โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การขนส่งในประเทศพม่า

ดัชนี การขนส่งในประเทศพม่า

รัฐบาลของประเทศพม่ามีกระทรวงที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขนส่ง 2 กระทรวงด้วยกัน ได้แก่ กระทรวงคมนาคมและกระทรวงรถไฟ.

34 ความสัมพันธ์: ชเวโบพะสิมพะโมพะโคกะเลการรถไฟเมียนมามยิจีนามยีนจานมะริดมัณฑะเลย์ย่างกุ้งลาโชทวายทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์ทางหลวงหมายเลข 4 (ประเทศพม่า)ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งท่าขี้เหล็กคุนหมิงตองอูตองจีซิตตเวปยีนมะนาประเทศพม่าประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศไทยแปรเชียงตุงเมะทีลาเมาะลำเลิงเย (รัฐมอญ)เขตมัณฑะเลย์เนปยีดอ

ชเวโบ

วโบ (Shwebo; ရွှေဘို) เป็นเมืองในเขตสะกาย ประเทศพม่า ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 113 กิโลเมตร ระหว่างแม่น้ำอิรวดีกับแม่น้ำมู มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ เป็นสถานที่ประสูติของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายของประเทศพม่า ต่อมาเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรในรัชสมัยของพระองค์ระหว่างปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและชเวโบ · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโม

ม หรือ บานมอ (ဗန်းမော်; Bhamo หรือ Bamaw) เป็นเมืองในรัฐกะฉิ่น ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ บนฝั่งแม่น้ำอิรวดีตอนบน ห่างจากเมืองมิตจีนาไปทางทิศใต้ 186 กม.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและพะโม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

กะเล

กะเล (Kalay) เมืองใน เขตสะกาย ของพม่าตั้งอยู่ทางตอนเหนือจาก มัณฑะเลย์ และ โมนยวา เมืองกะเลแห่งนี้เป็นเมืองเอกของ อำเภอกะเล ใน..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและกะเล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟเมียนมา

แผนที่เส้นทางรถไฟในพม่า การรถไฟเมียนมา (မြန်မာ့ မီးရထား, เป็นบริษัทรถไฟของประเทศพม่า มีระยะทางรวม 5,403 กิโลเมตร (3,357 ไมล์) รางมีเตอร์เกจ จำนวน 858 สถานี เส้นทางหลักมีแนวเส้นทางเหนือ-ใต้ ประกอบด้วยสายย่อยตะวันออก-ตะวันตก และรถไฟวงแหวนย่างกุ้ง มีขบวนรถไฟสินค้า 18 ขบวน และขบวนรถโดยสาร 379 ขบวน มีผู้โดยสารมากกว่า 100,000 คนต่อวัน.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและการรถไฟเมียนมา · ดูเพิ่มเติม »

มยิจีนา

มยิจีนา (Myitkyina) เป็นเมืองหลวงของรัฐกะฉิ่น ประเทศพม่า ห่างจากย่างกุ้ง 1,480 กม.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและมยิจีนา · ดูเพิ่มเติม »

มยีนจาน

มยีนจาน เป็นเมืองท่าริมฝั่งแม่น้ำใน เขตมัณฑะเลย์ ทางตอนกลางของประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งซ้ายของแม่น้ำอิรวดี บริเวณแม่น้ำชีนดวีนไหลมาบรรจบ ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 99 กิโลเมตร หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:เขตมัณฑะเลย์.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและมยีนจาน · ดูเพิ่มเติม »

มะริด

มะริด (မြိတ်, มเยะ หรือ เบะ; ဗိက်; Myeik) มีชื่อเดิมเป็นภาษาอังกฤษว่า เมอร์กุย (Mergui) เป็นเมืองหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน จากผลสำรวจสำมะโนครัวประชากรมีประชากรราว 209,000 คน World Gazetteer.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและมะริด · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑะเลย์

มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ลาโช

ลาโช (လႃႈသဵဝ်ႈ) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนเหนือของรัฐชานในประเทศพม่า อยู่ห่างจากมัณฑะเลย์ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ตั้งอยู่ท่ามกลางภูเขาต่ำ ซึ่งมีหุบเขานัมเยา ส่วนภูเขาที่สูงที่สุดของรัฐชาน มีชื่อว่า ล่อยเลง อยู่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ ปัจจุบัน ลาโช เป็นศูนย์กลางของตำบลลาโช และอำเภอลาโช แต่ในอดีต เคยเป็นศูนย์กลางของรัฐชานทางตอนเหนือ จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและลาโช · ดูเพิ่มเติม »

ทวาย

ทวาย (ထားဝယ်, ดะแว; ဓဝဲါ, ออกเสียง ฮะไหว่) เป็นเมืองทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า เป็นเมืองหลวงของภูมิภาคตะนาวศรี ตั้งอยู่ห่างจากย่างกุ้งราว 614.3 กม.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและทวาย · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์

ทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์ (ရန်ကုန်–မန္တလေး အမြန်လမ်း) เป็นทางพิเศษในประเทศพม่าที่เชื่อมต่อระหว่างสามเมืองใหญ่ของประเทศ ได้แก่ เมืองที่ใหญ่ที่สุด ย่างกุ้ง, เมืองหลวง เนปยีดอ และเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 มัณฑะเลย์ เปิดใช้บริการเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงหมายเลข 4 (ประเทศพม่า)

ทางหลวงหมายเลข 4 เป็นทางหลวงแนวตะวันตก-ตะวันออกที่สำคัญของประเทศพม่า เชื่อมต่อเมืองเมะทีลา ในเขตมัณฑะเลย์ ไปยังเมืองท่าขี้เหล็ก ในรัฐฉาน บริเวณพรมแดนประเทศไทย ทางหลวงเส้นนี้เริ่มต้นใกล้กับเมืองเมะทีลา ซึ่งเชื่อมต่อกับทางหลวงหมายเลข 1 ไปทางทิศตะวันออกผ่านเมือง Hopong บรรจบกับทางหลวงหมายเลข 5 ทางทิศใต้ และไปสิ้นสุดที่เมืองท่าขี้เหล็ก เชื่อมต่อกับถนนพหลโยธิน ที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย หมวดหมู่:ถนนในประเทศพม่า.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและทางหลวงหมายเลข 4 (ประเทศพม่า) · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์

ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ - มุมมองจากที่จอดรถ ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ (မန္တလေး အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ လေဆိပ်), อยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ ไปทางตอนใต้ 35 กิโลเมตร เป็น 1 ใน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติของ ประเทศพม่า สร้างแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าขี้เหล็ก

ท่าขี้เหล็ก (တာချီလိတ်မြို့) เป็นเมืองชายแดนตั้งอยู่ในรัฐฉาน ทางตะวันออกของประเทศพม่า เป็นที่ตั้งศูนย์ราชการของเมืองท่าขี้เหล็ก และแขวงท่าขี้เหล็ก เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฉาน จากสำรวจสำมะโนประชากรเมื่อปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและท่าขี้เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

คุนหมิง

ทะเลสาบเตียนฉือ อาคารไม้เก่าแก่ กับตึกระฟ้าสมัยใหม่ที่อยู่เบื้องหลัง คลองในย่านใจกลางเมือง คุนหมิง เป็นเมืองเอกในมณฑลยูนนานในสาธารณรัฐประชาชนจีน มีจำนวนประชากรประมาณ 3,740,000 คน โดยมีประมาณ 1,055,000 คนที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลสาบเตียนฉือด้านทิศเหนือ เนื่องจากมีอากาศอบอุ่นตลอดทั้งปี จึงถูกขนานนามว่า "นครแห่งฤดูใบไม้ผลิ".

