สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนกาลิเลโอ กาลิเลอียัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญรอเบิร์ต ฮุกอันโตนี ฟัน เลเวินฮุกจุลทรรศนศาสตร์ทฤษฎีเซลล์แอนสท์ รัสกาโพรโทพลาสซึมโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)เลนส์เซลล์
- จุลทรรศนศาสตร์
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
transmission electron microscope (TEM)) กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนของซีเมนส์รุ่นปี 1973 ใน Musée des Arts et Métiers, กรุงปารีส กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นชนิดของกล้องจุลทรรศน์แบบหนึ่งที่ใช้อิเล็กตรอนที่ถูกเร่งความเร็วเป็นแหล่งที่มาของการส่องสว่าง เนื่องจากอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่นสั้นกว่าโฟตอนของแสงที่มนุษย์มองเห็นได้ถึง 100,000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจึงมีกำลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและสามารถเปิดเผยให้เห็นโครงสร้างของวัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆได้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านสามารถให้รายละเอียดได้สูงถึง 50 picometre และมีกำลังการขยายได้ถึงประมาณ 10,000,000 เท่า ขณะที่ส่วนใหญ่ของกล้องจุลทรรศน์แบบแสงจะถูกจำกัดโดยการเลี้ยวเบนของแสงที่ให้ความละเอียดประมาณ 200 นาโนเมตรและกำลังขยายที่ใชการได้ต่ำกว่า 2000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านใช้เลนส์ไฟฟ้าสถิตและแม่เหล็กไฟฟ้า (electrostatic and electromagnetic lenses) ในการควบคุมลำแสงอิเล็กตรอนและโฟกัสมันเพื่อสร้างเป้นภาพ เลนส์แสงอิเล็กตรอนเหล่านี้เปรียบเทียบได้กับเลนส์แก้วของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงออปติคอล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนถูกนำไปใช้ในการตรวจสอบโครงสร้างขนาดเล็กมากๆของตัวอย่างทางชีวภาพและอนินทรีที่หลากหลายรวมทั้งจุลินทรีย์ เซลล์ชีวะ โมเลกุลขนาดใหญ่ ตัวอย่างชิ้นเนื้อ โลหะ และคริสตัล ด้านอุตสาหกรรมกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมักจะใช้สำหรับการควบคุมคุณภาพและการวิเคราะห์ความล้มเหลว กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ทันสมัยสามารถผลิตภาพถ่ายขนาดจิ๋วแบบอิเล็กตรอน (electron micrograph) โดยใช้กล้องดิจิตอลแบบพิเศษหรือ frame grabber (อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกที่ใช้จับภาพนิ่งจากสัญญาณวิดีโอแอนะลอกหรือดิจิตอล) ในการจั.
ดู กล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
กาลิเลโอ กาลิเลอี
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642) เป็นชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"Weidhorn, Manfred (2005).
ดู กล้องจุลทรรศน์และกาลิเลโอ กาลิเลอี
ยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
ัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ (Jan Evangelista Purkyně,; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1787 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1869) หรือ โยฮันน์ เอวังเกลิสท์ พูร์คินเยอ (Johann Evangelist Purkinje) เป็นนักกายวิภาคศาสตร์และนักสรีรวิทยาชาวเช็ก.
ดู กล้องจุลทรรศน์และยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
รอเบิร์ต ฮุก
รเบิร์ต ฮุค โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke; 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2178 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2246) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษเจ้าของคำพูดที่ว่า “ความจริงเท่านั้นที่รู้” เป็นผู้ได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องพบเซลล์ในจุกไม้คอร์ก และอีกไม่นานก็พบในเนื้อเยื่อพืชที่ยังมีชีวิต เขาเป็นผู้บัญญัติคำว่า "เซลล์" ขึ้นเป็นครั้งแรก ฮุคได้ค้นพบกฎของฮุคว่าด้วยเรื่องความยืดหยุ่นและแรงเครียดในสปริง เขาได้พัฒนาสปริงสมดุล (hairspring) ขึ้น ซึ่งต่อมานำไปใช้ในการประดิษฐ์นาฬิกา เพื่อให้ได้ความเที่ยงตรงดีพอจะยอมรับได้ ปี..
ดู กล้องจุลทรรศน์และรอเบิร์ต ฮุก
อันโตนี ฟัน เลเวินฮุก
อันโตนี ฟีลิปส์ ฟัน เลเวินฮุก (Antonie Philips van Leeuwenhoek; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1632 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1723) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งวิชาจุลชีววิทยา" และถือว่าเป็นนักจุลชีววิทยาคนแรก เขามีชื่อเสียงจากการพัฒนากล้องจุลทรรศน์ และมีส่วนสำคัญในการก่อตั้งสาขาวิชาจุลชีววิทยา เขาเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นและสามารถบรรยายองค์ประกอบของเซลล์โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์ของเขาที่สร้างขึ้นด้วยมือ นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่บันทึกผลสังเกตเส้นใยของกล้ามเนื้อ, แบคทีเรีย, เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ และการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ฟัน เลเวินฮุกไม่ได้เขียนหนังสือใดเป็นจริงเป็นจัง แต่เขียนจดหมายเอาไว้มาก เขามีบุตร 6 คน โดยมีบุตรกับภรรยาคนแรก บาร์บารา เดอ ไม 5 คน นางเสียชีวิตในปี..
ดู กล้องจุลทรรศน์และอันโตนี ฟัน เลเวินฮุก
จุลทรรศนศาสตร์
มการศึกษาวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก เช่น วัตถุที่อยู่ไกล วัตถุที่อยู่สูง เป็นต้น ใช้เพียงแว่นขยายและเลนส์อันเดียวส่องดู เช่นเดียวกับการใช้แว่นขยายส่องดูลายมือ ช่วงปี..
ดู กล้องจุลทรรศน์และจุลทรรศนศาสตร์
ทฤษฎีเซลล์
ทฤษฎีเซลล์ ในวิชาชีววิทยา เป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่อธิบายคุณสมบัติของเซลล์ หน่วยโครงสร้างพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด การพัฒนาทฤษฎีเซลล์ช่วงต้น ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาศัยความก้าวหน้าของจุลทรรศนศาสตร์ ทฤษฎีเซลล์เป็นหนึ่งในรากฐานของวิชาชีววิทยา ทฤษฎีเซลล์อธิบายได้ดังนี้.
ดู กล้องจุลทรรศน์และทฤษฎีเซลล์
แอนสท์ รัสกา
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่สร้างโดยรัสกาในปี ค.ศ. 1933 แอนสท์ เอากุสต์ ฟรีดริช รัสกา (Ernst August Friedrich Ruska; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1906 – 27 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู กล้องจุลทรรศน์และแอนสท์ รัสกา
โพรโทพลาสซึม
รโทพลาสซึม (protoplasm) เป็นสารกึ่งของเหลวอยู่ภายในของเซลล์ทั้งหมด ซึ่งประกอปด้วย นิวเคลียส (Nucleus) และ ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) มีความหนืด โปร่งแสง ไม่มีสี ถูกห่อหุ้มด้วยผนังเซลล์ หากเป็นของพืชจะมีคลอโรพลาสต์(Chloroplast) รวมอยู่ด้วย เมื่ออยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมจะแสดงคุณสมบัติการมีชีวิตได้.
ดู กล้องจุลทรรศน์และโพรโทพลาสซึม
โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
รเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown; FRS; 21 ธันวาคม ค.ศ. 1773 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1858) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสก๊อตผู้มีบทบาทสำคัญในวิชาพฤกษศาสตร์อันเนื่องมาจากงานบุกเบิกในการใช้งานกล้องจุลทรรศน์ ผลงานของเขารวมไปถึงการค้นพบนิวเคลียสของเซลล์ และ cytoplasmic streaming, การค้นพบการเคลื่อนที่ของบราวน์ และเป็นผู้แรกที่ตระหนักถึงความแตกต่างในระดับพื้นฐานระหว่าง gymnosperms กับ angiosperms เขายังมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤกษอนุกรมวิธาน รวมถึงชื่อตระกูลของพืชจำนวนมากซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน.
ดู กล้องจุลทรรศน์และโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
เลนส์
ลนส์ จากภาษาอังกฤษ lens อาจหมายถึง.
เซลล์
ป็นสิ่งสวยงามเซล เซลล์ เซลส์ หรือ เซลล์ส เป็นคำที่เขียนทับศัพท์มาจากคำในภาษาอังกฤษ cell, cel, Cells, sale หรือ Zales; cell: หมายถึงหน่วยย่อยที่มีการกั้นขอบเขต (หรือห้อง) โดยทั่วไปเซลล์จะเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอื่น ๆ ที่ใหญ่กว่า ความหมายขึ้นอยู่กับบริบท.
ดูเพิ่มเติม
จุลทรรศนศาสตร์
- กล้องจุลทรรศน์
- การทดลองเชิงโมเลกุลเดี่ยว
- การย้อมสีกรัม
- จุลชีววิทยา
- จุลทรรศนศาสตร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Microscopeกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง🔬