สารบัญ
2 ความสัมพันธ์: ฟังก์ชันเลขชี้กำลังการแจกแจงปรกติ
- วิธีการหาค่าเหมาะสมที่สุด
ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง
กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง y.
ดู การค้นหาแบบสุ่มและฟังก์ชันเลขชี้กำลัง
การแจกแจงปรกติ
ำหรับทฤษฎีความน่าจะเป็น การแจกแจงปรกติ (normal distribution) เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นของค่าของตัวแปรสุ่มที่เป็นค่าแบบต่อเนื่อง โดยที่ค่าของตัวแปรสุ่มมีแนวโน้มที่จะมีค่าอยู่ใกล้ ๆ กับค่า ๆ หนึ่ง (เรียกว่าค่ามัชฌิม) กราฟแสดงค่าฟังก์ชันความหนาแน่น (probability density function) จะเป็นรูปคล้ายระฆังคว่ำ หรือเรียกว่า Gaussian function โดยค่าฟังก์ชันความหนาแน่นของการแจกแจงปรกติ ได้แก่ โดย "x" แทนตัวแปรสุ่ม พารามิเตอร์ μ แสดงค่ามัชฌิม และ σ 2 คือค่าความแปรปรวน (variance) ซึ่งเป็นค่าที่ใช้บอกปริมาณการกระจายของการแจกแจง การแจกแจงปรกติที่มีค่า และ จะถูกเรียกว่า การแจกแจงปรกติมาตรฐาน การแจกแจงปรกติเป็นการแจกแจงที่เด่นที่สุดในทางวิชาความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ ซึ่งก็มาจากหลาย ๆ เหตุผล ซึ่งก็รวมถึงผลจากทฤษฎีบทขีดจํากัดกลาง (central limit theorem) ที่กล่าวว่า ภายใต้สภาพทั่ว ๆ ไปแล้ว ค่าเฉลี่ยจากการสุ่มค่าของตัวแปรสุ่มอิสระจากการแจกแจงใด ๆ (ที่มีค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนจำกัด) ถ้าจำนวนการสุ่มนั้นใหญ่พอ แล้วค่าเฉลี่ยนั้นจะมีการแจกแจงประมาณได้เป็นการแจกแจงปรกต.
ดู การค้นหาแบบสุ่มและการแจกแจงปรกติ
ดูเพิ่มเติม
วิธีการหาค่าเหมาะสมที่สุด
- การคูณลูกโซ่ของเมทริกซ์
- การค้นหาเฉพาะที่
- การค้นหาแบบสุ่ม
- การค้นหาแบบไตรภาค
- การจำลองการอบเหนียว
- กำหนดการพลวัต
- ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหาการปีนเขาของสโทแคสติก
- ขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์
- ขั้นตอนวิธีมินิแมกซ์
- ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ
- ขั้นตอนวิธีแบบละโมบ
- ขั้นตอนวิธีแบ่งแยกและเอาชนะ
- รายชื่อขั้นตอนวิธี
- วิธีการครอส-เอนโทรปี