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและคุนหมิง · ดูเพิ่มเติม »

ตองอู

ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ตองจี

ตองจี (ไทใหญ่:, ต่องกฺยี๊; Taunggyi) เป็นเมืองหลวงของรัฐชานในประเทศพม่า ห่างจากอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 480 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนภูเขาสูง เนื้อที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร อากาศค่อนข้างเย็นตลอดปี เพราะที่นี่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,712 ฟุต ชื่อตองจีเป็นภาษาพม่า มาจากคำว่า ตอง หรือ ต่อง แปลว่า ภูเขา และ จี แปลว่า ใหญ่ ประชากรร้อยละ 95 นั้นเป็นชาวปะโอ (Pa-Oh).

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและตองจี · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตเว

ซิตตเว (စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557) เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและซิตตเว · ดูเพิ่มเติม »

ปยีนมะนา

ปยีนมะนา (ပျဉ်းမနား,; Pyinmana) เป็นเมืองแห่งการทำไม้และอ้อย ปยีนมะนาตั้งอยู่ใจกลางของเขตมัณฑะเลย์ของประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้ง อดีตเมืองหลวงทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร รัฐบาลพม่าได้ย้ายเมืองหลวงของประเทศมาตั้งที่พื้นที่สีเขียวทางทิศตะวันตกของตัวเมืองนี้ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ปยีนมะนามีชื่อเดิมว่า แหน่จ่าง, แหน่ฉ่าง และ นีงจาง สองชื่อแรกมีความหมายว่า ดินแดนละเว้น เนื่องจากในสมัยกษัตริย์นั้น หากมีการยกทัพทำศึก เมืองปยีนมะนาก็จะไม่อยู่ในเส้นทางเดินทัพ และหากมีการเก็บภาษีท้องที่ก็จะถูกละเว้นการเก็บส่วย ทั้งนี้เพราะบริเวณนั้นเต็มไปด้วยป่าทึบและชื้นแฉะ ส่วนชื่อสุดท้ายมีความหมายว่า สะพานข้าม เนื่องจากมีสะพานข้ามคลองที่ค้าขายกับเมืองหยั่วเก้าก์ยะ ต่อมาในสมัยอาณานิคม มีการเปลี่ยนชื่อ แหน่ฉ่าง หรือ นีงจาง มาเป็น ปยีนมะนา เนื่องจากเวลาที่สะกดชื่อเมืองนีงจางเป็นภาษาอังกฤษ มักจะสับสนกับชื่อเมืองมยีงฉั่ง เวลาส่งจดหมายก็มักจะสลับที่อยู่บ่อย ๆ ทำให้เสียเวลาและเสียงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาจึงเปลี่ยนจาก นีงจาง เป็น ปยีนมะนา แทน โดยเลือกจากชื่อหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ที่สุด คือ ลางปยีนมะนา ซึ่งพื้นที่นี้อยู่ห่างจากตัวเมืองปยีนมะนาปัจจุบันราว 5 ไมล์ เมืองปยีนมะนาแต่เดิมเคยเป็นฐานที่มั่นเก่าที่นายพลอองซาน บิดาของอองซาน ซูจี นำฝ่ายต่อต้านทำสงครามเอกราชต่อสู้กับการครอบครองของเจ้าอาณานิคมอังกฤษ และญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุที่รัฐบาลพม่าประกาศย้ายเมืองหลวงไม่แน่ชัดนัก สาเหตุที่เป็นไปได้อาจเป็นว่าปยีนมะนาได้เปรียบย่างกุ้งในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเล เพราะพม่ากลัวการรุกรานแบบเดียวกับที่สหรัฐอเมริกาบุกอิรัก สาเหตุประการอื่นคือปยีนมะนาอยู่ใจกลางประเทศ ทำให้ง่ายต่อการปกครอง และใกล้กับชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ทำให้สั่งการทางทหารได้ง่ายกว่า สาเหตุสุดท้ายคือเป็นคำแนะนำของโหรประจำตัวนายพลตาน ฉ่วย ผู้ครองอำนาจสูงสุดในพม่า มีกระแสข่าวออกมาว่าเมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่าที่ย้ายไปตั้งที่ทำการในบริเวณเมืองปยีนมะนานั้นจะใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ยานโลน (Yan Lon) อันมีความหมายว่า ปลอดภัยจากการต่อสู้ (Secure from Strife) นอกจากนั้นที่ตั้งแห่งใหม่นี้ยังทำบังเกอร์หลบภัยแน่นหนา ติดตั้งขีปนาวุธต่อสู้อากาศยานอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามภายหลัง รัฐบาลพม่าได้ขนานนามเมืองหลวงใหม่แห่งนั้นว่าเนปยีดอ.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและปยีนมะนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แปร

แปร หรือ ปยี (ပြည်) หรือ โปรม (Prome; ပြန်, ปรอน) เป็นเมืองในเขตหงสาวดีของประเทศพม่า ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 260 กิโลเมตร ในอดีต เมืองแปรเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีเกษตรของชนเผ่าปยูมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นศูนย์กลางการค้าเพราะอยู่เดินทางออกสู่ทะเลได้สะดวก.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและแปร · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เมะทีลา

มะทีลา (မိတ္ထီလာ) เป็นเมืองทางตอนกลางของประเทศพม่า อยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ตั้งอยู่ริมทะเลสาบเมะทีลา เป็นสถานที่ตั้งของกองทัพอากาศพม่า มหาวิทยาลัยวิศวกรรมการบินและอวกาศแห่งแรกของประเทศ อยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศใต้ 121 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเมะทีลา · ดูเพิ่มเติม »

เมาะลำเลิง

มาะลำเลิง หรือ มะละแหม่ง (မော်လမြိုင်) ในเอกสารเก่าของไทยเรียก เมืองพัน เป็นเมืองหลวงของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

เย (รัฐมอญ)

(ရေးမြို့; ဍုၚ်ရေဝ်) เป็นเมืองที่อยู่ทางตอนใต้สุดของรัฐมอญ ประเทศพม่า และเป็นเมืองหลักของตำบลเย เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเยซึ่งไหลลงสู่อ่าวเมาะตะมะ และล้อมรอบด้วยเทือกเขาตะนาวศรีทางตะวันออก สภาพภูมิอากาศอบอุ่นปานกลาง เศรษฐกิจของเมืองส่วนใหญ่อยู่กับการปลูกพลู, ยางพารา, การประมง และการค้า เยตั้งอยู่บนทางรถไฟสายเมาะลำเลิง-ทวาย และมีท่าเรือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมอญ เยเป็นศูนย์กลางของการสอนภาษามอญ.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเย (รัฐมอญ) · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เนปยีดอ

นปยีดอ (Naypyidaw หรือบางครั้งสะกดเป็น Nay Pyi Taw; နေပြည်တော်မြို့,, เหน่ ปหยี่ ด่อ) มีความหมายว่า "มหาราชธานี" p. 8, The Permanent Committee on Geographic Names (PCGN), United Kingdom หรือ "ที่อยู่ของกษัตริย์" เป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางการบริหารของประเทศพม่า ห่างจากย่างกุ้งซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าราว 320 กิโลเมตร ปัจจุบันเนปยีดอเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สามของประเทศรองจากย่างกุ้งและมัณฑะเลย์ และเป็นหนึ่งในสิบเมืองเติบโตเร็วที่สุดในโลก เนปยีดอตั้งอยู่ในหมู่บ้านจะปยี (Kyetpyay) ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองปยินมะนา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย์ เชื่อว่าเหตุผลการย้ายเมืองหลวงมาจากคำทำนายของโหรของพลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย รวมถึงเชื่อว่าอาจจะเป็นการฟื้นฟูธรรมเนียมประเพณีเก่าของพม่าสมัยราชาธิปไตย สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยรอบ เมืองนี้อยู่ห่างย่างกุ้งไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร ปัจจุบันกรุงเนปยีดอมีการพัฒนาถนนทางหลวงหมายเลข 8 เพื่อเชื่อมต่อกับย่างกุ้ง มีโครงการสร้างสถานีรถไฟขึ้นอีก 1 แห่งในเนปยีดอ ถัดจากสถานีในปยินมะนาที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: การขนส่งในประเทศพม่าและเนปยีดอ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »