สารบัญ
8 ความสัมพันธ์: การประชุมพ็อทซ์ดัมการประชุมเตหะรานวินสตัน เชอร์ชิลสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเย็นคาบสมุทรไครเมียแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์โจเซฟ สตาลิน
- การประชุมระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
- การยึดครองยุโรปของฝ่ายสัมพันธมิตร
- วินสตัน เชอร์ชิล
- สหราชอาณาจักรในสงครามโลกครั้งที่สอง
- โจเซฟ สตาลิน
การประชุมพ็อทซ์ดัม
"สามผู้ยิ่งใหญ่": อัตต์ลี, ทรูแมน, สตาลิน การประชุมพ็อทซ์ดัม (Potsdamer Konferenz) เป็นการประชุมระหว่างสามฝ่ายแห่งฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง,ได้แก่ สหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต.ที่มีความเกี่ยวข้องกับการยึดครองทางทหารและทำการฟื้นฟูเยอรมนี, ชายแดน,สถานภาพของอดีตดินแดนตะวันออก, เขตแดนยุโรปทั้งหมดของสงคราม นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการทำให้ประเทศเยอรมนีปลอดทหาร, การชดใช้ค่าเสียหาย และการฟ้องร้องต่อเหล่าอาชญากรสงคราม โดยการประชุมจัดขึ้นที่ ตำหนักของเจ้าชายวิลเฮล์มในเมือง พ็อทซ์ดัม เยอรมนีภายใต้การยึดครอง ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 1945 หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู การประชุมยัลตาและการประชุมพ็อทซ์ดัม
การประชุมเตหะราน
การประชุมเตหะราน(รหัสนามว่า ยูเรก้า) เป็นการประชุมทางยุทธศาสร์ของโจเซฟ สตาลิน, แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิล ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม..
ดู การประชุมยัลตาและการประชุมเตหะราน
วินสตัน เชอร์ชิล
ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.
ดู การประชุมยัลตาและวินสตัน เชอร์ชิล
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู การประชุมยัลตาและสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเย็น
กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.
ดู การประชุมยัลตาและสงครามเย็น
คาบสมุทรไครเมีย
คาบสมุทรไครเมีย เป็นผืนดินขนาดใหญ่ทางชายฝั่งด้านเหนือของทะเลดำซึ่งแทบถูกน้ำล้อมรอบแทบทุกด้าน คาบสมุทรไครเมียตั้งอยู่ทางใต้ของแผ่นดินใหญ่ยูเครน และทางตะวันตกของเขตคูบันของรัสเซีย คาบสมุทรนี้ถูกสองทะเลล้อมรอบ คือ ทะเลดำและทะเลอะซอฟที่เล็กกว่าทางตะวันออก ติดต่อกับแผ่นดินใหญ่ยูเครนโดยคอคอดเปเรกอฟ (Isthmus of Perekop) และแยกจากยูบันด้วยช่องแคบเคิร์ช (Strait of Kerch) สันดอนจะงอยอะราบัด (Arabat Spit) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นแผ่นดินเล็ก ๆ ที่แยกระบบลากูนชื่อ ซิวัช (Sivash) จากทะเลอะซอฟ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ไครเมีย หมวดหมู่:คาบสมุทร.
ดู การประชุมยัลตาและคาบสมุทรไครเมีย
แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์
แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ.
ดู การประชุมยัลตาและแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์
โจเซฟ สตาลิน
ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.
ดู การประชุมยัลตาและโจเซฟ สตาลิน
ดูเพิ่มเติม
การประชุมระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
- กฎบัตรแอตแลนติก
- การประชุมกาซาบล็องกา
- การประชุมพ็อทซ์ดัม
- การประชุมมหาเอเชียบูรพา
- การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ
- การประชุมเกสตาโพ-เอ็นเควีดี
- การประชุมเตหะราน
- การประชุมไคโร
- ดาบแห่งสตาลินกราด
การยึดครองยุโรปของฝ่ายสัมพันธมิตร
วินสตัน เชอร์ชิล
สหราชอาณาจักรในสงครามโลกครั้งที่สอง
- กฎบัตรแอตแลนติก
- การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ
- ความตกลงสมบูรณ์แบบ
- ความตกลงอัตราส่วนร้อย
- ปฏิญญามอสโก
- พระราชบัญญัติว่าด้วยการขึ้นทะเบียนแห่งชาติ
- พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์
- รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย
- รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์
- สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
- ให้ยืม-เช่า
โจเซฟ สตาลิน
- การประชุมพ็อทซ์ดัม
- การประชุมเตหะราน
- การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907
- การสังหารหมู่กาตึญ
- คำสั่งที่ 227
- ดาบแห่งสตาลินกราด
- ม่านเหล็ก
- ยุทธการที่สตาลินกราด
- รถถังโจเซฟ สตาลิน
- วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
- โจเซฟ สตาลิน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yalta Conference