สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: กระดูกหูกระดูกทั่งสัตว์เลื้อยคลานสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหูชั้นกลาง
- ระบบการได้ยิน
- หู
- โสตวิทยา
- โสตศอนาสิกวิทยา
กระดูกหู
กระดูกหู (ossicles หรือ auditory ossicles) เป็นกระดูกขนาดเล็ก 3 ชิ้นในร่างกายมนุษย์ ซึ่งอยู่ภายในช่องว่างในหูชั้นกลาง ทำหน้าที่ในการส่งผ่านเสียงจากอากาศไปยังห้องหูชั้นใน (labyrinth) ที่บรรจุไปด้วยของเหลว (อวัยวะรูปหอยโข่ง (cochlea)) หากไม่มีกระดูกหูจะทำให้เกิดภาวะสูญเสียการได้ยินระดับกลางหรือระดับรุนแรง.
กระดูกทั่ง
กระดูกทั่ง (Incus or anvil) เป็นกระดูกหูขนาดเล็กที่อยู่ในหูชั้นกลาง มีรูปร่างเหมือนทั่ง เชื่อมต่อกับกระดูกค้อน (malleus) และกระดูกโกลน (stapes) กระดูกชิ้นนี้ค้นพบครั้งแรกโดย Alessandro Achillin of Bologna กระดูกทั่งทำหน้าที่ส่งผ่านการสั่นสะเทือนจากกระดูกค้อนไปยังกระดูกโกลน กระดูกนี้พบเฉพาะในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และวิวัฒนาการมาจากกระดูกขากรรไกรบนของสัตว์เลื้อยคลานเรียกว่า กระดูกควอเดรต (quadrate bone).
สัตว์เลื้อยคลาน
ัตว์เลื้อยคลาน (reptile) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Reptilia มาจากคำว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิดชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 364 กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ำและบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุ่งชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว ในยุคจูแรสซิกที่อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน.
ดู กระดูกค้อนและสัตว์เลื้อยคลาน
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.
ดู กระดูกค้อนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
หูชั้นกลาง
หูชั้นกลาง (middle ear, auris media) คือหูส่วนที่อยู่หลังแก้วหู แต่ก่อนช่องรูปไข่ (oval window) ของหูชั้นใน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หูชั้นกลางจะมีกระดูกหู (ossicles) เล็ก ๆ 3 ท่อน ซึ่งถ่ายโอนแรงสั่นที่แก้วหูไปเป็นคลื่นภายในหูชั้นใน ช่องในหูชั้นกลางเรียกว่า โพรงหูส่วนกลาง (tympanic cavity) โดยมีท่อยูสเตเชียน เชื่อมกับคอหอยส่วนจมูก (nasopharynx) ท่อยูสเตเชียนจะช่วยรักษาดุลความดันระหว่างหูชั้นกลางและคอ หน้าที่หลักของหูชั้นกลางก็คือถ่ายโอนพลังงานเสียงจากคลื่นในอากาศไปเป็นคลื่นในน้ำและในเยื่อของหูชั้นในรูปหอยโข่ง (คอเคลีย).
ดูเพิ่มเติม
ระบบการได้ยิน
- Stereocilia
- กระดูกค้อน
- กระดูกทั่ง
- กระดูกหู
- กระดูกโกลน
- การได้ยิน
- คิโนซีเลียม
- ช่องรูปกลม
- ช่องรูปไข่
- นักโสตสัมผัสวิทยา
- ระบบการได้ยิน
- วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- วิวัฒนาการของคอเคลีย
- สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง
- หู
- หูชั้นกลาง
- หูชั้นใน
- หูชั้นในรูปหอยโข่ง
- อวัยวะของคอร์ติ
- เซลล์ขน
- เยื่อกั้นหูชั้นใน
- เยื่อห้องหูชั้นใน
- ใยเชื่อมปลาย
หู
- Ductus reuniens
- กระดูกค้อน
- กระดูกทั่ง
- กระดูกหู
- กระดูกห้องหูชั้นใน
- กระดูกโกลน
- ขี้หู
- ช่องรูปกลม
- ช่องรูปไข่
- ติ่งหู
- ท่อหู
- หลอดกึ่งวงกลม
- หู
- หูชั้นกลาง
- หูชั้นในรูปหอยโข่ง
- อวัยวะของคอร์ติ
- เยื่อคลุม
- เยื่อห้องหูชั้นใน
- ไม้แคะหู
โสตวิทยา
- Auditory brainstem response
- กระดูกขมับ
- กระดูกค้อน
- กระดูกทั่ง
- กระดูกหู
- กระดูกโกลน
- การขยายเสียงของคอเคลีย
- ท่อหู
- นักโสตสัมผัสวิทยา
- พิสัยการได้ยิน
- วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- วิวัฒนาการของคอเคลีย
- หลอดกึ่งวงกลม
- หูชั้นกลาง
- หูชั้นกลางอักเสบ
- หูชั้นใน
- หูชั้นในรูปหอยโข่ง
- อวัยวะของคอร์ติ
- แก้วหูทะลุ
- โรคเมนิแยร์
โสตศอนาสิกวิทยา
- กระดูกขมับ
- กระดูกค้อน
- กระดูกทั่ง
- กระดูกสฟีนอยด์
- กระดูกหู
- กระดูกเอทมอยด์
- กระดูกโกลน
- กระดูกไฮออยด์
- กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น
- กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์
- กล้ามเนื้อออกซิปิตาลิส
- การเจาะคอ
- การใส่ท่อช่วยหายใจ
- คอหอย
- คอหอยอักเสบ
- จูกูลาร์ โพรเซส
- ช่องกกหู
- ช่องคอ
- ทอนซิลอักเสบ
- ท่อหู
- ปากแหว่งเพดานโหว่
- ป่องรู้กลิ่น
- ผนังกั้นโพรงจมูก
- ฝากล่องเสียงอักเสบ
- ฝีรอบทอนซิล
- พาลาทีน ทอนซิล
- รูจมูก
- ศัลยศาสตร์ตกแต่งและเสริมสร้าง
- หลอดกึ่งวงกลม
- หูชั้นกลาง
- หูชั้นกลางอักเสบ
- หูชั้นใน
- หูชั้นในรูปหอยโข่ง
- อัมพาตแบบเบลล์
- เยื่อจมูกอักเสบ
- เยื่อบุผิวรับกลิ่น
- เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา
- เส้นประสาทตา
- เส้นประสาทรับกลิ่น
- เส้นประสาทเฟเชียล
- เส้นประสาทเฟเชียลเป็นอัมพาต
- เส้นประสาทไทรเจมินัล
- แก้วหูทะลุ
- โพรงอากาศหน้าผาก
- โรคเมนิแยร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Malleus