โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

ดัชนี การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

การขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกันยายน..

15 ความสัมพันธ์: ชตูร์มับไทลุงพรรคกรรมกรเยอรมันพรรคนาซีกบฏโรงเบียร์การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์รัฐบัญญัติมอบอำนาจร็อตเทอร์ ฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์สาธารณรัฐไวมาร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันนายกรัฐมนตรีเยอรมนีไมน์คัมพฟ์ไรชส์ทาคเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก

ชตูร์มับไทลุง

ตูร์มับไทลุง (Sturmabteilung; ชื่อย่อ เอสเอ (SA);; แปลว่า "กองกำลังพายุ") เป็นหน่วยกองกำลังกึ่งทหารเดิมของพรรคนาซี หน่วยเอสเอมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในทศวรรษที่ 1920 ถึง 1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง (Rotfrontkämpferbund) ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ชาวสลาวิกและโรมัน กลุ่มลัทธิ และกลุ่มยิว เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี กลุ่มเอสเอบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่าพวกชุดกากี (Braunhemden) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของมุโสลินี กลุ่มเอสเอมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งนำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่มชุทซ์ชทัฟเฟิล ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มเอสเอก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เพราะได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารประจำอาณานิคมของดินแดนอาณานิคมของเยอรมัน กลุ่มเอสเอสูญเสียอำนาจหลังจากฮิตเลอร์สั่งให้มีการฆ่าล้างอย่างโหดเหี้ยมในเหตุการณ์คืนมีดยาว (die Nacht der langen Messer) และถูกแทนที่โดยกลุ่มเอสเอส แต่กลุ่มเอสเอก็ยังไม่ถูกเลิกถาวรจนกระทั่วอาณาจักรไรซ์ที่ 3 ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรในปี 1945.

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชตูร์มับไทลุง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกรรมกรเยอรมัน

รรคกรรมกรเยอรมัน (Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ DAP) เป็นพรรคการเมืองเยอรมันซึ่งได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคกรรมกรเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโรงเบียร์

กบฏโรงเบียร์ ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ กบฏมิวนิก(Munich Putsch), และในเยอรมัน ได้ถูกเรียกว่า กบฏฮิตเลอร์(Hitlerputsch)หรือกบฏฮิตเลอร์-ลูเดนดอฟฟ์(Hitler-Ludendorff-Putsch) เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวโดยหัวหน้าพรรคนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์-พร้อมกับเจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) แอริช ลูเดินดอร์ฟ และผู้นำหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ -เพื่อยึดอำนาจในมิวนิก บาวาเรีย ในช่วงระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และกบฏโรงเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการต่อต้านต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ การจัดตั้งองค์กรเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ถูกพัฒนาขึ้นหลังปี..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติมอบอำนาจ

ตเลอร์ปราศรัยต่อไรชส์ทาค รัฐบัญญัติมอบอำนาจ (Enabling Act; Ermächtigungsgesetz) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กฎหมายเพื่อเยียวยาความยากลำบากของประชาชนและชาติ (Gesetz zur Behebung der Not von Volk und Reich) เป็นกฎหมายที่ผ่านโดยไรชส์ทาคแห่งเยอรมนี และได้รับการลงนามจากประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ในวันที่ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และรัฐบัญญัติมอบอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อตเทอร์ ฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์

ร็อตเทอร์ ฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์("สันนิบาตนักรบแนวร่วมแดง"), ย่อคำว่า อาร์เอฟบี, เป็นกองกำลังที่ไม่ใช่พลพรรคอย่างเป็นทางการ และสมาคมที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฏหมาย แต่ในทางปฏิบัติเป็นองค์กรกองกำลังกึ่งทหารภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนีในช่วงสาธารณรัฐไวมาร์ กลุ่มท้องถิ่นแรกของ RFB ได้ก่อตั้งขึ้นในเดือนกรกฏาคม..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และร็อตเทอร์ ฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสาธารณรัฐไวมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (Pan-Germanism) เป็นความคิดทางการเมืองอุดมการณ์รวมกลุ่มชาตินิยม (pan-nationalist) อย่างหนึ่ง นักอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันเดิมมุ่งรวมประชากรที่พูดภาษาเยอรมันในทวีปยุโรปในรัฐชาติเดียว ที่เรียกว่า กรอสส์ดอยท์ชลันด์ (มหาเยอรมนี) อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันมีอิทธิพลอย่างสูงในการเมืองเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างการรวมประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิเยอรมันถูกประกาศเป็นรัฐชาติใน..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเยอรมนี

นายกรัฐมนตรี (Bundeskanzler; Chancellor) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารประเทศเยอรมนี เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัยบิสมาร์คในปี..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนายกรัฐมนตรีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ไมน์คัมพฟ์

หน้าปกของ ''ไมน์คัมพฟ์'' ไมน์คัมพฟ์ (Mein Kampf) หรือ การต่อสู้ของข้าพเจ้า เป็นหนังสือที่เขียนโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองชาวออสเตรียผู้นิยมลัทธินาซี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมืองของฮิตเลอร์ โดยถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไมน์คัมพฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ทาค

รชส์ทาค (Reichstag) เป็นคำภาษาเยอรมัน หมายถึงฝ่ายนิติบัญญัติของไรช์ ปรากฎขึ้นในหลายยุคหลายสมัยในประวัติศาสตร์เยอรมัน อันได้แก่.

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก

ล์ ลุดวิก ฮันส์ อันโทน ฟอน เบเนกเคินดอร์ฟ อุนด์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (Paul Ludwig Hans Anton von Beneckendorff und von Hindenburg) รู้จักกันทั่วไปว่า เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (2 ตุลาคม 1847 – 2 สิงหาคม 1934) เป็นจอมพล รัฐบุรุษและนักการเมืองชาวปรัสเซีย-เยอรมัน และเป็นประธานาธิบดีเยอรมนีคนที่สองตั้งแต่ปี 1925 ถึง 1934.

ใหม่!!: การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์การขึ้นสู่อำนาจของฮิตเลอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »