โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก

ดัชนี โยฮันน์ กูเทนแบร์ก

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก (Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg (ค.ศ. 1398 – 3 ก.พ. ค.ศ. 1468) ช่างเหล็กและนักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ในช่วงราวคริสศตวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และแท่นพิมพ์แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำไวน์ กูเตนแบร์กได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป กูเตนแบร์กเกิดที่เมืองไมนซ์ ในประเทศเยอรมนี โดยเป็นบุตรชายของพ่อค้าชื่อ Friele Gensfleisch zur Laden ซึ่งต่อมาได้รับเอาชื่อ "zum Gutenberg" ซึ่งเป็นชื่อของบริเวณที่ครอบครัวของเขาย้ายเข้าไปอยู่อาศัย มาใช้เป็นนามสกุล หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1941 หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน.

18 ความสัมพันธ์: ชาวเยอรมันพ.ศ. 1941พ.ศ. 1997พ.ศ. 2010การพิมพ์การพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยวกูเทนเบิร์กมหาวิทยาลัยไมนซ์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาหอสมุดประชาชนนิวยอร์กอักษรตัวใหญ่จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีปฏิทินคงที่สากลประวัติศาสตร์โลกโครงการกูเทนแบร์กเฟาสต์23 กุมภาพันธ์3 กุมภาพันธ์

ชาวเยอรมัน

วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและชาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1941

ทธศักราช 1941 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและพ.ศ. 1941 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1997

ทธศักราช 1997 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและพ.ศ. 1997 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2010

ทธศักราช 2010 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและพ.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

การพิมพ์

การพิมพ์หนังสือในศตวรรษที่ 15 การพิมพ์ (Printing; Imprimerie) คือการผลิตสำเนาข้อความและภาพลงบนวัสดุที่ต้องการพิมพ์ เช่น กระดาษ ผ้า ตามความหมายในพระราชบัญญัติการพิม..

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและการพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

การพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยว

การพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยว (Rotary printing press) เป็นเทคนิคการพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งใช้ลูกกลิ้งประกอบด้วยภาพกลับด้านเป็นแม่พิมพ์ แม่พิมพ์จะรับหมึกก่อนนำมากลิ้งลงบนกระดาษ ทำนองเดียวกับการพิมพ์แบบประทับอักษรหรือตราประทับ การพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยวต่างจากการพิมพ์ลูกกลิ้งคู่ตรงที่การพิมพ์ลูกกลิ้งคู่ แม่พิมพ์จะไม่ใช้ภาพกลับด้าน ทำให้ต้องมีลูกกลิ้งยางรับหมึกกลับด้านจากแม่พิมพ์เพื่อนำไปถ่ายทอดลงบนกระดาษ การพิมพ์ลูกกลิ้งเดียวตามที่มีหลักฐานนั้น วิลเลียม นิโคลสัน (พ.ศ. 2333) เป็นผู้จดสิทธิบัตรคนแรก แต่เครื่องพิมพ์ดังกล่าวยังใช้คนหมุนอยู่ ต่อมาฟรีดริช เคอนิก (พ.ศ. 2354) พัฒนาเครื่องพิมพ์ของโยฮันน์ กูเทนแบร์กให้เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่แม่พิมพ์หมุนได้ด้วยกำลังไอน้ำ ทำให้สามารถพิมพ์กระดาษที่ใหญ่ขึ้นได้ ต่อมาริชาร์ด มาร์ช โฮ พัฒนาเครื่องพิมพ์ให้มีหลายลูกกลิ้งในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและการพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

กูเทนเบิร์ก

กูเทนเบิร์ก หรือ กูเตนเบิร์ก (Guttenberg) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและกูเทนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไมนซ์

มหาวิทยาลัยไมนซ์ (University of Mainz; Johannes Gutenberg-Universität Mainz) หรือชื่อเต็มว่า มหาวิทยาลัยโยฮันเนสกูเทนแบร์กแห่งไมนซ์ (Johannes Gutenberg University of Mainz) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในเมืองไมนซ์ รัฐไรน์ลันด์-พฟัลซ์ ประเทศเยอรมนี โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในเยอรมนีที่มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและมหาวิทยาลัยไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดประชาชนนิวยอร์ก

หอสมุดประชาชนนิวยอร์ก (New York Public Library (NYPL)) คือ หอสมุดสาธารณะในนครนิวยอร์ก ด้วยหนังสือเกือบ 53 ล้านเล่ม หอสมุดแห่งนี้มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของสหรัฐอเมริกา (และอันดับ 3 ของโลก) รองจากหอสมุดรัฐสภา หอสมุดมีการบริหารจัดการอย่างเป็นอิสระ และดำเนินการโดยไม่แสวงหาผลกำไร หอสมุดมีสาขาในเขต (Borough) แมนแฮตตัน, เดอะบร็องซ์ และเกาะสแตเทน โดยมีการเข้าร่วมกับหอสมุดทางวิชาการ (academic libraries) และวิชาชีพ (professional libraries) ในเขตรัฐนิวยอร์ก ส่วนเมืองอื่น ๆ ใน 2 เขตของนครนิวยอร์ก ได้แก่ บรุกลิน และควีนส์ มีการให้บริการโดยหอสมุดสาธารณะบรุกลินส์ และหอสมุดควีนส์ สาขาของหอสมุดประกอบด้วยหอสมุดวิจัย (research libraries) และหอสมุดที่ยืมหนังสือได้ (Lending libraries) หอสมุดดำเนินงานในศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นศูนย์รวมหนังสือจากที่ต่าง ๆ รวมถึงเป็นแหล่งสังคมของผู้รักหนังสือ (bibliophiles) และผู้มั่งคั่ง โดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิและชาวอเมริกันที่ร่ำรวยในแต่ละยุคสมั.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและหอสมุดประชาชนนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตัวใหญ่

การเก็บตัวพิมพ์แยกระหว่างตัวใหญ่กับตัวเล็ก อักษรกรีก บีตา ตัวใหญ่อยู่ทางซ้าย อักษรตัวใหญ่ (อังกฤษ: capital letter, majuscule) คือกลุ่มของอักษรประเภทหนึ่งในระบบการเขียน เช่นในอักษรละติน: A, B, C, D,...

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและอักษรตัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินคงที่สากล

ปฏิทินคงที่สากล (International Fixed Calendar) หรือชื่ออื่นว่า แผนคอตส์เวิร์ธ แผนอีสต์แมน ปฏิทินสิบสามเดือน หรือ ปฏิทินเดือนเท่า (Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบสุริยคติ ออกแบบโดยโมเสส บี.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและปฏิทินคงที่สากล · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

โครงการกูเทนแบร์ก

รงการกูเทนแบร์ก (Project Gutenberg หรือเรียกชื่อย่อว่า PG) เป็นโครงการอาสาสมัครเพื่อการแปรงานทางวัฒนธรรมเช่นงานวรรณกรรมเป็นดิจิทัลเพื่อการเก็บรักษาและเผยแพร่แก่สาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1971 โดยไมเคิล เอส ฮาร์ท (Michael S. Hart) และเป็นห้องสมุดดิจิทัลที่เก่าที่สุด สื่อที่สะสมเป็นหนังสือทั้งเล่ม (full text) ที่ลิขสิทธิ์หมดอายุและเป็นสมบัติของสาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กพยายามทำให้สาธารณชนสามารถใช้หนังสือเหล่านี้โดยไม่ต้องเสียเงินเท่าที่จะทำได้ และในรูปแบบที่ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป (open format) ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 โครงการกูเทนแบร์กกล่าวว่ามีสื่อกว่า 24,000 สื่อในโครงการ โครงการกูเทนแบร์กเกี่ยวข้องกับโครงการอื่นๆ ที่เป็นองค์การอิสระอีกหลายโครงการที่มีจุดประสงค์คล้ายคลึงกันและได้รับอนุญาตให้ใช้ตรา “Project Gutenberg” ถ้าเป็นไปได้ หนังสือหรือสื่อของโครงการกูเทนแบร์กจะเป็นเนื้อหาที่ไม่มีรูปแบบ (plain text) แต่รูปแบบอื่นก็มีให้เช่น HTML หนังสือหรือสื่อส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษแต่ก็มีบ้างที่เป็นภาษาอื่น โครงการมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ โครงการผู้ตรวจสอบ (Distributed Proofreaders หรือเรียกชื่อย่อว่า DP) ซึ่งเป็นกลุ่มอาสาสมัครอินเทอร์เน็ตที่ช่วยตรวจสอบหนังสือและสือก่อนที่จะเผยแพร่แก่สาธารณชนในโครงการกูเทนแบร์ก.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและโครงการกูเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เฟาสต์

วาดในปี 1925 แสดงภาพเฟาสต์ และเมฟิสโตฟิลีส จากเฟาสต์ฉบับของเกอเธอ ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นภาพของนายแพทย์โยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ ต้นแบบของเฟาสต์ เฟาสต์ (Faust) หรือ เฟาสตุส (Faustus) เป็นตัวเอกในตำนานโศกนาฏกรรมของเยอรมัน เกี่ยวกับชายที่ขายวิญญาณให้ปิศาจเมฟิสโตฟิลีส (Mephistopheles) เพื่อแลกกับความรู้ ได้รับการดัดแปลงเป็นวรรณกรรม บทละคร ภาพเขียน และงานดนตรี เป็นจำนวนมาก ที่มาของตัวละครเฟาสต์ สันนิษฐานว่ามาจากเรื่องราวของโยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ (ค.ศ. 1480–1540) นักเล่นแร่แปรธาตุและนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน หรืออาจมาจากเรื่องราวของโยฮันน์ ฟุสต์ (ค.ศ. 1400-1466) จิตรกรเยอรมัน เพื่อนสนิทของโยฮันน์ กูเทนแบร์ก (ค.ศ. 1398–1468) นักประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียง ตำนานของเฟาสต์นั้นบันทึกเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและเฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โยฮันน์ กูเทนแบร์กและ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Johann GutenbergJohannes Gutenbergโยฮัน กูเตนแบร์ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »