สารบัญ
1 ความสัมพันธ์: อาหาร
- ท่าของมนุษย์
- สรีรวิทยา
- อาหารและเครื่องดื่ม
- โภชนาการ
อาหาร
อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".
ดูเพิ่มเติม
ท่าของมนุษย์
สรีรวิทยา
- การกิน
- การขับถ่าย
- การถ่ายโอนความรู้สึก
- การสมานแผล
- จุลธาตุ
- ตัวทำการ
- ภาวะตัวเย็นเกิน
- ภาวะธำรงดุล
- ภาวะไข้สูง
- สรีรวิทยา
- สรีรวิทยาระบบนิเวศ
- สารต้านอนุมูลอิสระ
- องค์ประกอบร่างกาย
- อาการจาม
- ฮอร์โมน
- แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ
- ไลโพโปรตีน
อาหารและเครื่องดื่ม
- การกิน
- อาหาร
- เครื่องดื่ม
- ไวน์
โภชนาการ
- กรดลอริก
- กรดอะมิโนจำเป็น
- กรดไขมันอิ่มตัว
- กลูเตน
- กลูโคส
- การกิน
- การวิเคราะห์อาหาร
- กาแล็กโทส
- คอเลสเตอรอล
- คาร์โบไฮเดรต
- จุลธาตุ
- ฟรักโทส
- ฟลาโวนอยด์
- ภาวะขาดน้ำ
- วิตามิน
- สารพฤกษเคมี
- สารอาหาร
- เส้นใยอาหาร
- แทนนิน
- แป้ง (สารอาหาร)
- โภชนาการ
- โรคอ้วน
- โอลิโกแซ็กคาไรด์
- ไกลโคเจน
- ไขมันทรานส์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ การกินอาหารการรับประทานอาหารกินรับประทาน