โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526

ดัชนี เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526

หตุระเบิดในย่างกุ้ง..

13 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2526การลอบสังหารการแขวนคอย่างกุ้งอองซานประธานาธิบดีประธานาธิบดีเกาหลีใต้ประเทศพม่าประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือโทษประหารชีวิตเจดีย์ชเวดากอง9 ตุลาคม

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหาร

การลอบสังหาร (Assassination) การฆาตกรรมบุคคคลที่มีชื่อเสียงด้วยการวางแผนล่วงหน้า การลอบสังหารอาจจะเกิดขึ้นเนื่องด้วยเหตุผลทางอุดมคติ การเมือง หรือการทหารเป็นมูลเหตุชี้นำก็เป็นได้ และนอกจากนี้ ผู้ลอบสังหาร (Assassin) เองก็อาจจะได้รับแรงจูงใจจากค่าจ้าง ความแค้น ความมีชื่อเสียง หรือความพิการทางจิตด้ว.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และการลอบสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

การแขวนคอ

thumbnail การแขวนคอ (Hanging) เป็นการทำให้มนุษย์หมดสติและถึงแก่ความตายโดยแขวนคอเข้ากับเชือกที่ผูกยึดเอาไว้ด้านบน บางประเทศใช้วิธีการนี้ในการประหารชีวิต และวิธีนี้ยังมักใช้ฆ่าตัวตายด้ว.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และการแขวนคอ · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อองซาน

อองซาน นายพลอองซาน (အောင်ဆန်း, Aung San) หรือ อูอองซาน (U Aung San; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของประเทศพม่า ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า" อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของสหราชอาณาจักร ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) อองซานได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น โดยได้ก่อตั้งกองกำลังปลดปล่อยพม่าที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นสามารถยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้และวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943) ญี่ปุ่นได้ประกาศว่าพม่าเป็นประเทศเอกราช และตั้งอองซานเป็นนายกรัฐมนตรี อองซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 อองซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ อู ซอ ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของอองซาน ซึ่ง อู ซอ ถูกประหารชีวิต อองซาน เสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) ปัจจุบัน นางอองซาน ซูจี บุตรสาวของอองซานเป็นผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลพลเรือนของพม.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และอองซาน · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดี

ประธานาธิบดี (president) คือตำแหน่งประมุขหรือผู้นำของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งประธานาธิบดีจะได้รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันมีหลายประเทศที่มีประธานาธิบดีเป็นประม.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และประธานาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเกาหลีใต้

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (대한민국의 대통령; 大韓民國大統領) ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ประธานาธิบดีเป็นประมุขฝ่ายบริหาร, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและประมุขแห่งรัฐของสาธารณรัฐเกาหลี ในรัฐธรรมนูญและรัฐบัญญัติการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2530 ได้จัดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีเป็นการเลือกตั้งแบบทางตรงโดยการลงคะแนนลับ ถือเป็นการสิ้นสุดการเลือกตั้งประธานาธิบดีทางอ้อม 16 ปีก่อนหน้านั้นใน 2 รัฐบาลก่อน โดยประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งโดยทางตรงจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีและไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได้อีก ถ้าตำแหน่งประธานาธิบดีว่างลง จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ภายใน 60 วัน ในระหว่างนี้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีอาวุโสอื่นในคณะรัฐมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่รักษาการประธานาธิบดี ซึ่งเป็นการรักษาการตามกฎหมาย ในขณะที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีจะอาศัยอยู่ในทำเนียบสีน้ำเงิน (청와대; 靑瓦臺) และได้รับการยกเว้นจากความรับผิดทางอาญา ยกเว้นความผิดเกี่ยวกับการจลาจลหรือเป็นกบฏ ปัจจุบัน มุน แจ-อิน เป็นประธานาธิบดีของเกาหลีใต้ ได้เข้าพิธีสาบานตนรับตำแหน่งในวันที่ 10 พฤษภาคม 2560 ซึ่งเป็นการเข้ารับตำแหน่งอย่างเรียบง่ายและรวดเร็ว เพื่อไม่ให้เกิดสูญญากาศทางการเมืองระหว่างประเทศที่กำลังตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลีและการเมืองภายใน ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และประธานาธิบดีเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

โทษประหารชีวิต

ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และโทษประหารชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เหตุระเบิดในย่างกุ้ง พ.ศ. 2526และ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »