โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอแลน

ดัชนี คอแลน

อแลน ชื่ออื่นๆคือ บักแงว (ภาษาอีสาน), คอลัง (ภาษาใต้) อยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่ ลำไย เงาะ รวมทั้งมามอนซีโย ด้วย) เป็นไม้ยืนต้นสูง มีพูพอน ใบประกอบ ดอกออกปลายกิ่หรือตามซอกใบ กลีบดอกมี 6 กลีบหรือไม่มี ผลมีปุ่มปมหนาแน่น สีแดง เปลือกภายนอกมีลักษณะคล้ายกับลิ้นจี่แต่เนื้อข้างในคล้ายเงาะมีรสเปรี้ยว รับประทานได้ เมล็ดไม่สามารถรับประทานได้เนื่องจากแข็งและมีพิษ.

12 ความสัมพันธ์: พืชพืชดอกพืชใบเลี้ยงคู่ภาษาไทยถิ่นอีสานภาษาไทยถิ่นใต้มามอนซีโยลำไยลิ้นจี่วงศ์เงาะสกุลเงาะอันดับเงาะเงาะ

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: คอแลนและพืช · ดูเพิ่มเติม »

พืชดอก

ืชดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliophyta เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Angiospermae หรือ Angiosperms เป็นกลุ่มของพืชกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีดอกไม้ และเมล็ดเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเมล็ดจะกลายเป็นผลไม้ พืชดอกแบ่งได้ออกเป็นกลุ่มใหญ่ 8 กลุ่มดังนี้ เรียงตามจำนวนสปีชี.

ใหม่!!: คอแลนและพืชดอก · ดูเพิ่มเติม »

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

ใหม่!!: คอแลนและพืชใบเลี้ยงคู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ใหม่!!: คอแลนและภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นใต้

ษาไทยถิ่นใต้ หรือ ภาษาตามโพร (Dambro) เป็นภาษาถิ่น ที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัด และตอนล่างของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อีกทั้งบางหมู่บ้าน ในรัฐกลันตัน, รัฐปะลิส, รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี), รัฐเประก์ และรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมู่บ้าน ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถิ่นใต้ มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉ.

ใหม่!!: คอแลนและภาษาไทยถิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

มามอนซีโย

มามอนซีโย (Mamoncillo) หรือ มามันซีโอ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ เป็นไม้ผลอยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่และลำไย) เป็นผลไม้เมืองร้อน ตามธรรมชาติจะมีในเขตร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรและมีในทวีปอเมริกาเท่านั้น เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงถึง 30 เมตร ใบยาว 5-8 เซนติเมตร.

ใหม่!!: คอแลนและมามอนซีโย · ดูเพิ่มเติม »

ลำไย

ลำไย (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็.

ใหม่!!: คอแลนและลำไย · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นจี่

ลิ้นจี่ เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีแดงชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลำไยนั้นเอง) ลิ้นจี่นั้นเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเป็นผลไม้โปรดของหยางกุ้ยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถังเสวียนจง ทรงบัญชาให้ทหารม้านำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ฉางอาน เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: คอแลนและลิ้นจี่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เงาะ

วงศ์เงาะ หรือ วงศ์ไม้ลำไย (Sapindaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกในอันดับ Sapindales มีอยู่ประมาณ 140-150 สกุล หรือ 1400-2000 ชนิด เช่น เมเปิล Horse chestnut และลิ้นจี่ สมาชิกของวงศ์ Sapindaceae พบได้ในภูมิภาคเขตอบอุ่นไปจนถึงเขตร้อนทั่วโลก.

ใหม่!!: คอแลนและวงศ์เงาะ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเงาะ

กุลเงาะ หรือ Nephelium เป็นสกุลที่ประกอบด้วย 25 สปีชีส์ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีผลที่รับประทานได้ โดยเงาะเป็นชนิดที่เป็นที่รู้จักดีที่สุด พืชในสกุลนี้มีความใกล้เคียงกับสกุล Litchi และ Dimocarpus;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: คอแลนและสกุลเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับเงาะ

อันดับเงาะหรือ Sapindales เป็นอันดับของพืชมีดอกที่มีสมาชิกที่สำคัญคือเมเปิล เงาะ ลิ้นจี่ สะเดา มะม่วง ระบบ APG II ได้จัดให้อันดับนี้อยู่ในกลุ่มโรสิดแท้ ในกลุ่มใหญ่โรสิด และในพืชใบเลี้ยงคู่แท้ มี 9 วงศ์.

ใหม่!!: คอแลนและอันดับเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

เงาะ

งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.

ใหม่!!: คอแลนและเงาะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nephelium hypoleucumบักแงว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »