส์ในวัดเบียวโด ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ (1535 – 2 มีนาคม 1617) ขุนนางที่เรืองอำนาจใน ยุคเฮอัง เป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ที่เกิดแต่ มินะโมะโตะ โนะ ริงชิ ได้สืบทอดตำแหน่ง เซ็สโซ ต่อจากบิดาเมื่อ..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
พ.ศ. 1559
ทธศักราช 1559 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพ.ศ. 1559
พ.ศ. 1560
ทธศักราช 1560 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพ.ศ. 1560
พ.ศ. 1561
ทธศักราช 1561 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพ.ศ. 1561
พ.ศ. 1579
ทธศักราช 1579 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพ.ศ. 1579
พระราชวังหลวงเฮอัง
ระที่นั่งไดโงะกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว พระราชวังหลวงเฮอัง (Heian Palace) เคยเป็นที่ประทับของจักรพรรดิญี่ปุ่นช่วงปี..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพระราชวังหลวงเฮอัง
พระตำหนักสึชิมิกะโดะ
450px ไฟล์:Locator Dot2.gif พระตำหนักสึชิมิกะโดะ พระตำหนักโบราณที่ตั้งอยู่ใน พระราชวังหลวงเฮอัง โดยเป็นที่พำนักของ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ขุนนางที่กำลังเรืองอำนาจในขณะนั้นพร้อมกับครอบครัวรวมถึง จักรพรรดินีโชชิ จักรพรรดินีใน จักรพรรดิอิชิโจ และที่นี่เป็นที่ประสูติของจักรพรรดิถึง 3 พระองค์คือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 68, จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 69 และ จักรพรรดิโกะ-เรเซ จักรพรรดิองค์ที่ 70 และนามของพระตำหนักแห่งนี้ต่อมาได้ถูกนำไปเป็นพระนามของ จักรพรรดิสึชิมิกะโดะ จักรพรรดิองค์ที่ 83 หมวดหมู่:ยุคเฮอัง.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและพระตำหนักสึชิมิกะโดะ
ยุคโชวะ
ยุคโชวะ คือการนับช่วงยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในรัชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ (ฮิโระฮิโตะ)รัชกาลเดียว เริ่มต้นขึ้นในค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและยุคโชวะ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดิอิชิโจ
ักรพรรดิอิชิโจ (Emperor Ichijō) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 66 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอิชิโจหรือเจ้าชายคะเนะฮิโตะเป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิเอ็งยู จักรพรรดิองค์ที่ 64 ขึ้นเป็นรัชทายาทและผู้สืบราชบัลลังก์ในรัชสมัย จักรพรรดิคะซัง จักรพรรดิองค์ที่ 65 พระราชโอรสใน จักรพรรดิเรเซ จักรพรรดิองค์ที่ 63 ผู้เป็นพระภาดา (ลูกพี่ลูกน้อง) เมื่อ ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและจักรพรรดิอิชิโจ
จักรพรรดิซังโจ
ักรพรรดิซังโจ (Emperor Sanjō) จักรพรรดิองค์ที่ 67 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น จักรพรรดิซังโจหรือเจ้าชายอิยะซะดะกำพร้าพระราชมารดาเมื่อ..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและจักรพรรดิซังโจ
จักรพรรดินีโชชิ
จักรพรรดินีโชชิ (Empress Shōshi, 1431 - 1517) หรือท่าน โจโตมง-อิง จักรพรรดินีใน จักรพรรดิอิชิโจ และพระราชมารดาของจักรพรรดิถึง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ และ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและจักรพรรดินีโชชิ
จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ
ักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ (Emperor Go-Suzaku) จักรพรรดิองค์ที่ 69 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและจักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ
คริสต์ศตวรรษที่ 11
ริสต์ศตวรรษที่ 11 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1001 ถึง ค.ศ. 1100.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและคริสต์ศตวรรษที่ 11
ไดโจไดจิง
ง (太政大臣) หรือ อัครมหาเสนาบดี เป็นตำแหน่งสูงสุดของขุนนางฝ่ายบริหารของญี่ปุ่น เริ่มปรากฏครั้งแรกในปี พ.ศ. 1246 โดยมีเจ้าชายโอะซะกะเบะเป็นผู้ประเดิมตำแหน่ง หลังจากนั้นในยุคเฮอัง คนในตระกูลฟุจิวะระได้เป็นผู้ผูกขาดตำแหน่งไดโจไดจิงเรื่อยมา โครงสร้างการบริหาร จะแบ่งออกไปสามส่วน คือ ส่วนแรก ไดโจไดจิง หรืออัครมหาเสนาบดี เป็นผู้กุมอำนาจส่วนกลาง และประกอบด้วย ซะไดจิง (左大臣) มหาเสนาบดีฝ่ายซ้าย และอุไดจิง (右大臣) มหาเสนาบดีฝ่ายขวา โดยอัครมหาเสนาบดี จะเป็นประธานของสภาอำมาตย์และหัวหน้าของบรรดาข้าราชการ โดยเฉพาะมหาเสนาบดีฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ตลอดจนสี่ขุนนางใหญ่และสามขุนนางเล็ก แต่ในสมัยเอะโดะ ซึ่งเป็นยุคที่รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะเรืองอำนาจ ตำแหน่งไดโจไดจิงเป็นตำแหน่งที่ไม่มีอำนาจแต่ก็มีการสืบตำแหน่งเรื่อยมา พอถึงรัชสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ ใน..
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและไดโจไดจิง
เซ็สโซและคัมปะกุ
งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและเซ็สโซและคัมปะกุ
10 มีนาคม
วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและ10 มีนาคม
15 พฤษภาคม
วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและ15 พฤษภาคม
18 มีนาคม
วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและ18 มีนาคม
5 มิถุนายน
วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-อิชิโจและ5 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
บุคคลจากเกียวโต
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เรเซ
- จักรพรรดิโคเม
- จักรพรรดิโคโก
- จักรพรรดิโยเซ
- จักรพรรดิไดโงะ
- อิกกีว โซจุง
- เจ้าหญิงมะซะโกะ (จักรพรรดิเรเซ)
- โยชิโกะ นากายามะ
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1551
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1579
บุคคลในยุคเฮอัง
- จักรพรรดิคัมมุ
- จักรพรรดิจุนนะ
- จักรพรรดินิโจ
- จักรพรรดินีโชชิ
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เรเซ
- ทะกะชินะ โนะ ทะกะโกะ
- ท่านหญิงนิโจ
- ฟุจิวะระ โนะ มิชิโนะริ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะชิมิ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ
- ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ
- มินะโมะโตะ โนะ สึเนะโมะโตะ
- เจ้าชายโมะชิฮิโตะ
- เจ้าหญิงซะกะฮิโตะ
- เบ็งเก
- โฮโจ โทกิมาซะ
- โฮโจ โยชิโตกิ