เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)

ดัชนี ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)

ในคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เรื่องทฤษฎีกราฟ ความต่อเนื่อง หรือ ความเชื่อมโยง (Connectivity) เป็นคุณสมบัติหนึ่งของกราฟ โดยกราฟต่อเนื่อง หรือ กราฟเชื่อมโยง (Connected graph) หมายความว่ากราฟไม่ขาดจากกัน กล่าวคือ สำหรับทุกๆสองจุดยอดใดๆ จะสามารถไปถึงกันได้ หรือก็คือมีวิถีระหว่างจุดยอดทั้งสอง ในขณะที่กราฟไม่ต่อเนื่อง หรือ กราฟไม่เชื่อมโยง (Unconnected graph) หมายความว่ากราฟนั้นขาดออกจากกัน กล่าวคือมีอย่างน้อยสองจุดยอด ที่ไม่สามารถไปถึงกันได้ หรือก็คือไม่มีวิถีระหว่างจุดยอดทั้งสองจุดนั้น ความต่อเนื่องของกราฟ ยังสามารถมองได้ในอีกแง่มุมหนึ่ง คือจำนวนของจุดยอดหรือเส้นเชื่อมที่น้อยที่สุด ที่ถ้าลบจุดยอดหรือเส้นเชื่อมเหล่านั้นทิ้งแล้ว กราฟดังกล่าวจะกลายเป็นกราฟไม่ต่อเนื่องDiestel, R.,, 2005, p 12.

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: กราฟ (คณิตศาสตร์)การไหลในเครือข่ายวิถี (ทฤษฎีกราฟ)วิทยาการคอมพิวเตอร์จุดยอดทฤษฎีกราฟคณิตศาสตร์

  2. ความต่อเนื่องของกราฟ

กราฟ (คณิตศาสตร์)

วาดของกราฟระบุชื่อที่มีจุดยอด 6 จุด และเส้นเชื่อม 7 เส้น ในคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ กราฟ (Graph) ประกอบไปด้วยเซตของวัตถุที่เรียกว่าจุดยอด (vertex) ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยเส้นเชื่อม (edge) โดยทั่วไปแล้วเรามักวาดรูปแสดงกราฟโดยใช้จุด (แทนจุดยอด) เชื่อมกันด้วยเส้น (แทนเส้นเชื่อม) กราฟเป็นวัตถุพื้นฐานของการศึกษาในวิยุตคณิต หัวข้อทฤษฎีกราฟ เส้นเชื่อมอาจมีทิศทางหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติให้จุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการจับมือกัน เส้นเชื่อมก็จะเป็นเส้นเชื่อมไม่มีทิศ เพราะการที่ A จับมือ B ก็แปลว่า B จับมือ A อย่างไรก็ตาม สมมุติถ้าจุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการรู้จัก เส้นเชื่อมก็ต้องเป็นเส้นเชื่อมมีทิศทาง เพราะ A รู้จัก B ไม่จำเป็นว่า B ต้องรู้จัก A หรือนั่นก็คือความสัมพันธ์การรู้จักไม่เป็นความสัมพันธ์สมมาตร จุดยอดอาจจะถูกเรียกว่าโหนด ปม หรือจุด ในขณะที่เส้นเชื่อมอาจถูกเรียกว่าเส้น คำว่า "กราฟ" ถูกใช้ครั้งแรกโดย J.J.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และกราฟ (คณิตศาสตร์)

การไหลในเครือข่าย

ในทฤษฎีกราฟ การไหลในเครือข่าย (network flow) คือ การกำหนดค่าให้กับเส้นเชื่อมในกราฟระบุทิศทางถ่วงน้ำหนัก (เรียกว่า เครือข่ายการไหล (Flow network) ในกรณีนี้) ซึ่ง.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และการไหลในเครือข่าย

วิถี (ทฤษฎีกราฟ)

ในคณิตศาสตร์ วิถี (path) ในกราฟคือลำดับของจุดยอด ซึ่งจุดยอดแต่ละจุดจะมีเส้นเชื่อมเชื่อมจุดยอดในลำดับที่อยู่ติดกัน.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และวิถี (ทฤษฎีกราฟ)

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และวิทยาการคอมพิวเตอร์

จุดยอด

อด (vertex) อาจหมายถึง; คณิตศาสตร.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และจุดยอด

ทฤษฎีกราฟ

กราฟที่มีจุดยอด 6 จุด และเส้นเชื่อม 7 เส้น ทฤษฎีกราฟ (graph theory) เป็นหนึ่งในสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ศึกษาถึงคุณสมบัติต่าง ๆ ของกราฟ.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และทฤษฎีกราฟ

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.

ดู ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)และคณิตศาสตร์

ดูเพิ่มเติม

ความต่อเนื่องของกราฟ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Connected graphกราฟเชื่อมโยง