สารบัญ
17 ความสัมพันธ์: การพักรบการระดมยิงย็อนพย็องมุน แจ-อินสหประชาชาติสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเกาหลีอี ซึง-มันคิม อิล-ซ็องคิม จ็อง-อิลคิม จ็อง-อึนคิม แด-จุงประเทศเกาหลีเหนือแม่น้ำยาลู่โน มู-ฮย็อนเชลยศึกเขตปลอดทหารเกาหลีเปียงยาง
- กองทัพเกาหลีเหนือ
- การสงบศึก
- ความสัมพันธ์เกาหลีใต้–เกาหลีเหนือ
- ประวัติศาสตร์การทหารของเกาหลี
- รัฐบาลเกาหลีเหนือ
- สงครามเกาหลี
- เขตแดนเกาหลีใต้–เกาหลีเหนือ
การพักรบ
การพักรบ (truce) หรือการหยุดยิง (ceasefire) ได้แก่การพักการรบพุ่งซึ่งกันในการณรงค์สงครามหรือในเหตุการณ์ขัดแย้งอื่นใดอันมีการใช้อาวุธ ทั้งนี้ การพักรบต้องเป็นไปโดยความเห็นชอบของทุกฝ่ายที่ตกลงจะพักรบ การพักรบอาจกระทำได้โดยการประกาศหรือทำเป็นหนังสือสัญญาอย่างเป็นทางการก็ได้ หรือกระทำโดยประการอื่นใดอันไม่เป็นทางการแต่เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปก็ได้.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและการพักรบ
การระดมยิงย็อนพย็อง
การระดมยิงย็อนพย็อง เป็นยุทธนาการเหล่าทหารปืนใหญ่ระหว่างทหารเกาหลีเหนือกับกองกำลังเกาหลีใต้ที่ประจำอยู่บนเกาะย็อนพย็อง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและการระดมยิงย็อนพย็อง
มุน แจ-อิน
มุน แจ-อิน (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2496) เป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน พรรคมินจู ตั้งแต่ปี..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและมุน แจ-อิน
สหประชาชาติ
หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและสหประชาชาติ
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกาหลี
งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและสงครามเกาหลี
อี ซึง-มัน
อี ซึง-มัน (Yi Seung-man;; เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกในชื่อ "ซึงมัน รี" ("Syngman Rhee"); 26 มีนาคม พ.ศ. 2418 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีคนแรกแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างเดือนสิงหาคม..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและอี ซึง-มัน
คิม อิล-ซ็อง
อนุสาวรีย์คิม อิล-ซ็อง คิม อิล-ซ็อง (15 เมษายน พ.ศ. 2455 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นผู้นำคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเมื่อ..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและคิม อิล-ซ็อง
คิม จ็อง-อิล
ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและคิม จ็อง-อิล
คิม จ็อง-อึน
ม จ็อง-อึน (เกิด 8 มกราคม ค.ศ. 1983 หรือ 1984) ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือคนปัจจุบัน ได้รับประกาศเป็นผู้นำสูงสุดอย่างเป็นทางการหลังรัฐพิธีศพบิดา คิม จ็อง-อิล เขาเป็นบุตรคนสุดท้องจากทั้งหมดสามคนของคิม จ็อง-อิล กับโค ยง-ฮี นับแต่ปล..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและคิม จ็อง-อึน
คิม แด-จุง
ม แด-จุง (김대중, Kim Dae-jung) (6 มกราคม พ.ศ. 2467 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 8 ของประเทศเกาหลีใต้ ตั้งแต่ปี..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและคิม แด-จุง
ประเทศเกาหลีเหนือ
รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและประเทศเกาหลีเหนือ
แม่น้ำยาลู่
ูมิศาสตร์แม่น้ำยาลู แม่น้ำยาลู่ (鴨綠江, 鸭绿江 Yālù Jiāng; Yalu River) หรือ แม่น้ำอัมนก (Amnok River) เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างจีน และเกาหลีเหนือ และมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์เกาหลีอย่างมาก.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและแม่น้ำยาลู่
โน มู-ฮย็อน
น มู-ฮย็อน (Roh Moo-hyun; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2552) เป็นประธานาธิบดีของเกาหลีใต้คนที่ 9 ซึ่งดำรงตำแหน่งในช่วงปี พ.ศ.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและโน มู-ฮย็อน
เชลยศึก
ลยศึก (prisoner of war) หมายถึง บุคคลที่อยู่ในการคุมขังของฝ่ายข้าศึกระหว่างหรือหลังการขัดกันด้วยอาวุธทันที ไม่ว่าบุคคลนั้นจะเป็นพลรบหรือผู้ที่มิใช่พลรบก็ตาม วลีดังกล่าวมีบันทึกว่าใช้ครั้งแรกประมาณ..
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและเชลยศึก
เขตปลอดทหารเกาหลี
เขตปลอดทหารเกาหลี (Korean Demilitarized Zone, DMZ) เป็นแผ่นดินที่วิ่งตัดคาบสมุทรเกาหลี จัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติแห่งความตกลงการสงบศึกเกาหลีเพื่อใช้เป็นเขตกันชนระหว่างสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) กับสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) ในปี 1953 เขตปลอดทหารเป็นแนวกั้นชายแดนซึ่งแบ่งคาบสมุทรเกาหลีออกเป็นเกือบเท่า ๆ กัน มีความยาว 250 กิโลเมตร และกว้าง 4 กิโลเมตร ในเขตปลอดทหารเกาหลีเป็นที่ประชุมระหว่างสองประเทศในพื้นที่ความมั่นคงร่วมเล็ก ๆ ใกล้ปลายด้านตะวันตกของเขต อันเป็นที่จัดการเจรจา มีอุบัติการณ์ต่าง ๆ ทั้งในและรอบเขตปลอดทหารเกาหลี โดยทั้งสองฝ่ายสูญเสียทหารและพลเรือน หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและเขตปลอดทหารเกาหลี
เปียงยาง
ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ.
ดู ความตกลงการสงบศึกเกาหลีและเปียงยาง
ดูเพิ่มเติม
กองทัพเกาหลีเหนือ
- กองทัพบกประชาชนเกาหลี
- กองทัพประชาชนเกาหลี
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ยองเบียน
- เขตปลอดทหารเกาหลี
- แนวจำกัดตอนเหนือ
การสงบศึก
- การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
- การสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
ความสัมพันธ์เกาหลีใต้–เกาหลีเหนือ
- การประชุมสุดยอดระหว่างเกาหลี พ.ศ. 2561
- การรวมชาติเกาหลี
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- ธงรวมเกาหลี
- ปฏิญญาพันมุนจ็อม
- ประเทศเกาหลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018
- วิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561
- เขตปลอดทหารเกาหลี
- เขตอุตสาหกรรมแคซ็อง
- เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526
- แนวจำกัดตอนเหนือ
ประวัติศาสตร์การทหารของเกาหลี
- การรวมชาติเกาหลี
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- คิม ยูชิน
- คิม อันโล
- ช็อง ยอ-ริป
- ยอนแกโซมุน
- อี ซุน-ชิน
- อึลจิมุนด็อก
- เขตปลอดทหารเกาหลี
- แนวจำกัดตอนเหนือ
รัฐบาลเกาหลีเหนือ
- การรวมชาติเกาหลี
- คณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ
- พรรคแรงงานเกาหลี
- สำนักงานกรรมการกลาง 39 แห่งพรรคแรงงานเกาหลี
- แนวจำกัดตอนเหนือ
สงครามเกาหลี
- การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- พันมุนจ็อม
- สงครามเกาหลี
เขตแดนเกาหลีใต้–เกาหลีเหนือ
- ความตกลงการสงบศึกเกาหลี
- ทะเลเหลือง
- เขตปลอดทหารเกาหลี
- แนวจำกัดตอนเหนือ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ข้อตกลงการสงบศึกเกาหลี