สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: กาลิเลโอ กาลิเลอียัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญรอเบิร์ต ฮุกอันโตนี ฟัน เลเวินฮุกทฤษฎีเซลล์แอนสท์ รัสกาโพรโทพลาสซึมโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)เซลล์
- อุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ
- เทคนิคจุลชีววิทยา
- เทคนิคทางห้องปฏิบัติการ
กาลิเลโอ กาลิเลอี
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642) เป็นชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"Weidhorn, Manfred (2005).
ดู จุลทรรศนศาสตร์และกาลิเลโอ กาลิเลอี
ยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
ัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ (Jan Evangelista Purkyně,; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1787 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1869) หรือ โยฮันน์ เอวังเกลิสท์ พูร์คินเยอ (Johann Evangelist Purkinje) เป็นนักกายวิภาคศาสตร์และนักสรีรวิทยาชาวเช็ก.
ดู จุลทรรศนศาสตร์และยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
รอเบิร์ต ฮุก
รเบิร์ต ฮุค โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke; 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2178 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2246) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษเจ้าของคำพูดที่ว่า “ความจริงเท่านั้นที่รู้” เป็นผู้ได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องพบเซลล์ในจุกไม้คอร์ก และอีกไม่นานก็พบในเนื้อเยื่อพืชที่ยังมีชีวิต เขาเป็นผู้บัญญัติคำว่า "เซลล์" ขึ้นเป็นครั้งแรก ฮุคได้ค้นพบกฎของฮุคว่าด้วยเรื่องความยืดหยุ่นและแรงเครียดในสปริง เขาได้พัฒนาสปริงสมดุล (hairspring) ขึ้น ซึ่งต่อมานำไปใช้ในการประดิษฐ์นาฬิกา เพื่อให้ได้ความเที่ยงตรงดีพอจะยอมรับได้ ปี..
ดู จุลทรรศนศาสตร์และรอเบิร์ต ฮุก
อันโตนี ฟัน เลเวินฮุก
อันโตนี ฟีลิปส์ ฟัน เลเวินฮุก (Antonie Philips van Leeuwenhoek; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1632 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1723) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งวิชาจุลชีววิทยา" และถือว่าเป็นนักจุลชีววิทยาคนแรก เขามีชื่อเสียงจากการพัฒนากล้องจุลทรรศน์ และมีส่วนสำคัญในการก่อตั้งสาขาวิชาจุลชีววิทยา เขาเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นและสามารถบรรยายองค์ประกอบของเซลล์โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์ของเขาที่สร้างขึ้นด้วยมือ นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่บันทึกผลสังเกตเส้นใยของกล้ามเนื้อ, แบคทีเรีย, เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ และการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ฟัน เลเวินฮุกไม่ได้เขียนหนังสือใดเป็นจริงเป็นจัง แต่เขียนจดหมายเอาไว้มาก เขามีบุตร 6 คน โดยมีบุตรกับภรรยาคนแรก บาร์บารา เดอ ไม 5 คน นางเสียชีวิตในปี..
ดู จุลทรรศนศาสตร์และอันโตนี ฟัน เลเวินฮุก
ทฤษฎีเซลล์
ทฤษฎีเซลล์ ในวิชาชีววิทยา เป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่อธิบายคุณสมบัติของเซลล์ หน่วยโครงสร้างพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด การพัฒนาทฤษฎีเซลล์ช่วงต้น ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาศัยความก้าวหน้าของจุลทรรศนศาสตร์ ทฤษฎีเซลล์เป็นหนึ่งในรากฐานของวิชาชีววิทยา ทฤษฎีเซลล์อธิบายได้ดังนี้.
ดู จุลทรรศนศาสตร์และทฤษฎีเซลล์
แอนสท์ รัสกา
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่สร้างโดยรัสกาในปี ค.ศ. 1933 แอนสท์ เอากุสต์ ฟรีดริช รัสกา (Ernst August Friedrich Ruska; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1906 – 27 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู จุลทรรศนศาสตร์และแอนสท์ รัสกา
โพรโทพลาสซึม
รโทพลาสซึม (protoplasm) เป็นสารกึ่งของเหลวอยู่ภายในของเซลล์ทั้งหมด ซึ่งประกอปด้วย นิวเคลียส (Nucleus) และ ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) มีความหนืด โปร่งแสง ไม่มีสี ถูกห่อหุ้มด้วยผนังเซลล์ หากเป็นของพืชจะมีคลอโรพลาสต์(Chloroplast) รวมอยู่ด้วย เมื่ออยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมจะแสดงคุณสมบัติการมีชีวิตได้.
ดู จุลทรรศนศาสตร์และโพรโทพลาสซึม
โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
รเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown; FRS; 21 ธันวาคม ค.ศ. 1773 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1858) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสก๊อตผู้มีบทบาทสำคัญในวิชาพฤกษศาสตร์อันเนื่องมาจากงานบุกเบิกในการใช้งานกล้องจุลทรรศน์ ผลงานของเขารวมไปถึงการค้นพบนิวเคลียสของเซลล์ และ cytoplasmic streaming, การค้นพบการเคลื่อนที่ของบราวน์ และเป็นผู้แรกที่ตระหนักถึงความแตกต่างในระดับพื้นฐานระหว่าง gymnosperms กับ angiosperms เขายังมีส่วนสำคัญในการกำหนดพฤกษอนุกรมวิธาน รวมถึงชื่อตระกูลของพืชจำนวนมากซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน.
ดู จุลทรรศนศาสตร์และโรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
เซลล์
ป็นสิ่งสวยงามเซล เซลล์ เซลส์ หรือ เซลล์ส เป็นคำที่เขียนทับศัพท์มาจากคำในภาษาอังกฤษ cell, cel, Cells, sale หรือ Zales; cell: หมายถึงหน่วยย่อยที่มีการกั้นขอบเขต (หรือห้อง) โดยทั่วไปเซลล์จะเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอื่น ๆ ที่ใหญ่กว่า ความหมายขึ้นอยู่กับบริบท.
ดูเพิ่มเติม
อุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ
- ครก
- จมูกอิเล็กทรอนิกส์
- จุลทรรศนศาสตร์
- ตะเกียงบุนเซิน
- บิวเรตต์
- ห้องสุญญากาศ
- ออสซิลโลสโคป
- เครื่องปั่น
- แคลอรีมิเตอร์
- ไฮโดรมิเตอร์
เทคนิคจุลชีววิทยา
- การหมักเชิงอุตสาหกรรม
- การเปลี่ยนโครงรูป
- จุลทรรศนศาสตร์