โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส

ดัชนี จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส

ักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส (Marcus Aurelius หรือ Marcus Aurelius Antoninus Augustus) (ราว 26 เมษายน ค.ศ. 121Augustan History, "Marcus Aurelius" – 17 มีนาคม ค.ศ. 180) มาร์กุส เอาเรลิอุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันระหว่างวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 161 ถึง ค.ศ. 169 โดยปกครองร่วมกับ ลูกิอุส เวรุส (Lucius Verus) พระอนุชาบุญธรรม จนเวรุสสิ้นพระชนม์ในปี 169; จากนั้นเอาเรลิอุสทรงปกครองต่อมาโดยลำพังพระองค์เองระหว่างปี ค.ศ. 169 ถึง ค.ศ. 177 และ ทรงปกครองร่วมกับ ก็อมมอดุส (Commodus) ผู้เป็นราชโอรสของพระองค์ ระหว่าง ค.ศ. 177 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 180 มาร์กุส เอาเรลิอุสเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของ “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) และถือกันว่าเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) คนสำคัญคนหนึ่ง เหตุการณ์สำคัญในสมัยการปกครองของมาร์กุส เอาเรลิอุสก็ได้แก่สงครามในเอเชียกับจักรวรรดิพาร์เธียน (Parthian Empire), และกับชนเผ่าเจอร์มานิคตามบริเวณพรมแดนโรมัน-เจอร์มานิคัส (LimesGermanicus) เข้าไปในกอลและข้ามแม่น้ำดานูบ และการปฏิวัติทางตะวันออกที่นำโดยอาวิเดียส คาสเซียส (Avidius Cassius) ที่ไม่ประสบความสำเร็จ นอกจากความสามารถในการสงครามแล้วมาร์กุส เอาเรลิอุสก็ยังมีงานเขียน “Meditations” ที่เขียนเป็นภาษากรีกระหว่างที่ทำการรณรงค์ระหว่างปี..

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 664พ.ศ. 704พ.ศ. 712พ.ศ. 720พ.ศ. 723กลุ่มชนเจอร์แมนิกกอลราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียนลัทธิสโตอิกจักรพรรดิจักรพรรดิก็อมมอดุสจักรพรรดิลูกิอุส เวรุสจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุสจักรวรรดิโรมันปรัชญาแม่น้ำดานูบโรม17 มีนาคม26 เมษายน8 มีนาคม

พ.ศ. 664

ทธศักราช 664 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและพ.ศ. 664 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 704

ทธศักราช 704 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและพ.ศ. 704 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 712

ทธศักราช 712 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและพ.ศ. 712 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 720

ทธศักราช 720 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและพ.ศ. 720 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 723

ทธศักราช 723 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและพ.ศ. 723 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและกลุ่มชนเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและกอล · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียน

ราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียน เป็นราชวงค์ทีปกครองจักรวรรดิโรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 96 ถึงปี ค.ศ. 192 ประกอบไปด้วย ห้าจักรพรรดิผู้ทรงธรรม (Five Good Emporors) เป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิโรมัน อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิห้าพระองค์ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีความยุติธรรม ได้แก่ จักรพรรดิแนร์วา จักรพรรดิทราจัน จักรพรรดิเฮเดรียน จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส และจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส นอกจากนี้แล้วยังมีจักรพรรดิลูกิอุส เวรุสที่ปกครองร่วมกับจักริพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส และจักรพรรดิก็อมมอดุส ผู้ที่มีจิตใจเหี้ยมโหดต่างจากจักรพรรดิคนก่อน ๆ ของราชวงศ์ หมวดหมู่:จักรพรรดิโรมัน หมวดหมู่:ราชวงศ์จักรพรรดิโรมัน หมวดหมู่:ราชวงศ์แนร์วา-อันโตนีนุส.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสโตอิก

ฉลียงมีภาพเขียน หรือสโตอาที่บูรณะขึ้นใหม่ในเอเธนส์ ที่ซึ่งกลายเป็นชื่อของลัทธิสโตอิก ลัทธิสโตอิก (อังกฤษ: Stoicism) คือแนวคิดทางปรัชญาแห่งเฮลเลนิสติก ก่อตั้งโดยนักปรัชญาชาวกรีกชื่อ เซโน แห่ง ซิติอุม (Zeno of Citium พ.ศ. 210 - พ.ศ. 279) ในเอเธนส์ ซึ่งได้แพร่หลายเป็นอย่างมากไปทั่วกรีก และจักรวรรดิโรมัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและลัทธิสโตอิก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิก็อมมอดุส

ักรพรรดิก็อมมอดุส เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัส ประสูติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 161 เมื่อพระชนมายุได้เพียง 15 ชันสา ก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและจักรพรรดิก็อมมอดุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิลูกิอุส เวรุส

ักรพรรดิลูกิอุส เวรุส หรือ ลูกิอุส เอาเรลิอุส เวรุส (Lucius Verus; ชื่อเต็ม: Lucius Aurelius Verus) (15 ธันวาคม ค.ศ. 130 – ค.ศ. 169) ลูกิอุส เวรุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์อันโตนิน ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเลี้ยงจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุสเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 161 ร่วมกับจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสจนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 169 หลังจากนั้นจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัสก็ครองราชย์ต่อมาด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและจักรพรรดิลูกิอุส เวรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส

ักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส หรือ ตีตุส เอาเรลิอุส ฟุลวุส โบอิโอนิอุส อาร์ริอุส อันโตนีนุส (Antoninus Pius; ชื่อเต็ม: Titus Aurelius Fulvus Boionius Arrius Antoninus) (19 กันยายน ค.ศ. 86 – 7 มีนาคม ค.ศ. 161) อันโตนีนุส ปิอุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์อันโตนิน ผู้เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเลี้ยงจักรพรรดิฮาดริอานุสเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 138 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 161 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัสเป็นผู้ครองราชย์สืบต่อมา อันโตนีนุส ปิอุสทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่สี่ในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) และไม่ได้รับการขนานนามว่า “ปิอุส” จนกระทั่งเมื่อขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิแล้ว การที่ทรงได้รับนามเช่นนั้นอาจจะมาจากการที่ทรงบังคับให้สภาเซเนทแต่งตั้งให้พระราชบิดาเลี้ยงเป็นเทพ แต่หนังสือ “ชีวประวัติของจักรพรรดิโรมัน” (Augustan History) เสนอว่าอาจจะเป็นเพราะทรงช่วยให้วุฒิสมาชิกให้รอดจากการถูกประหารชีวิตโดยพระราชบิดาในปลายรัชสมั.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและโรม · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มีนาคม

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสและ8 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Marcus Aureliusมาร์คัส ออเรลิอัสมาร์คุส ออเรลิอุสจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »