โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ดัชนี สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

378 ความสัมพันธ์: บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)บรอนซีโนบริเวณกลางโบสถ์ชัฟเฮาเซินบัญญัติตะวันตกบันไดสเปนบาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์บาคคัส (คาราวัจโจ)บานพับภาพบานพับภาพเปรูเจียชุบชีวิตลาซารัส (คาราวัจโจ)ชีปีโอเน บอร์เกเซฟรันเชสโก เดล กอสซาฟราอันเจลีโกฟร็องซิส ปีกาบียาฟลอเรนซ์ฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 4 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์ฟีลิปโป บรูเนลเลสกีฟีลิปโป ลิปปีฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์มพ.ศ. 1847พ.ศ. 1917พ.ศ. 2028พระราชวังสนามจันทร์พระคริสต์ทรงพระสิริพระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)พระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (แวร์รอกกีโอ)พระคัมภีร์คนยากพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์พระนางพรหมจารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (ทิเชียน)พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (มาซัชโช)พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี)พระแม่มารีบนระเบียง (บอตติเชลลี)พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้ายพระแม่มารีอัลบาพระแม่มารีคอนเนสตาบิเลพระแม่มารีคาลเตลฟรังโค (จอร์โจเน)พระแม่มารีแห่งพาร์โตพระแม่มารีแห่งภูผาพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)พระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)พระแม่มารีเบนัวส์พระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล)พฤกษาพักตร์พายุ (จอร์โจเน)พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บพิธีมิสซาที่บอลเซนาพิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ (ห้องราฟาเอล)กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล...กวัตโตรเชนโตกษัตริย์อาเธอร์กอปโป ดี มาร์โกวัลโดกามีย์ ปีซาโรกายวิภาคศาสตร์มนุษย์การบวกการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีนการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาการพบปะที่ทุ่งภูษาทองการพิสูจน์โดยไฟของโมเสส (จอร์โจเน)การสวดมนต์ของนักบุญสตีเฟน (ฟราอันเจลิโค)การสงครามสมัยใหม่ตอนต้นการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขนการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (บรอนซีโน)การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก)การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดการข่มขืนสตรีชาวซาบีนการคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)การคืนพระชนม์ของพระคริสต์ (ราฟาเอล)การปฏิวัติวิทยาศาสตร์การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)การประสูติของพระเยซู (คอร์เรจจิโอ)การปลดปล่อยนักบุญเปโตร (ราฟาเอล)การนมัสการของโหราจารย์ (บอตตีเชลลี)การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนการโต้แย้งเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิลการเสด็จเยี่ยม (ราฟาเอล)กาตาเนียกาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินกำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)กำเนิดวีนัส (ทิเชียน)ฐานฉากแท่นบูชาภาพเหมือนผู้อุทิศภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี)ภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ)ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา)ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากาภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโดภาพเหมือนตนเองภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์)ภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)ภาษาบาเลนเซียภูเขาพาร์แนสซัส (ราฟาเอล)มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ)มหาวิหารนักบุญเปโตรมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยไมนซ์มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมมัททีอัส กรือเนวัลด์มาร์ติน ลูเทอร์มาร์ติน โชนเกาเออร์มาร์ซีลีโอ ฟีชีโนมาซัชโชมาโซลีโน ดา ปานีกาเลมินะทอร์มีเกลันเจโลมนุษยศาสตร์มนุษยนิยมมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยายกกางเขน (รือเบินส์)ยัน ฟัน ไอก์ยุทธการสะพานมิลเวียน (โรมาโน)ยุทธการออสเตีย (ห้องราฟาเอล)ยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)ยุทธการที่เทอร์มอพิลียุคมืดรหัสลับดาวินชีราชวงศ์ทิวดอร์ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)ราชอาณาจักรเยอรมนีราฟาเอลรายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอลรายชื่อภาพเขียนโดยฮีเยโรนีมึส โบสรายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียนรายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีรายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปใต้ฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)ลอเรนโซ วัลลาลากวีลาลายวงกตลายอาหรับลายใบอะแคนทัสลำดับคุณค่าของศิลปะลูกา ซิญโญเรลลีลูคัส ครานัควังบางขุนพรหมวังเชอนงโซวัตสันและปลาฉลามวิศวกรรมศาสตร์วินเชนโซ สกามอซซีวีนัสวีนัสหลับ (จอร์โจเน)วีนัสแห่งเออร์บิโนศิลปกรรมสิ่งทอศิลปะกอทิกศิลปะสมัยกลางศิลปะทรงกลมศิลปะคริสเตียนศิลปะตะวันตกศิลปะนามธรรมศิลป์ พีระศรีสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศสสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียงสมัยกลางสมัยคลาสสิกสมัยใหม่สมัยโบราณสัญญากับปิศาจสารตราทองสาธารณรัฐสำนักแห่งเอเธนส์ (ราฟาเอล)สถาปัตยกรรมกอทิกสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสถาปัตยกรรมเอลิซาเบธสถานีรถไฟกรุงเทพสงครามครูเสดหม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตรหยด (มุทราศาสตร์)หลักสูตรหลุมเพดานหอศีลจุ่มซันโจวันนีห้องราฟาเอลห้องสารภัณฑ์ห้องเจ้าสาว (มานเทนยา)อกอสติโน ชิจิออแตลเดอวีลอะพอลโลกับแดฟนีอัมโบรโจ โลเรนเซตตีอัลโฟนส์ มูคาอัลเบร็คท์ อัลท์ดอร์ฟเฟอร์อัสแซสซินส์ครีดอัสแซสซินส์ครีด: ลินนิเอจอันโตน ฟัน ไดก์อันโตนีโอ ดา กอร์เรจโจอันโตเนลโล ดา เมสสินาอันเดรอา มันเตญญาอันเดรอา เดล ซาร์โตอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโออาร์คิมิดีสอาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกีอาลบีอาวุธปืนอาสนวิหารอาสนวิหารกาออร์อาสนวิหารลีมอฌอาสนวิหารอัสสัมชัญอาสนวิหารแม็สอาณาจักรอยุธยาอุปมานิทัศน์อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)อูร์บีโนอนุสาวรีย์ลินคอล์นอ่างล้างบาปฮันส์ แม็มลิงฮือโค ฟัน เดอร์คุสฮีเยโรนีมึส โบสฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ผิวตรา (มุทราศาสตร์)ผู้รู้รอบด้านฌ็อง ฟูแกจริตนิยมจอร์โจเนจอตโต ดี บอนโดเนจักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่มจักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน (ห้องราฟาเอล)จาโกโป ปอนตอร์โมจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตรกรรมสีน้ำมันจิตรกรรมตะวันตกจิตรกรรมแผงจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกจิตวิทยาเชิงบวกจิโอวานนิ อันโตนิโอ อมาเดโอจูลีโอ โรมาโนจูเซปเป อาร์ชิมโบลโดจีโรลาโม ซาโวนาโรลาธรรมชาติวิทยาธนูยาวอังกฤษทาสใกล้ตายทาเวิร์นทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล)ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ทิเชียนข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน)ดอกจิกสี่แฉกดาราศาสตร์ดาวิด (มีเกลันเจโล)ดิอะเมซิ่งเรซ 19ดีร์ก เบาตส์ดีฌงดนตรีคลาสสิกด้านหน้าอาคารคฤหาสน์เบรกเกอส์คอมพิวเตอร์คำพิพากษาของซาโลมอน (จอร์โจเน)คำสัตย์ปฏิญาณของพระสันตะปาปาลีโอที่สามคิวปิดและไซคีคุณธรรมสามอย่าง (ราฟาเอล)คตินิยมเส้นกั้นสีฆวน เด เอร์เรรางานฝังประดับแบบคอสมาติงานสะสมชุดโจวีโอตระกูลบอร์เจียตินโตเรตโตต้นสมัยกลางฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารีฉากแท่นบูชาเบรราซันโดร บอตตีเชลลีซากรากอนแวร์ซาซีโอเนประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์กประวัติศาสตร์โลกประวัติของไม้กางเขนแท้ประติมากรรมคลาสสิกประติมากรรมเฉพาะหัวประเทศอิตาลีประเทศเบลเยียมปราสาทม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ปราสาทโบราณแห่งเกาะอีเยอปราสาทไฮเดิลแบร์คปลายสมัยโบราณปากนรกภูมิปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส (บอตติเชลลี)ปาโอโล อุชเชลโลปาโอโล เวโรเนเซปีเอตะ (มีเกลันเจโล)ปีเอตะ (ทิเชียน)ปีเอนซาปีเอโร ดี โกซีโมปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกาปีเอโตร โลเรนเซตตีปีเอโตร เปรูจีโนป้อมดาวนักบุญลอว์เรนซ์รับของมีค่าจากพระสันตะปาปานักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา)นักบุญเจอโรมในป่านักบุญเซบาสเตียน (ราฟาเอล)นักบุญเซโนเบียสรับศีลล้างบาป (บอตตีเชลลี)นักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน)นาร์ซิสซัสหลงเงานิกโกเลาะ มาเกียเวลลีนิมิตของอัศวิน (ราฟาเอล)นิคโคโล เดลอาร์คานิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัสนครรัฐวาติกันน้ำพุเตรวีน้ำมันวอลนัตแม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)แม่พระรับสารแม่พระรับสาร (ทิเชียน)แม่พระรับสาร (ดา วินชี)แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโลแม่พระซอลลีแม่พระและพระกุมารแม่พระและพระกุมารกับทูตสวรรค์ (บอตตีเชลลี)แม่พระและพระกุมารและทูตสวรรค์สององค์ (บอตตีเชลลี)แม่พระแห่งแกรนด์ดยุกแม่พระเปซาโรแอสโมเดียสแอดการ์ เดอกาแคว้นตอสคานาแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาโบสถ์ลามาดแลนโบสถ์น้อยบรันกัชชีโบสถ์น้อยซิสทีนโกซีโม รอสเซลลีโกซีโม ตูราโยฮันน์ กูเทนแบร์กโรมโรมีโอและจูเลียต (พ.ศ. 2511)โรเบิร์ต กัมปินโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลกตะวันตกโลเรนโซ กอสตาโลเรนโซ กีแบร์ตีโลเรนโซ เด เมดีชีโอเทลโล (วรรณกรรม)โจวัน ฟรันเชสโก เปนนีโจวันนี บอกกัชโชโจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนาโจวันนี เบลลีนีโดนาเตลโลโดเมนีโก กีร์ลันดาโยโซโฟนิสบา อังกิสโซลาไอราวัณไทรทัน (เทพปกรณัม)เบน โจนสันเบนอซโซ กอซโซลีเพลิงไหม้ในเมือง (โรมาโน)เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดาเกาะไรเชอเนาเก็บภาษี (มาซาชิโอ)เกเลนเภสัชกรรมสมัยกลางเมดีชีเลออน บัตติสตา อัลแบร์ตีเลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)เลขอักษรเหล็กกล้าเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเอลเกรโกเฮอร์คิวลีสเฮอร์เมทิคาเจนตีเล เบลลีนีเข็มขัดพรหมจรรย์เปียโร ดิ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิเปตรากเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เน็กซ์ท็อปโมเดล (รายการโทรทัศน์ประเทศกรีซ)เนเปิลส์20 กรกฎาคม29 กันยายน2985 เชกสเปียร์ ขยายดัชนี (328 มากกว่า) »

บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)

รรจุร่างพระเยซู (The Entombment) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยมีเกลันเจโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)ในอังกฤษ มีเกลันเจโลเขียนภาพ “บรรจุร่างพระเยซู” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1501 แต่ไม่เสร็จ เวลาที่เขียนภาพนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่แม้ว่าจะเชื่อกันทั่วไปว่าเป็นภาพที่เขียนในสมัยแรกๆ บางท่านก็เชื่อว่าเป็นภาพที่เขียนโดยลูกศิษย์ของมีเกลันเจโลจากภาพที่ร่างโดยมีเกลันเจโลหรือเขียนเลียนแบบโดยตรง จากเอกสารที่พบในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

บรอนซีโน

“วีนัส, คิวปิด, ฟอลลี, เวลา” ค.ศ. 1545, พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ “การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ” ภาพของอันเดรีย ดอเรียนายทหารรับจ้างและนายพลเรือจากเจนัวแต่งตัวเป็นเทพเนพจูน แอกโนโล ดี โคสิโม หรือ บรอนซิโน (ภาษาอังกฤษ: Agnolo di Cosimo หรือที่รู้จักกันในนาม Bronzino) (17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1503 - 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1572) เป็นจิตรกรสมัยแมนเนอริสม์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 บรอนซิโนมีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน และจิตรกรรมฝาผนัง ที่มาของชื่อ “บรอนซิโน” ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนแต่อาจจะเป็นเพราะบรอนซิโนมีผิวคล้ำแบบบร็อนซ์ สันนิษฐานกันว่าสาเหตุของสีผิวที่คล้ำมาจากโรค Addison's disease ซึ่งเป็นผลที่ทำให้สีผิวหนังคล้ำกว่าปกต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบรอนซีโน · ดูเพิ่มเติม »

บริเวณกลางโบสถ์

ริเวณกลางโบสถ์แบบกอธิคมองไปสู่บริเวณพิธีทางมุขตะวันออกภายในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์และเซนต์พอลแห่งนองซ์ในประเทศฝรั่งเศส แผนผังแสดงส่วนที่เป็น “บริเวณกลางโบสถ์” ที่เป็นสีชมพู บริเวณกลางโบสถ์ยุคต้นเรอเนสซองซ์ในบาซิลิกาซานโลเร็นโซโดยฟีลิปโป บรูเนลเลสกี - คริสต์ทศวรรษ 1420 บริเวณกลางโบสถ์ (nave) คือช่องทางเดิน (aisle) ที่ตั้งอยู่กลางคริสต์ศาสนสถานที่เริ่มตั้งแต่จากประตูทางเข้าไปสู่บริเวณพิธีและแท่นบูชาเอก ที่บางครั้งก็อาจจะขนาบด้วยช่องทางเดินข้างซ้ายขวาข้างละช่องหรืออาจจะมากกว่าก็ได้ถ้าเป็นวัดใหญ่ๆ เช่นมหาวิหารแซงต์เอเตียนน์แห่งบูร์กที่มีช่องทางเดินทั้งหมดห้าช่องที่ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ที่ขนาบด้วยช่องทางเดินข้างๆ ละสองช่อง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบริเวณกลางโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัฟเฮาเซิน

ัฟเฮาเซิน (Schaffhausen) เป็นเมืองทางตอนเหนือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นเมืองหลวงของรัฐชัฟเฮาเซิน มีประชากรราว 34,587 คน ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและชัฟเฮาเซิน · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติตะวันตก

มหาตำราของโลกตะวันตก''” (Great Books of the Western World) เป็นความพยายามในการรวบรวมบัญญัติตะวันตกเข้าเป็นชุดเดียวกันที่มีด้วยกันทั้งหมด 60 เล่ม บัญญัติตะวันตก (Western canon) เป็นคำที่หมายถึงตำราที่ถือว่าเป็น “บัญญัติ” หรือ “แม่แบบ” ของวรรณกรรมตะวันตก และที่กว้างกว่านั้นก็จะรวมทั้งศิลปะที่มีอิทธิพลในการเป็นพื้นฐานในการวิวัฒนาการของรูปแบบของวัฒนธรรมตะวันตก งานเหล่านี้เป็นประมวลงานที่ถือว่ามี “คุณค่าอันประมาณมิได้ทางด้านศิลปะ” บัญญัติดังกล่าวมีความสำคัญต่อทฤษฎี “การศึกษาชั่วอมตะ” (Educational perennialism) และ การวิวัฒนาการของ “วัฒนธรรมระดับสูง” แม้ว่าบัญญัติตะวันตกเดิมจะถือกันว่าเป็นสิ่งสำคัญ แต่กลายมาเป็นหัวข้อที่สร้างความขัดแย้งเพิ่มขึ้นตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในทางปฏิบัติการโต้แย้งและความพยายามที่จะให้คำนิยามของบัญญัติมักจะลงเอยด้วยรายชื่อหนังสือประเภทต่างๆ ที่รวมทั้ง: วรรณคดีที่รวมทั้ง กวีนิพนธ์, นวนิยาย และ บทละคร, งานเขียนอัตชีวประวัติและจดหมาย, ปรัชญา และประวัติศาสตร์ และหนังสือสาขาวิทยาศาสตร์อีกสองสามเล่มที่ถือว่ามีความสำคัญ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบัญญัติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

บันไดสเปน

ันไดสเปน บันไดสเปน (Scalinata della Trinità dei Monti) เป็นบันไดในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ที่เชื่อมระหว่างปียัซซาดีสปัญญากับปียัซซาตรีนีตาเดย์มอนตี เป็นบันไดที่กว้างที่สุดและยาวที่สุดในทวีปยุโรป มีขั้นบันไดทั้งหมด 138 ขั้น ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลี ฟรันเชสโก เด ซังค์ติส (Francesco de Sanctis) กับอาเลสซันโดร สเปคคี (Alessandro Specchi) สร้างขึ้นในระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบันไดสเปน · ดูเพิ่มเติม »

บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์

ลจิตรกรรมสัญลักษณ์แฝงคติจาก “ตำนานแห่งความรัก” ของพระเจ้าเรเน (King Rene’s Livre du cueur d'amour esprit) บาเธเลมี ฟาน เอค (ภาษาอังกฤษ: Barthelemy van Eyck หรือ Barthélemy d’Eyck หรือ van Eyck หรือ d' Eyck) (ค.ศ. 1420 - ก่อน ค.ศ. 1470) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นคนสำค้ญของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้ทำงานอาจจะเป็นในบริเวณเบอร์กันดีในประเทศฝรั่งเศส บาเธเลมี แวน เอคมีความสำคัญในการเขียนภาพเขียน, จุลจิตรกรรม (Miniature) และภาพสำหรับ หนังสือวิจิตร ฟาน เอคสร้างผลงานระหว่างปี ค.ศ. 1440 ถึงปี ค.ศ. 1469 และอาจจะเป็นญาติกับ ยาน ฟาน เอค แม้ว่างานที่เหลืออยู่จะไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าเป็นงานของบาเธเลมี ฟาน เอค แต่นักประพันธ์ร่วมสมัยกล่าวว่าฟาน เอคเป็นศิลปินผู้มีชื่อเสียงของสมัยนั้น และมักจะยอมรับว่างานชิ้นสำคัญๆ เป็นงานของฟาน เอค โดยเฉพาะเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นคนคนเดียวกับผู้ที่รู้จักกันในนามว่า “ครูบาแห่งการประกาศของเทพแห่งเอ็กซ์” (Master of the Aix Annunciation) ในฐานะเป็นผู้วาดบานพับภาพ และ “ครูบาแห่งเรเนแห่งอองชู” (Master of René of Anjou) ผู้วาดภาพสำหรับหนังสือวิจิตร นอกจากนั้นก็ยังเชื่อกันว่าฟาน เอคคือ “ครูบาแห่งแสงเงา” ซึ่งเป็นผู้วาดภาพบางภาพใน “หนังสือประจำชั่วโมงดยุคแห่งแบร์รี” (Très Riches Heures du Duc de Berry).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

บาคคัส (คาราวัจโจ)

ัส (ภาษาอังกฤษ: Bacchus) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “บาคคัส” เขียนราวปี ค.ศ. 1595 เป็นภาพของเทพบาคคัสหนุ่มสวมช่อใบองุ่นบนหัวมีผ้าห่มหลวมๆ นอนเอนท่าแบบคลาสสิกมือขวาเล่นชายผ้าผูกเอว บนโต๊ะหน้าตัวแบบมีชามผลไม้และขวดไวน์ขวดใหญ่ตั้งอยู่ ในมือซ้ายของตัวแบบถือแก้วไวน์ที่เทจากขวดไวน์ยื่นออกมาจากตัวมายังผู้ดูเหมือนกับจะชวนผู้ชมภาพเข้าไปร่วมด้วย “เทพบาคคัส” ซึ่งเป็นภาพที่เขียนไม่นานหลังจากที่คาราวัจโจเข้าไปพำนักอาศัยกับคาร์ดินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเต ผู้เป็นผู้อุปถัมภ์สำคัญคนแรก เป็นงานที่สะท้อนให้เห็นความสนใจในลัทธิมนุษยนิยมของผู้มีการศึกษาในแวดวงของคาร์ดินัลเดล มอนเต ไม่ว่าคาราวัจโจจะตั้งใจหรือไม่ก็ตามภาพนี้แสดงความมีอารมณ์ขันที่เห็นได้จากใบหน้าอันแดงก่ำของบาคคัส และเป็นภาพของเด็กหนุ่มที่ห่มตัวด้วยผ้าผืนหลวมๆ นอนเอนสลึมสลือท่าทางมึนในพาลัซโซของคาร์ดินัลเดล มอนเตในกรุงโรม ลักษณะของบาคคัสที่แสดงในภาพนี้มิได้ทำให้ผู้ชมภาพเชื่อว่าเป็นเทพบาคคัสจริงๆ นอกจากนั้นริ้วในแก้วไวน์ทำให้ดูเหมือนว่าบาคคัสคงจะถืออยู่ได้ไม่นานก่อนที่หกลงมาจากแก้ว ผลไม้และขวดไวน์เป็นสิ่งที่นักวิชาการสนใจกันมานานกว่าตัวเทพบาคคัสเอง นักวิชาการตีความหมายว่าผลไม้ที่อยู่ในสภาพที่กินไม่ได้อาจจะหมายถึงความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสิ่งต่างๆ ในโลก หลักจากภาพได้รับการทำความสะอาดก็พบว่ามีเงาของจิตรกรกำลังเขียนภาพสะท้อนอยู่บนขวดไวน์ เทพบาคคัสยื่นแก้วให้ด้วยมือซ้ายทำให้สันนิษฐานกันว่าคาราวัจโจใช้กระจกส่องช่วยในการเขียนโดยตรงบนผืนผ้าใบแทนที่จะเขียนลายเส้นหรือร่างก่อน แต่แขนหรือมือซ้ายที่เห็นอันที่จริงเป็นมือขวา ที่ตรงกับที่นักชีวประวัติจิโอวานนิ บากลิโอเนกล่าวว่าคาราวัจโจใช้กระจกช่วยในการเขียนภาพในสมัยต้นๆ จิตรกรอังกฤษเดวิด ฮ็อคนีย์ (David Hockney) ศึกษาวิธีเขียนของคาราวัจโจในวิทยานิพนธ์ที่รู้จักกันในชื่อวิทยานิพนธ์ฮ็อคนีย์-ฟาลโค (Hockney-Falco thesis) ที่ตั้งสมมุติฐานว่าจิตกรยุคเรอเนสซองซ์ และต่อมาใช้กล้องลูซิดา (camera lucida) เป็นอุปกรณ์ช่วยในการเขียน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบาคคัส (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

บานพับภาพ

แซนไทน์ คริสต์ศตวรรษที่ 10 บานพับภาพ (triptych หรือ polytych) คือจิตรกรรมที่วาดหรือแกะบนแผ่นไม้แบ่งเป็นบาน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นสองบาน สามบาน หรือมากกว่านั้นก็ได้ ที่เชื่อมด้วยกันและพับได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบานพับภาพ · ดูเพิ่มเติม »

บานพับภาพเปรูเจีย

นพับภาพเปรูเจีย หรือ บานพับภาพของนักบุญแอนโทนี (ภาษาอังกฤษ: Polyptych of Perugia หรือ Polyptych of St. Anthony) เป็นบานพับภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอุมเบรีย, เปรูเจียในประเทศอิตาลี “บานพับภาพเปรูเจีย” เป็นงานที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1470 เดิมเขียนสำหรับสำนักสงฆ์ซานอันโตนิโอ ดา ปาโดวาในเปรูเจีย อาจจะเป็นปีหลังจากที่เปียโรกลับมาจากโรม เป็นภาพพระแม่มารีและพระบุตรบนบัลลังก์ขนาบด้วยนักบุญสองข้าง ทางซ้ายเป็น นักบุญแอนโทนีแห่งปาดัวและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ ทางขวาเป็น นักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิและนักบุญเอลิซาเบธแห่งฮังการี เหนือภาพหลักเป็นภาพการประกาศของเท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบานพับภาพเปรูเจีย · ดูเพิ่มเติม »

ชุบชีวิตลาซารัส (คาราวัจโจ)

ีวิตลาซารัส (ภาษาอังกฤษ: The Raising of Lazarus) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เรจิโอนาเล, เมสสินาในประเทศอิตาลี ภาพ “ชุบชีวิตลาซารัส” เขียนเสร็จราวปี ค.ศ. 1609 ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1608 คาราวัจโจหนีจากมอลตาที่ที่ถูกจำขังโดยไม่ทราบข้อหาไปพำนักอยู่ที่ซิซิลีกับเพื่อนศิลปินมาริโอ มินนิติ (Mario Minniti) จากความช่วยเหลือของมินนิติคาราวัจโจก็ได้รับงานสำคัญหลายชิ้นรวมทั้งภาพนี้สำหรับวัดที่เมสสินา ที่ถูกนำเสนอให้กับพ่อค้าผู้มั่งคั่งจากเจนัว จิโอวานนิ บัตติสตา เดลัซซาริเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1609 ค่าจ้างสำหรับงานชิ้นนี้เป็นจำนวนหนึ่งพันสคุดิซึ่งมากกว่าสองเท่าของจำนวนที่คาราวัจโจได้รับก่อนหน้านั้น พระวรสารนักบุญจอห์นกล่าวถึงนักบุญลาซารัสพี่ของมาร์ธาและนักบุญแมรี แม็กดาเลนที่ล้มป่วย, เสียชีวิต, ถูกฝัง และในที่สุดก็ถูกชุบชีวิตโดยพระเยซู ภาพนี้ก็เช่นเดียวกับภาพอื่นของคาราวัจโจที่เขียนในช่วงเดียวกันที่ฉากหลังเป็นเพียงผนังว่างๆ ที่ทำให้ผู้อยู่ในภาพดูเล็กลงมาก ปฏิกิริยาต่อกันและกันของคนในภาพมีความรู้สึกร่วมกันในทางอารมณ์โดยมีช่องว่างใหญ่อยู่ด้านบนซึ่งต่างจากการเน้นนาฏกรรมอย่างใกล้เคียงเช่นที่เคยทำกันมาก่อน และตามแบบฉบับของคาราวัจโจแสงเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างนาฏกรรมที่ทำให้เห็นรายละเอียดเช่นมือของลาซารัส มือหนึ่งปล่อยและหงายขึ้นเหมือนจะรับและอีกมือหนึ่งยื่นไปทางพระเยซู และใบหน้าที่ตื่นตระหนกของผู้เห็นเหตุการณ์ เรื่องที่เล่ากันว่าคาราวัจโจให้คนขุดร่างคนที่เพิ่งถูกฝังขึ้นมาเป็นแบบเขียนเป็นเรื่องที่ “น่าจะไม่ใช่เรื่องจริง แต่ก็ไม่เกินเลยเกินกว่าความเป็นไปได้” ตัวแบบบางคนกล่าวกันว่าเป็นผู้คนในชุมชนนั้น แต่คาราวัจโจก็ใช้ความทรงจำ การวางรูปทั้งหมดมีพื้นฐานมาจากภาพพิมพ์ลายแกะโดยจูลีโอ โรมาโน และภาพพระเยซูเป็นภาพกลับด้านกับภาพพระเยซูในภาพ “พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว” ภาพเขียนอยู่ในสภาพที่ไม่ดีนักและได้รับการซ่อมอย่างมากและอาจจะเป็นไปได้ว่าบางส่วนเขียนโดยผู้ช่วย สิ่งที่น่าสังเกตในภาพนี้อีกอย่างหนึ่งคือความแตกต่างระหว่างร่างที่อ่อนระทวยของมาร์ธาและแมรี แม็กดาเลนผู้ที่เต็มไปด้วยความระทมกับร่างที่แข็งของลาซารัสพี่ชาย ในพระวรสารมาร์ธาๆ กล่าวเตือนพระเยซูว่าลาซารัสตายมาได้สี่วันแล้วและคงจะมีกลิ่น แต่ในภาพนี้ไม่มีใครที่แสดงท่าขยะแขยงกับกลิ่น เพราะปาฏิหาริย์ที่เกิดขึ้น งานเขียนเกี่ยวกับศาสนาของคาราวัจโจมักจะเน้นความทุกข์, ความทรมานและความต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและชุบชีวิตลาซารัส (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

ชีปีโอเน บอร์เกเซ

ปิโอเน บอร์เกเซ (Scipione Borghese หรือ Scipione Caffarelli; ค.ศ. 1576 - (2 ตุลาคม ค.ศ. 1633) พระคาร์ดินัล สคิปิโอเน บอร์เกเซเป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกและนักสะสมศิลปะของยุคเรอเนสซองซ์และเป็นสมาชิกของตระกูลบอร์เกเซ thumbnail.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและชีปีโอเน บอร์เกเซ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก เดล กอสซา

ฟรานเชสโค เดล คอสสา (Francesco del Cossa) (ราว ค.ศ. 1430 - ราว ค.ศ. 1477) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์ราราของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟรันเชสโก เดล กอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ. 1395 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1455) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีฝุ่นบนไม้ และการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง เป็นผู้ที่จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงในหนังสือ“ชีวิตศิลปิน” ว่ามีความสามารถพิเศษที่หายากGiorgio Vasari, Lives of the Artists.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟราอันเจลีโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซิส ปีกาบียา

ฟร็องซิส ปีกาบียา (Francis Picabia; ชื่อเกิด ฟร็องซิส-มารี มาร์ตีเน เดอ ปีกาบียา, 22 มกราคม ค.ศ.1879 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ.1953) ศิลปิน ช่างภาพ กวี และนักพิมพ์ที่มีชื่อเสียงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นอกจากบทบาทในการเป็นหนึ่งในผู้เคลื่อนไหวคนสำคัญของลัทธิดาดาในอเมริกาและฝรั่งเศสแล้ว เขายังมีผลงานในลัทธิประทับใจ ศิลปะนามธรรม และงานในศิลปะลัทธิผสานจุดสี เขายังมีผลงานเกี่ยวข้องกับบาศกนิยมและโดดเด่นในผลงานของลัทธิเหนือจริงอีกด้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟร็องซิส ปีกาบียา · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 4 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์

ฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 4 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์ (Philip Stanhope, 4th Earl of Chesterfield) หรือชื่อก่อนที่บิดาจะถึงแก่อนิจกรรมคือ ท่านลอร์ดสแตนนัป เป็นรัฐบุรุษและนักการเมืองชาวอังกฤษ เกิดในกรุงลอนดอน เป็นบุตรของฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 3 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์กับเลดีอลิซาเบธ เขามีความสนใจในวัฒนธรรม ตลอดจนอารยธรรมสมัยคลาสสิกและเรอแนซ็องส์ เขาได้ออกเดินทางทั่วทวีปยุโรปในฐานะขุนนางจากอังกฤษเพื่อทัศนศึกษาอารยธรรมเหล่านั้น ตลอดจนเพื่อคบค้าสมาคมกับอภิชนและชนชั้นสูงในยุโรปภาคพื้นทวีป ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 4 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี

รูปปั้นฟีลิปโป บรูเนลเลสกี ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี (Filippo Brunelleschi) (ค.ศ. 1377 - 15 เมษายน ค.ศ. 1446) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี และเป็นหนึ่งในสถาปนิกกลุ่มแรกที่เข้าร่วมกระบวนการเรอเนซองซ์ในเมืองฟลอเรนซ์ งานออกแบบส่วนใหญ่ของเขาจะอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์แห่งนี้ บรูเนลเลสกีเป็นสถาปนิกที่โด่งดังและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในยุคของเขา ผลงานหนึ่งที่สำคัญของเขาอันเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อวงการออกแบบสถาปัตยกรรมของโลกมาจนถึงทุกวันนี้คือ การคิดค้นระบบการเขียนแบบทัศนียภาพหรือเพอร์สเปกทีฟ (perspective).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟีลิปโป บรูเนลเลสกี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ. 1440พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา ภาพเหมือนกับลูกศิษย์ ฟีลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi) (ค.ศ. 1406 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1469) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟีลิปโป ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม

ียนลายเส้นโดยอิสราเอล ซีลแว็สทร์ มุมมองไปที่ปราสาทเนิฟแห่งเมอดง หนึ่งในงานออกแบบของเดอ ลอร์ม ที่อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมในช่วงร้อยปีหลังจากที่ได้รับการก่อสร้าง ฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert de l'Orme; ค.ศ. 1510 – 8 มกราคม ค.ศ. 1570) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส เป็นปรมาจารย์ผู้หนึ่งแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ฟีลีแบร์เกิดที่เมืองลียง เป็นลูกของเฌออ็อง เดอ ลอร์ม ซึ่งเป็นสถาปนิกเช่นกัน และพยายามสั่งสอนให้ลูกชายให้เข้าสู่วิชาชีพเดียวกัน ฟีลีแบร์ถูกส่งไปร่ำเรียนที่อิตาลี (ค.ศ. 1533–1536) เมื่อเรียนจบได้ถูกจ้างเข้าทำงานโดยสมเด็จพระสันตปาปาพอลที่ 3 พอได้กลับมาที่ฝรั่งเศสก็ได้มาทำงานกับพระคาร์ดินัล ดูว์ แบแลแห่งลียง (Cardinal du Bellay) ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1847

ทธศักราช 1847 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพ.ศ. 1847 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1917

ทธศักราช 1917 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพ.ศ. 1917 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2028

ทธศักราช 2028 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพ.ศ. 2028 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสนามจันทร์

ระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์สวรรคต พระราชวังสนามจันทร์ใช้เป็นที่ทำการของส่วนราชการต่าง ๆ ของจังหวัดนครปฐม รวมทั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน พระราชวังสนามจันทร์อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระคริสต์ทรงพระสิริ

ระคริสต์ทรงพระสิริ (Christ in Glory) หรือ พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่ (Christ in Majesty Majestas Domini), เป็นภาพพระเยซูประทับบนบัลลังก์ในฐานะประมุขของโลก ในการวางองค์ประกอบของงานศิลปะจะเป็นภาพที่จะมองจากด้านหน้าเสมอ และมักจะขนาบด้วยคนหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนไปแล้วแต่บริบท ลักษณะ ภาพ “พระคริสต์ทรงพระสิริ” เป็นภาพที่วิวัฒนาการมาตั้งแต่ศิลปะคริสเตียนยุคแรกที่นำมาโดยตรงจากภาพจักรพรรดิโรมันบนบัลลังก์ ในศิลปะไบแซนไทน์จะมีลักษณะที่ต่างออกไปเล็กน้อยเป็นภาพครึ่งพระองค์ “พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ” (Christ Pantocrator) และจะไม่มีสิ่งอื่นใดประกอบ และภาพ “เดอีซิส” (Deesis) ที่เป็นภาพทั้งพระองค์บนบัลลังก์ขนาบด้วยพระแม่มารีย์และนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญองค์อื่น ๆ ทางตะวันตกองค์ประกอบของภาพวิวัฒนาการมาโดยตลอดจนกระทั่งถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยังคงดำรงความสำคัญจนมาถึงปลายศิลปะบารอกที่เป็นภาพที่ลอยอยู่บนฟ้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระคริสต์ทรงพระสิริ · ดูเพิ่มเติม »

พระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)

ระเยซูรับศีลจุ่ม (Baptism of Christ) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน “พระเยซูรับศีลจุ่ม” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1448 ถึงปี ค.ศ. 1450 เปียโรได้รับจ้างให้เขียนภาพนี้โดยสำนักสงฆ์ลัทธิคามาลโดเลเซ ที่ ซานเซพอลโครในทัสเคนี ภาพนี้เดิมเป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพ เป็นงานเขียนสมัยแรกของเปียโรซึ่งเห็นได้ว่ายังมีลักษณะการเขียนแบบ “light painting” ของ โดเมนนิโค เวเนเซียโน (Domenico Veneziano) ผู้เป็นครู ภาพเขียนเป็นภาพพระเยซูกำลังรับศีลจุ่มจากนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ เหนือพระเศียรเป็นภาพของนกพิราบ พระเยซู, มือของนักบุญจอห์น นกพิราบ และขันน้ำของนักบุญจอห์น แบ่งภาพเป็นสองส่วนเท่าๆ กันอีกจุดหนึ่งที่เปียโณใช้แบ่งภาพ คือต้นไม้ทางด้านซ้ายของพระเยซู ซึ่งแบ่งภาพตามแบบที่เรียกว่า “อัตราส่วนทองคำ” (Golden ratio) เทวดาสามองค์ที่ยืนทางด้านซ้ายแต่งตัวไม่เหมือนกัน และแตกต่างจากการเขียนภาพทั่วไป เทวดาสามองค์ไม่ได้อยู่ในอาการที่สนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับเยซู แต่ยืนจับมือกันแทน ส่วนนี้ อาจจะสะท้อนถึง นโยบายของ การประชุมสภาบาทหลวงแห่งฟลอเรนซ์ ที่มีจุดมุ่งหมายในการประสานความสัมพันธ์ระหว่างคริสต์ศาสนจักรทางตะวันตกและตะวันออก และความจริงแล้วนักบวชคามาลโดเลเซ อัมโบรจิโอ ตราเวอร์ซาริ (Ambrogio Traversari) ก็เป็นผู้สนับสนุนการรวมตัวกันของสองฝ่าย สัญลักษณ์นี้ยังเน้นอีกด้วยจากผู้ที่จะมารับศีลจุ่มต่อจากพระเยซูที่แต่งตัวแบบตะวันออกที่ยืนอยู่ข้างหลัง เปียโร เดลลา ฟรานเชสกามีชื่อเสียงในสมัยนั้นในทางการวาดแบบทัศนียภาพและแบบเรขาคณิต ซึ่งในภาพนี้จะเห็นได้จากแขนและขาของนักบุญจอห์นซึ่งทำเป็นสองมุมที่มีขนาดเดียวกัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

พระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (แวร์รอกกีโอ)

ูบทความหลักที่ พระเยซูรับศีลจุ่ม พระเยซูรับศีลจุ่ม (The Baptism of Christ) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันดรีย เดล เวอร์โรชชิโอและห้องเขียนภาพ เวอร์โรชชิโอเป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ภาพเขียนปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เวอร์โรชชิโอเขียนภาพ “พระเยซูรับศีลจุ่ม” เสร็จราวปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพที่ได้รับจ้างโดยวัดซานซาลวิในฟลอเรนซ์ และตั้งอยู่ที่วัดจนปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง (แวร์รอกกีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

พระคัมภีร์คนยาก

หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระคัมภีร์คนยาก · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์

ระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็นพระตำหนักที่โดดเด่นที่สุดในหมู่พระตำหนักและพระที่นั่งในพระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสนามใหญ่ สร้างขึ้นราวปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางพรหมจารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ ภาพพระนางพรหมจารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (Assumption of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “พระนางพรหมจาณีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” ระหว่างปี ค.ศ. 1516 ถึงปี ค.ศ. 1518 สำหรับบาซีลีกาดีซันตามาเรีย โกลรีโอซา ดี ฟรารีที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี เป็นฉากประดับแท่นบูชาที่ใหญ่ที่สุดในเวนิส “พระนางพรหมจารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” เป็นภาพที่แสดงเหตุการณ์สามเหตุการณ์ซ้อนกัน ส่วนล่างสุดของภาพเป็นภาพของอัครทูตที่ต่างก็ยกมือยกไม้ (ยกเว้นนักบุญเปโตรที่นั่งกุมมืออยู่) ขึ้นไปทางพระแม่มารีย์ที่ลอยขึ้นไปบนท้องฟ้าท่ามกลางเครูบ (cherubim) ที่ร้องเพลงสรรเสริญ ด้านบนเป็นภาพพระเจ้ารอรับพระแม่มารีย์ ด้านหนึ่งของพระเจ้าเป็นเครูบอีกคนหนึ่งที่ถือมงกุฏให้พระแม่มารีย์ ทิเชียนอาจจะได้รับการฝึกเป็นช่างงานโมเสกมาก่อน และมีข้อเสนอว่าฉากหลังที่เป็นทองอาจจะเป็นอิทธิพลมาจากธรรมเนียมของการทำโมเสกของช่างชาวเวนิส งานชิ้นนี้เป็นงานสำคัญที่ช่วยสร้างชื่อเสียงให้แก่ทิเชียนในเวนิส ข้อมูลบางแหล่งกล่าวว่าผู้แทนของจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ปรากฏตัวในพิธีเบิกภาพเขียนเป็นครั้งแรกด้วย และอาสาซื้อภาพถ้านักบวชไม่พอใจในคุณภาพของภาพเขียน ในปี ค.ศ. 1818 ภาพเขียนถูกนำไปตั้งที่หอศิลป์อักกาเดเมีย แต่ก็นำกลับมาตั้งที่เดิมในปี ค.ศ. 1919.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระนางพรหมจารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (มาซัชโช)

ูบทความหลักที่ แม่พระและพระกุมาร พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (Virgin and Child with St. หรือ Sant'Anna Metterza) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยมาซัชชีโอจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุฟฟิซิที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี มาซาชิโอ เขียนภาพ “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” ระหว่างปี ค.ศ. 1424 ถึงปี ค.ศ. 1425 และอาจจะเขียนร่วมกับมาโซลีโน ดา ปานีกาเล (Masolino da Panicale) แม่พระและพระกุมารเป็นงานชิ้นแรกชิ้นหนึ่งของมาซัชชีโอ ทูตสวรรค์ที่บอบบางและใช้สีอ่อนเป็นลักษณะการเขียนของสมัยกอธิคของมาโซลีโน ทูตสวรรค์ทางด้านบนขวาเป็นของมาซัชชีโอ ส่วนนักบุญอันนาที่จางลงไปทำให้สันนิษฐานได้ยาก แต่มือที่ดูเหมือนจะสำรวจความลึกของช่องว่างในภาพอาจจะเป็นความคิดของมาซัชชีโอ ภาพ “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” เป็นงานเขียนสำหรับโบสถ์ซันอัมโบรจิโอในฟลอเร็นซ์ ตามที่จอร์โจ วาซาริกล่าวว่เป็นภาพที่ตั้งภายในประตูชาเปลที่นำไปสู่ห้องของชี รูปพระกุมารเป็นภาพเด็กที่ดูเหมือนจริงซึ่งต่างจากรูปเด็กสมัยกอธิคที่แข็งกว่า ภาพเขียนนี้เป็นภาพเขียนแรกๆ ที่แสดงให้เห็นถึงผลของแสงธรรมชาติที่ส่องลงมากระทบตัวแบบซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้มาซาชิโอแตกต่างจากจิตรกรอื่นและเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการเขียนภาพแบบยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (มาซัชโช) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี)

ระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (The Virgin and Child with St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” เป็นงานที่เขียนราวปี ค.ศ. 1508 เป็นภาพของนักบุญอันนา พระนางพรหมจารีมารีย์ และพระกุมารเยซู พระกุมารกำลังไขว่คว้าแกะซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระมหาทรมานของพระเยซู ขณะที่พระแม่มารีย์ทรงพยายามรั้งไว้ ภาพเขียนไดัรับจ้างให้เขียนสำหรับเป็นฉากแท่นบูชาเอกที่บาซิลิกาเดลลาซานทิซซิมาอันนันซิอาตาแห่งฟลอเรนซ์ (Santissima Annunziata, Florence) และเป็นหัวเรื่องที่ดา วินชีครุ่นคิดมานาน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีบนระเบียง (บอตติเชลลี)

ระแม่มารีบนระเบียง (Madonna della Loggia) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “พระแม่มารีบนระเบียง” เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีในปี ค.ศ. 1467.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีบนระเบียง (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย (ภาษาอังกฤษ: Madonna of the Yarnwinder) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เป็นงานสะสมส่วนบุคคล “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” ราว ค.ศ. 1501 เป็นหัวเรื่องของภาพสีน้ำมันหลายภาพที่เขียนหลังจากที่ภาพเขียนต้นฉบับสูญหายไป เป็นภาพของพระแม่มารีและพระบุตรที่ต่างมองไม้ปั่นด้ายที่พระแม่มารีใช้ด้วยความละห้อย ไม้ปั่นด้ายเป็นทั้งสัญลักษณ์ของความอยู่กับเรือนและสัตยกางเขน (True Cross) ที่พระเยซูจะทรงถูกตรึงต่อมา หรืออาจจะเป็นนัยถึงชะตาซึ่งในตำนานสมัยโบราณใช้ไม้ปั่นด้ายเป็นสัญลักษณ์ ภาพนี้มีด้วยกันอย่างน้อยสามภาพที่เป็นของส่วนบุคคล สองภาพอยู่ในสหรัฐอเมริกา รวมทั้งภาพหนึ่งที่รู้จักกันในชื่อ “พระแม่มารีแลนด์สดาวน์” (The Landsdowne Madonna) ภาพเขียนต้นฉบับอาจจะเป็นงานที่จ้างโดยฟลอริมุนด์ โรแบร์เตท์องคมนตรีต่างประเทศในพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีอัลบา

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีอัลบา (Alba Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริกา ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีอัลบา” เสร็จในปี ค.ศ. 1151 เป็นภาพของพระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์โดยมีฉากหลังเป็นชนบทของอิตาลี นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ถือกางเขนที่พระบุตรกุมอยู่ข้างบน บุคคลทั้งสามในภาพต่างก็มองมาทางกางเขนและรวมอยู่ทางซ้ายของภาพ แต่แขนขวาของพระแม่มารีที่กางออกไปเล็กน้อยและพระภูษาที่ออกมาทางขวาของทำให้ภาพมีความสมดุลขึ้น ปาโอโล โจวีโอเป็นผู้จ้างราฟาเอลให้เขียนภาพ “พระแม่มารีอัลบา” เพื่อที่จะส่งไปให้วัดที่โอลิเวตานีในโนเซรา เดอิ พากานิ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ภาพเขียนตกไปเป็นของตระกูลอัลบาที่ภาพเขียนได้รับนาม ในปี ค.ศ. 1836 ภาพเขียนก็ถูกขายให้แก่สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย ผู้นำไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ร้อยปีต่อมารัฐบาลโซเวียตขายภาพให้แก่แอนดรู ดับเบิลยู เมลลอน (Andrew W. Mellon) ในราคา $1,166,400 ต่อมาเมลลอนอุทิศงานสะสมรวมทั้งภาพนี้ให้แก่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริกาที่เป็นที่ตั้งแสดงในปัจจุบันของภาพ ระหว่างที่ตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจภาพเขียนถูกย้ายจากแผงกลมไปบนผ้าใบสี่เหลี่ยมระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการวิจัยพบว่าแผงภาพเขียนเดิมแตกกลางทางด้านขวา ลายผ้าใบเห็นได้อย่างชัดเจนในภาพเขียนและทางด้านขวามีรอยเสียหายระหว่างการย้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีอัลบา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล (Conestabile Madonna) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล” ระหว่างปี ค.ศ. 1502 ถึงปี ค.ศ. 1504 เป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่อาจจะยังเขียนไม่เสร็จและอาจจะเป็นงานเขียนสุดท้ายที่เขียนระหว่างที่พำนักอยู่ที่อุมเบรียก่อนที่จะย้ายไปฟลอเรนซ์ ชื่อของภาพเขียนมาจากชื่อครอบครัวคอนเนสตาบิเลแห่งเปรูเจียที่ขายให้แก่สมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียในปีค.ศ. 1871.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีคอนเนสตาบิเล · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีคาลเตลฟรังโค (จอร์โจเน)

ระแม่มารีคาลเตลฟรังโค หรือ พระแม่มารีระหว่างนักบุญฟรานซิสและนักบุญนิเคเซียส (Castelfranco Madonna หรือ Madonna and Child Between St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเน จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันยังคงอยู่ในมหาวิหารที่คาลเตลฟรังโคในเวเนโตในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีคาลเตลฟรังโค (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีแห่งพาร์โต

ระแม่มารีแห่งพาร์โต (ภาษาอิตาลี: Madonna del Parto) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์มาดอนนาเดลพาร์โตที่มอนเตร์ชิในประเทศอิตาลี “พระแม่มารีแห่งพาร์โต” เป็นงานที่เขียนหลังปี ค.ศ. 1457 เปียโรใช้เวลาเขียนเพียงเจ็ดวัน ใช้สีที่มีคุณภาพดีและส่วนใหญ่เป็นสี “blu oltremare” ซึ่งทำจากหินลาพิส ลาซูริ (lapis lazuli) ซึ่งเป็นหินสีน้ำเงินที่มีค่าที่ใช้กันในยุคกลางที่มาจาก ประเทศอัฟกานิสถานผ่านทางสาธารณรัฐเวนิส จิตรกรรมเดิมอยู่บนผนังของวัดซานตามาเรีย ดิ โมเมนตานาซึ่งเป็นวัดเล็กๆ ที่เมืองมอนเตร์ชิบนเขา แต่วัดมาถูกทำลายเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 1785 ซึ่งทำให้ต้องเลาะงานเขียนออกจากผนังและนำไปตั้งเหนือแท่นบูชาเอกภายในชาเปลใหม่ในสุสาน ในปี ค.ศ. 1992 ภาพเขียนก็ถูกย้ายไปตั้งที่พิพิธภัณฑ์มาดอนนาเดลพาร์โตที่มอนเตร์ชิ งานนี้เพิ่งได้รับการยืนยันว่าเป็นงานของเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาในปี ค.ศ. 1889 แต่เวลาที่เขียนยังไม่เป็นที่ตกลงกันได้ซึ่งประมาณว่าอาจจะระหว่างปี ค.ศ. 1450 ถึงปี ค.ศ. 1475 จอร์โจ วาซารีจิตรกรและนักประพันธ์จากคริสต์ศตวรรษที่ 16 บ่งว่าเขียนเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1459 เมื่อเปียโตรกลับไปซานเซพอลโครในโอกาสที่แม่เสียชีวิต ภาพเขียนนี้มีบทบาทสำคัญในนวนิยายของริชาร์ด เฮเยอร์ “Visus”, ในภาพยนตร์โดยอันเดร ทาร์คอฟสกี “Nostalghia” และโคลง “ซานเซพอลโคร” โดย โจรี แกรม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีแห่งพาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีแห่งภูผา

ระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันสองภาพที่มีลักษณะการวางภาพที่เหมือนกันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรคนสำคัญสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีสและเลโอนาร์โด ดา วินชียังได้วาดภาพนี้ขึ้นอีกชิ้นและปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในอังกฤษ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีแห่งภูผา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)

ระแม่มารีให้นม (ภาษาอังกฤษ: Madonna Litta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในสหพันธรัฐรัสเซีย เลโอนาร์โดเขียนภาพ “พระแม่มารีให้นม” ราวปี ค.ศ. 1490 เป็นภาพที่พระแม่มารีกำลังให้นมแก่พระบุตร แต่ท่าทางเก้งก้างของพระบุตรทำให้นักวิชาการบางท่านสันนิษฐานว่าบางส่วนของภาพอาจจะเขียนโดยโบลทราฟฟิโอผู้เป็นลูกศิษย์ของดา วินชี อีกข้อหนึ่งที่ทำให้สันนิษฐานว่าดา วินชีให้ลูกศิษย์เขียนให้เสร็จคือจากเส้นของของพระแม่มารีและพระบุตรดูแข็งกว่างานอื่นของดา วินชี และฉากหลังที่เรียบ ภาพ “พระแม่มารีให้นม” เป็นภาพที่เขียนให้กับตระกูลวิสคอนติประมุขแห่งมิลาน ต่อมาตกไปเป็นของตระกูลลิตตาที่เป็นเจ้าของต่อมาอีกหลายร้อยปี ในปี ค.ศ. 1865, ซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียซื้อจากเคานท์ลิตตา และเก็บภาพไว้ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจที่เป็นที่ตั้งของภาพมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ภาพเขียนปรากฏในภาพยนตร์ รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)

ระแม่มารีในกรอบกลม (Doni Tondo หรือ Doni Madonna) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันบนแผงไม้ที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในฟลอเรนซ์ในอิตาลี ภาพ “พระแม่มารีในกรอบกลม” เขียนราวปี ค.ศ. 1503 เป็นหนึ่งในสี่จิตรกรรมแผงเท่านั้นที่ไมเคิล แอนเจโลเขียน และเป็นเพียงงานชิ้นเดียวในสี่ชิ้นที่ยังคงมีอยู่และยังอยู่ในกรอบเดิมที่ออกแบบโดยไมเคิล แอนเจโลเอง ภาพนี้อาจจะจ้างโดยอักโนโล โดนิช่างทอผ้าผู้มั่งคั่งในโอกาสวันที่สมรสกับมัดดาเลนา สตรอซซิจากตระกูลสตรอซซิตระกูลผู้มีอิทธิพลของฟลอเรนซ์ ภาพเขียนเป็นแบบ “ศิลปะทรงกลม” ซึ่งมักเป็นเป็นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงานในสมัยเรอเนซองส์ งานชิ้นนี้เขียนขึ้นหลังจากการเขียนปิเอต้าแต่ก่อนที่จะเขียนภาพบนเพดานในชาเปลซิสติน เป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลจากงานเขียนภาพ “พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญแอนน์” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี และงานเขียนของลูคา ซินยอเรลลิ และ ประติมากรรมคาเมโอในพาลัซโซเมดิชิ ภาพ “พระแม่มารีในกรอบกลม” เป็นภาพของพระแม่มารี โจเซฟ และพระทารกเยซู และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีเบนัวส์

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีเบนัวส์ หรือ พระแม่มารีและพระบุตรกับดอกไม้ (Benois Madonna หรือ Madonna and Child with Flowers) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, สหพันธรัฐรัสเซีย “พระแม่มารีเบนัวส์” อาจจะเป็นหนึ่งในงานเขียนพระแม่มารีที่เลโอนาร์โดกล่าวถึงในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1478 อีกภาพหนึ่งอาจจะเป็นภาพ “พระแม่มารีกับดอกคาร์เนชั่น” ที่หอศิลป์เก่าที่มิวนิค อาจจะเป็นไปได้ว่า “พระแม่มารีเบนัวส์” เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่เขียนหลังจากที่เป็นอิสระจากอันดรีย เดล เวอร์โรชชิโอ งานร่างสองชิ้นของภาพนี้เป็นของพิพิธภัณฑ์บริติช รอยยิ้มที่ไม่เผยอริมฝีปากทำให้น่าสันนิษฐานกันได้ว่าเป็นงานเขียนที่ยังไม่เสร็จเช่นภาพเขียนอื่นๆ ของเลโอนาร์โด องค์ประกอบของภาพ “พระแม่มารีเบนัวส์” เป็นองค์ประกอบที่เป็นที่นิยมที่สุดอันหนึ่งของเลโอนาร์โดที่จิตรกรคนอื่นเลียนแบบกันอย่างแพร่หลาย รวมทั้งราฟาเอลที่เขียนภาพที่คล้ายคลึงกันชื่อ “พระแม่มารีสีชมพู” ภาพ “พระแม่มารีเบนัวส์” หายไปอยู่หลายร้อยปี จนในปีค.ศ. 1909 เมื่อสถาปนิกลิออง เบนัวส์ (Leon Benois) นำไปแสดงเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมของพ่อตาที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ภาพเขียนถูกนำจากอิตาลีไปรัสเซียโดยอเล็กซานเดอร์ คอร์ซาคอฟ ในคริสต์ทศวรรษ 1790 เมื่อคอร์ซาคอฟเสียชีวิต ลูกชายก็ขายให้กับพ่อค้าอัสตราคาน (Astrakhan) เป็นจำนวน 1400 รูเบิลส์และในที่สุดก็ผ่านมาเป็นของครอบครัวเบนัวส์ในปี ค.ศ. 1880 หลังจากถกเถียงกันเรื่องใครเป็นผู้เขียนที่แท้จริงอยู่เป็นนานลิอองก็ขายภาพในกับพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในปี ค.ศ. 1914 ตั้งแต่นั้นมาภาพเขียนก็ตั้งแสดงอยู่ที่นั่น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระแม่มารีเบนัวส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ พระธรรมปฐมกาล พระเจ้าสร้างโลก (ภาษาอังกฤษ: Creation of the World) เป็นงานโมเสกบนโดมภายในชาเปลชิจิในวัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลีที่ออกแบบโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ราฟาเอลออกแบบชาเปลให้แก่เพื่อนและผู้อุปถัมภ์ที่เป็นนายธนาคารชื่ออากอสติโน ชิจิ (Agostino Chigi) สำหรับเป็นชาเปลส่วนตัวและที่บรรจุศพของตระกูลชิจิ การตกแต่งโมเสกบนโดมออกจะเป็นของล้าสมัยสำหรับคริสต์ศตวรรษที่ 16 งานร่างของราฟาเอลนำไปสร้างโดยช่างลุยจิ ดิ พาเซชาวเวนิสในปี ค.ศ. 1516 งานโมเสกตั้งอยู่ระหว่างงานปูนแต่งทองบนเพดานโดมที่มีด้วยกันทั้งหมดเจ็ดชิ้นที่เป็นภาพของโลกโดยมีฉากหลังเป็นสีน้ำเงิน แต่ละโลกถูกเทวดามีปีกถือไว้ แผงแปดแผงเป็นสัญลักษณ์ของดาวประดับฟ้าที่ก็ถือโดยเทวดาด้วย ตรงกลางโดมเป็นภาพของพระเจ้าทรงสร้างโลก รูปกลางล้อมรอบไปด้วยเปมเทพชวนขัน งานชิ้นนี้คล้ายกับงานจิตรกรรมฝาผนังของไมเคิล แอนเจโลบนเพดานชาเปลซิสติน พระเจ้าสร้างโลกของไมเคิล แอนเจโลเขียนเพียงห้าปีก่อนหน้านั้นและคงจะต้องมีอิทธิพลต่อราฟาเอล งานชิ้นนี้เป็นงานโมเสกชิ้นเดียวที่ราฟาเอลทำและถือกันว่าเป็นงานโมเสกชิ้นเอกของสมัยเรอเนซอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พายุ (จอร์โจเน)

(The Tempest, La Tempesta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ Gallerie dell'Accademia ในเมืองเวนิสในประเทศอิตาลี ภาพ “พายุ” เป็นภาพที่เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1506 ถึงปี ค.ศ. 1508.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพายุ (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ

ัณฑ์ศิลปะเว็บ (Web Gallery of Art) เป็นเว็บไซต์ที่แสดงภาพงานจิตรกรรมและประติมากรรมตะวันตกสมัยบาโรก กอธิค และ เรอเนซองส์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์มีภาพงานศิลปะด้วยกันทั้งหมดกว่า 15,400 ภาพบางภาพมีคำอธิบายและคำวิจัยประกอบ นอกจากภาพเขียนแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับชีวประวัติของศิลปิน และ ที่จัดเป็นหัวข้อเช่น หรือ หน้าแสดงการเปรียบเทียบภาพเขียนชื่อ “จูดิธตัดหัวโฮโลเฟอร์เนส” (Giuditta che decapita Oloferne) ที่เขียนโดยคาราวัจโจและ อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ ผู้ใช้สามารถใช้ระบบการเรียกข้อมูลที่ต้องการได้จากฐานข้อมูล ข้อมูลอาจจะดึงได้จาก: เมื่อพบภาพที่ต้องการแล้วผู้ใช้ก็สามารถเลือกขนาดภาพที่จะชมและดนตรีประกอบได้ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์ก่อตั้งโดย อีมิล เคร็น และแดเนียล มาร์กซ ภาพงานศิลปะที่ปรากฏในพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บเป็นภาพที่ลิขสิทธิ์หมดอายุ แต่ลิขสิทธิ์ตามกฎหมายยังครอบคลุมในการ reproduce ภาพ พิพิธภัณฑ์ให้คำจำกัดความเรื่องลิขสิทธิ์ว่า “พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บจดทะเบียนลิขสิทธิ์ในฐานะที่เป็นฐานข้อมูล ภาพและเอกสารที่ผู้ใช้ดาวน์โหลดจากฐานข้อมูลนี้นำไปใช้ได้เฉพาะทางการศึกษาและทางส่วนบุคคล ห้ามใช้ในการแจกจ่ายไม่ว่าในรูปแบบใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของงานตามกฎหมาย” แต่โดยทั่วไปแล้วพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บมิได้ระบุข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวกับเจ้าของงานบนหน้าที่แสดงภาพ ในสหรัฐอเมริกากฎหมายลิขสิทธิ์มิได้ครอบคลุมการ reproduce ภาพที่เป็นสมบัติของสาธารณชนแล้วตามการตัดสินของศาลในคดีระหว่าง “ห้องสมุดศิลปะบริดจ์แมน และ บริษัทคอเรล” กรณีเช่นเดียวกันนี้ในบางท้องถิ่นหรือในบางประเทศอาจจะเป็นเช่นสหรัฐอเมริกาแต่ไม่ทั้งหม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีมิสซาที่บอลเซนา

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล พิธีมิสซาที่บอลเซนา (The Mass at Bolsena) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เขียนในปี ค.ศ. 1512 ถึงปี เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับพระราชวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ปาฏิหาริย์ที่โบลเซนา” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องอีลิโอโดโร” (Stanza di Eliodoro) “พิธีมิสซาที่บอลเซนา” แสดงเหตุการณ์ที่เชื่อว่าเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1263 เมื่อนักบวชชาวโบฮีเมียผู้มีความข้องใจในลัทธิความเชื่อในเรื่องการเปลี่ยนสสาร(transubstantiation) เข้าร่วมพิธีมิสซาที่บอลเซนา พบว่าแผ่นปัง(ขนมปังไร้เชื้อ)สำหรับศีลมหาสนิทไหลเป็นเลือดลงมาจากแท่นบูชาเป็นรูปกางเขน นักบวชจึงเลิกมีความเคลือบแคลง ปีต่อมาในปี ค.ศ. 1264 สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 4 จึงได้ประกาศวันสมโภชพระวรกายของพระคริสต์ (Feast of Corpus Christi) เพื่อฉลองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพิธีมิสซาที่บอลเซนา · ดูเพิ่มเติม »

พิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ (ห้องราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล พิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ (ภาษาอังกฤษ: The Coronation of Charlemagne) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเวิร์คช็อพของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ผู้ที่น่าจะเป็นผู้เขียนภาพนี้คือจานฟรานเชสโค เพ็นนิ หรือจุยลิโอ โรมาโน ที่อาจจะเขียนระหว่างปี ค.ศ. 1516 ถึงปี ค.ศ. 1517 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “พิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเพลิงไหม้ในเมือง” (Stanza dell'incendio del Borgo) “พิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ” แสดงภาพพระเจ้าชาร์เลอมาญทรงได้รับพิธีราชาภิเษกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 เมื่อค่ำวันคริสมัสต์ในปี ค.ศ. 800 อาจจะเป็นไปได้ว่าภาพเขียนพาดพิงถึงข้อตกลงโบโลนยา (Concordat of Bologna) ที่เป็นข้อตกลงระหว่างฝ่ายสันตะปาปาและราชอาณาจักรฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1515 เพราะภาพเหมือนของพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 เป็นใบหน้าของสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 และพระพักตร์ของชาร์เลอมาญเป็นพระพักตร์ของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและพิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ (ห้องราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล

“เพอร์ซิโฟเน” โดยดานเต เกเบรียล รอซเซ็ตตี กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล (Pre-Raphaelite Brotherhood หรือ Pre-Raphaelites) เป็นกลุ่มจิตรกร กวี และนักวิจารณ์ศิลปะของอังกฤษทึ่ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

กวัตโตรเชนโต

กวัตโตรเชนโต (Quattrocento แปลว่า "400" หรือจากคำว่า "millequattrocento" ที่แปลว่า "1400") เป็นสมัยศิลปะของปลายยุคกลางโดยเฉพาะในสมัยกอทิกนานาชาติและต้นสมัยฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกวัตโตรเชนโต · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริย์อาเธอร์

รูปปั้นกษัตริย์อาเธอร์ ที่โบสถ์ Hofkirche, Innsbruck, ออสเตรีย ออกแบบโดย Albrecht Dürer และสร้างโดย Peter Vischer ผู้พ่อ ในคริสต์ทศวรรษ 1520Barber, Richard (2004), ''The Holy Grail: Imagination and Belief'', London: Allen Lane, ISBN 978-0713992069. กษัตริย์อาเธอร์ (King Arthur) เป็นกษัตริย์อังกฤษผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตริย์อาเธอร์มีตัวตนอยู่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่Higham, N. J. (2002), King Arthur, Myth-Making and History, ลอนดอน: Routledge, ISBN 978-0415213059.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกษัตริย์อาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กอปโป ดี มาร์โกวัลโด

็อพโพ ดิ มาร์โควาลโด (Coppo di Marcovaldo) (ราว ค.ศ. 1225 - ราว ค.ศ. 1276) เป็นจิตรกรก่อนยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ค็อพโพ ดิ มาร์โควาลโดเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1225 ที่เมืองฟลอเรนซ์ และกล่าวว่าทำงานที่พิสโตเอีย ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกอปโป ดี มาร์โกวัลโด · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกามีย์ ปีซาโร · ดูเพิ่มเติม »

กายวิภาคศาสตร์มนุษย์

รูปแสดงระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในลักษณะธรรมชาติ จากหนังสือ ''Fabrica'' โดยแอนเดรียส เวซาเลียส กายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (Human anatomy) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่เน้นทางด้านการศึกษาโครงสร้างต่างๆที่ประกอบกันเป็นร่างกายของมนุษย์ และเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสี่สาขาหลัก ได้แก่ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) จุลกายวิภาคศาสตร์ (Histology) ประสาทกายวิภาคศาสตร์ (Neuroanatomy) และกายวิภาคศาสตร์การเจริญเติบโต (Developmental anatomy) ในปัจจุบันการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะเน้นไปในด้านการประยุกต์ใช้ และการนำเอาเทคโนโลยีทางด้านอณูชีววิทยามาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

การบวก

แอปเปิล3 + 2.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการบวก · ดูเพิ่มเติม »

การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน

จิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์น้อยซิสทีน พระเจ้าสร้างอาดัม" โดยมีเกลันเจโลก่อนการปฏิสังขรณ์ พระเจ้าสร้างอาดัม" หลังจากที่ได้รับการปฏิสังขรณ์แล้ว การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน (Restoration of the Sistine Chapel frescoes) เป็นโครงการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังภายในที่สำคัญที่สุดในบรรดาโครงการบูรณะศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 โบสถ์น้อยซิสทีนนั้นสมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ทรงให้สร้างขึ้นภายในวังพระสันตะปาปา ณ ด้านเหนือของนครรัฐวาติกัน ติดกับมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ โดยสร้างเสร็จใน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา (ภาษาอังกฤษ: The Meeting of Leo the Great and Attila) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ คนสำคัญชาวอิตาลีที่เขียนในปี ค.ศ. 1514 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ราฟาเอลเขียนภาพนี้โดยมีจุยลิโอ โรมาโนเป็นผู้ช่วย ภาพนี้ตั้งอยู่ภายใน “ห้องเอลิโอโดโร” (Stanza di Eliodoro) ที่ตั้งชื่อตามภาพ “การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด” “การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพที่แสดงการพบปะระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1 และอัตติลา โดยมีนักบุญปีเตอร์และนักบุญพอลแห่งทาซัสปรากฏอยู่บนท้องฟ้าถือดาบ ในตอนแรกราฟาเอลใช้ใบหน้าของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 เป็นแบบสำหรับพระสันตะปาปาเลโอ แต่เมื่อพระสันตะปาปาจูเลียสสิ้นพระชนม์ ราฟาเอลก็เปลี่ยนใบหน้าเป็นพระสันตะปาปาองค์ใหม่--สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

การพบปะที่ทุ่งภูษาทอง

“การพบปะที่ทุ่งภูษาทอง” การพบปะที่ทุ่งภูษาทอง (Field of the Cloth of Gold, Le Camp du Drap d'Or) “ทุ่งภูษาทอง” เป็นชื่อของสถานที่ในเบลิงเฮมระหว่าง Guînes และ Ardres ในฝรั่งเศสไม่ไกลจากคาเลส์ซึ่งเป็นที่พบปะระหว่างพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 7 มิถุนายน จนถึงวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1520 วัตถุประสงค์ของการพบปะระหว่างพระมหากษัตริย์สองพระองค์ก็เพื่อเป็นการเพิ่มสัมพันธไมตรีระหว่างสองราชอาณาจักร หลังจากที่ได้มีการลงนามในสนธิสัญญาในปี ค.ศ. 1518 การใช้วลี “ทุ่งภูษาทอง” เป็นคำที่ใช้โดยทั่วไปในภาษาอังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการพบปะที่ทุ่งภูษาทอง · ดูเพิ่มเติม »

การพิสูจน์โดยไฟของโมเสส (จอร์โจเน)

การพิสูจน์โดยไฟของโมเสส (The Test of Fire of Moses) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี จอร์โจเนเขียนภาพ “การพิสูจน์โดยไฟของโมเสส” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1501 ซึ่งเป็นปีหลังจากที่ย้ายไปเวนิส ภาพการพิสูจน์เป็นภาพที่มีเนื้อหาและขนาดใกล้เคียงกับภาพ “การตัดสินของซาโลมอน” ที่ก็เป็นงานสะสมของหอศิลป์อุฟฟิซิเช่นกัน เนื้อหาของภาพ “การพิสูจน์โดยไฟของโมเสส” มาจากคัมภีร์ทาลมุดและอาจจะเป็นงานที่ได้รับการจ้างให้เขียน โดยผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษาทางวัฒนธรรมอย่างสูงเท่าใดนักและมีได้ปฏิบัติตามหลักทางการของโรมันคาทอลิก การวางภาพตามแนวนอนคล้ายคลึงกันกับงานเขียน “อุปมานิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์” โดยจิโอวานนี เบลลินี ที่ให้ความสำคัญแก่การเขียนภูมิทัศน์ รายละเอียดของการเขียนภูมิทัศน์แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลที่ได้รับจากลักษณะการเขียนทางตอนเหนือของยุโรป.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการพิสูจน์โดยไฟของโมเสส (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

การสวดมนต์ของนักบุญสตีเฟน (ฟราอันเจลิโค)

การสวดมนต์ของนักบุญสตีเฟน (ภาษาอังกฤษ: The Prayer of St. Stephen) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยฟราอันเจลิโคผู้เป็นจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี “การสวดมนต์ของนักบุญสตีเฟน” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1447 ถึงปี ค.ศ. 1450 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ชาเปลนิคโคลิเนที่พิพิธภัณฑ์วาติกันในกรุงโรมในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการสวดมนต์ของนักบุญสตีเฟน (ฟราอันเจลิโค) · ดูเพิ่มเติม »

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น (Early modern warfare) สัมพันธ์กับการที่เริ่มมีการใช้ดินปืนอย่างแพร่หลายและการพัฒนาอาวุธที่เหมาะจะใช้ระเบิด ซึ่งรวมถึงปืนใหญ่และปืนที่ใช้มือถือ (handgun) เช่น ปืนไฟ และต่อมา คือ ปืนคาบศิลา ด้วยเหตุนี้ ยุคนี้จึงสรุปได้ว่าเป็นยุคแห่งการสงครามดินปืน ก่อนหน้าคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีการใช้ดินปืนน้อยมาก แต่เปลี่ยนมาใช้ทั่วไปในสมัยใหม่ตอนต้น โดยพบใช้มากที่สุดระหว่างสงครามนโปเลียน ตั้งแต..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการสงครามสมัยใหม่ตอนต้น · ดูเพิ่มเติม »

การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน

“ชะลอร่างจากกางเขน” โดย รอสโซ ฟิโอเร็นทิโน (Rosso Fiorentino) ค.ศ. 1521 ที่มหาวิหารโวลเทอรรา ในประเทศอิตาลี “ชะลอร่างจากกางเขน” โดยโรเจียร์ แวน เดอ เวย์เด็น ประมาณปี ค.ศ. 1435 สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 220 x 262 เซนติเมตร ที่พิพิธภัณฑ์ปราโด, มาดริด “ชะลอร่างจากกางเขน” ไม้แกะทาสีที่มหาวิหารโวลเทอรรา ในประเทศอิตาลี การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (Descent from the Cross/Deposition from the Cross หรือ Deposition; Αποκαθελωσις, “Apokathelosis”) เป็นฉากที่สร้างในศิลปะเช่นจิตรกรรม หรือ ประติมากรรม เนื้อความมาจากพระวรสารนักบุญจอห์นซึ่งบรรยายการอัญเชิญพระศพพระเยซูลงจากกางเขนหลังจากที่มีการตรึงพระเยซูที่กางเขนแล้ว โดยโยเซฟแห่งอาริมาเธียและนิโคเดมัส (Nicodemus) (ยอห์น).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (บรอนซีโน)

ูบทความหลักที่ ชะลอร่างจากกางเขน ชะลอร่างจากกางเขน (ภาษาอังกฤษ: Deposition of Christ (Bronzino)) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยบรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่เขียนเสร็จระหว่างปี ค.ศ. 1540 ถึงปี ค.ศ. 1545 ภาพลงชื่อ “OPERA DEL BRONZINO FIORENTINO” เดิมได้รับการจ้างให้เขียนสำหรับชาเปลของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด (Eleonora of Toledo) ในวังเว็คคิโอ (Palazzo Vecchio) ในฟลอเรนซ์ แต่สามีโคสิโมที่ 1 เดอ เมดิชิมอบภาพเขียนเป็นของขวัญให้แก่คาร์ดินัลนิโคลัส แกรนเวลล์ (Nicolas Granvelle) ผู้เป็นองคมนตรีของจักรพรรดิชาร์ลส์ที่ 5เพื่อเพิ่มสัมพันธไมตรี เมื่อแกรนเวลล์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1551 ภาพก็ถูกนำไปตั้งที่ชาเปลในเบอซองซงเมืองเกิดของคาร์ดินัล เดิมภาพเขียนมีสองแผงประกบด้านซ้ายเป็นนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์และนักบุญคอสมาสซึ่งปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์จอห์น พอล เก็ตตี ด้านขวาสูญหายไป “ชะลอร่างจากกางเขน” วางพระเยซูกลางภาพประคองโดยพระแม่มารีและนักบุญจอห์นอีแวนเจลิสและนักบุญแมรี แม็กดาเลน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (บรอนซีโน) · ดูเพิ่มเติม »

การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก)

ูบทความหลักที่ ชะลอร่างจากกางเขน ชะลอร่างจากกางเขน (ภาษาอังกฤษ: Deposition of Christ) เป็นจิตรกรรมที่มาจากฉากชะลอร่างจากกางเขนจากฉากชุดชีวิตของพระเยซูที่เขียนโดยฟราอันเจลิโคผู้เป็นจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นคนสำคัญชาวอิตาลี “ชะลอร่างจากกางเขน” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1432 ถึงปี ค.ศ. 1434 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซานมาร์โคที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี จอร์โจ วาซารีบรรยายว่าเป็นภาพที่ “เขียนโดยนักบุญหรือเทวดา” ฟราอันเจลิโคเขียนภาพนี้ต่อจากลอเร็นโซ โมนาโค (Lorenzo Monaco) ที่เริ่มไว้ก่อนหน้านั้นสำหรับชาเปลสตรอซซิ (Strozzi Chapel) ในวัดซานตาทรินิตา เป็นภาพของการประคองร่างของพระเยซูลงจากกางเขนโดยมีนักบุญแมรี แม็กดาเลนคุกเข่าโศรกเศร้าอยู่ข้างล่างทางด้านซ้ายของภาพ และทางด้านขวามีชายสวมหมวกแดงใส่เสื้อยาวขาวยืนถือตาปูและมงกุฏหนามอยู่ในมือที่เป็นสัญลักษณ์ของทุกขกิริยาและความเสียสละ พระแม่มารีสรวมเสื้อสีเข้มในท่าสำรวมอยู่ข้างหลังนักบุญแมรี แม็กดาเลน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก) · ดูเพิ่มเติม »

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด (ภาษาอังกฤษ: The Expulsion of Heliodorus from the Temple) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่อาจจะเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1511 ถึงปี ค.ศ. 1512 ภาพนี้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาการจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ที่ปัจจุบันเรียกกันว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเฮลิโอโดรัส” (Stanza di Eliodoro) ซึ่งเป็นชื่อที่ภาพได้รับ การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดเป็นภาพจาก 2 มัคคาบี (3:21-28) จากพันธสัญญาเดิม เมื่อ พระเจ้าเซลิวคัสที่ 4 ฟิโลพาทอร์แห่งซีเรีย (Seleucus IV Philopator) มีพระราชโองการให้เฮลิโอโดรัส (Heliodorus) ให้ยึดทรัพย์สมบัติของวัดแห่งเยรุซาเล็ม แต่ถูกขับออกจากวัดโดยพระเจ้าที่ทรงส่งนายอาชาและผู้ช่วยสองคนมาขับไล่ออกจากวั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการขับเฮลิโอโดรัสจากวัด · ดูเพิ่มเติม »

การข่มขืนสตรีชาวซาบีน

“การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยจามโบโลนยา ภาพแกะเดียวกับประติมากรรมที่ลอจเจียเดอิลันซิในฟลอเรนซ์ “การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยโยฮันน์ ไฮน์ริค เชินเฟลด์ (Johann Heinrich Schönfeld) การข่มขืนสตรีชาวซาบีน (The Rape of the Sabine Women) เป็นส่วนหนึ่งของตำนานประวัติศาสตร์โรมที่กล่าวว่าชาวโรมันรุ่นแรกไปเอาภรรยามาจากซาบีนที่อยู่ไม่ไกลนัก (ในบริบทนี้ “การข่มขืน” หมายถึง “การลักพา” หรือ “Rape” ที่มีรากมาจากคำว่า “raptio” ไม่ใช่ในความหมายของการข่มขืนที่เข้าใจกันในสมัยปัจจุบัน) จากคำบอกเล่าของนักประวัติศาสตร์โรมันไททัส ลิวิอัส และพลูทาร์ค (ในหนังสือ “Parallel Lives” II, 15 และ 19) หัวข้อนี้เป็นหัวข้อที่นิยมกันในการสร้างงานศิลปะในยุคเรอเนสซองซ์และต่อมา ซึ่งเป็นการใช้หัวเรื่องในการสื่อความหมายที่ส่งเสริมให้เกิดแรงบันดาลใจในทางความกล้าหาญของชาวโรมันโบราณและสำหรับศิลปินก็เป็นโอกาสที่จะสร้างภาพที่ประกอบด้วยคนหลายคนที่รวมทั้งร่างสตรีที่กำลังต่อสู้ดิ้นรน หัวเรื่องในทำนองเดียวกันจากสมัยโรมันโบราณก็ได้แก่ยุทธการระหว่างลาพิธและเซนทอร์ (Lapith) และหัวเรื่อง สงครามอะเมซอน (Amazonomachy) ซึ่งเป็นยุทธการระหว่างเธเซียสและนักรบอะเมซอน หรือเทียบได้กับตำนานคริสต์ศาสนาในหัวข้อการสังหารเด็กบริสุทธิ์ (Massacre of the Innocents).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการข่มขืนสตรีชาวซาบีน · ดูเพิ่มเติม »

การคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)

ระเยซูคืนชีพ (Resurrection) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองซานเซพอลโครในประเทศอิตาลี “พระเยซูคืนชีพ” เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนราวปี ค.ศ. 1460 ชื่อภาพเป็นนัยถึงชื่อของเมืองซานเซพอลโครที่เป็นชื่อที่ตั้งตาม “วัดโฮลีเซพัลเครอ” (Church of the Holy Sepulchre) ที่เมืองเยรุซาเล็มที่เชื่อกันว่าเป็นที่ฝังพระศพของพระเยซู เพราะเมืองซานเซพอลโครเป็นเจ้าของวัตถุมงคลสองชิ้นที่นักแสวงบุญสองคนไปนำมาจากกรุงเยรุซาเล็มในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และพระเยซูเองก็เป็นส่วนหนึ่งของตราประจำเมือง ในภาพพระเยซูยืนตรงกลางภาพในขณะที่ทรงฟื้นจากความตายซึ่งจะเห็นได้จากท่าที่ทรงก้าวขึ้นมาโดยมีพระบาทข้างหนึ่งบนวางอยู่บนระเบียงเตี้ยๆ ลักษณะพระวรกายเป็นแบบไอคอนที่แข็งนิ่ง ทรงยืนเหนือทหารสี่คนที่นอนหลับใหลอยู่ ทำให้เห็นถึงของความแตกต่างระหว่างมวลมนุษย์และเทพ (หรือความตายที่ถูกพิชิตโดยความสว่างจากพระเยซู) ภูมิทัศน์ที่เป็นแสงตอนรุ่งอรุณก็มีคุณค่าทางสัญลักษณ์ ความแตกต่างอย่างอื่นในภาพก็คือความแตกต่างระหว่างต้นไม้ที่มีใบสะพรั่งทางขวาและต้นไม้ที่ไม่มีใบทางซ้ายซึ่งหมายถึงการฟื้นตัวของมนุษย์ที่เกิดจากแสงแห่งการฟื้นตัวของพระเยซู เชื่อกันว่าทหารใส่เสื้อเกราะสีน้ำตาลทางขวาของพระเยซูเป็นภาพเหมือนตนเองของเปียโร หัวของเปียโรสัมผัสกับคธาที่พระเยซูทรงถือซึ่งอาจจะหมายถึงการสัมผัสระหว่างเปียโรกับพระเจ้า ซานเซพอลโครรอดมาจากการถูกระเบิดระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะผู้บัญชาการกองทหารอังกฤษที่มีหน้าที่ในการระเบิดจำได้ว่าได้อ่านบทความของอัลดัส ฮักซลีย์ที่บรรยายภาพ “พระเยซูคืนชีพ” ว่าเป็นภาพเขียนที่งดงามที่สุดในโลก แม้ไม่เคยเห็นรูปที่ว่ากัปตันแอนโทนี คล้าคก็ห้ามการระเบิดเมืองซานเซพอลโคไว้ทัน แต่อันที่จริงแล้วในขณะนั้นทหารเยอรมันก็ถอยตัวไปแล้ว ถ้าระเบิดเมืองก็เป็นการกระทำที่ไร้ประโยชน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

การคืนพระชนม์ของพระคริสต์ (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ พระเยซูคืนชีพ พระเยซูคืนชีพ หรือ พระเยซูคืนชีพคินแนร์ด (ตามชื่อลอร์ดคินแนร์ดเจ้าของเดิม) (ภาษาอังกฤษ: Resurrection of Christ หรือ The Kinnaird Resurrection) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เซาเปาลูในประเทศบราซิล ราฟาเอลเขียนภาพ “พระเยซูคืนชีพ” ระหว่างปี ค.ศ. 1499 ถึงปี ค.ศ. 1502 และอาจจะเป็นภาพหนึ่งในบรรดาภาพแรกๆ ที่ราฟาเอลเขียน อาจจะเป็นภาพบนส่วนหนึ่งของฐานแท่นบูชา (predella) แต่ไม่ทราบว่าสำหรับแท่นบูชา แต่ก็มีผู้เสนอว่าอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของ แท่นบูชาบารอนชิ (Baronci altarpiece) ซึ่งเป็นงานแรกที่มีหลักฐานว่าเป็นงานจ้างชิ้นแรก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการคืนพระชนม์ของพระคริสต์ (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติวิทยาศาสตร์

การปฏิวัติวิทยาศาสตร์เป็นการกำเนิดของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ระหว่างสมัยใหม่ตอนต้น เมื่อพัฒนาการในวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ ชีววิทยา (รวมกายวิภาคศาสตร์มนุษย์) และเคมีเปลี่ยนมุมมองของสังคมและธรรมชาติ การปฏิวัติวิทยาศาสตร์เริ่มต้นในทวีปยุโรปในช่วงปลายสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและต่อเนื่องตลอดปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 มีอิทธิพลต่อขบวนการสังคมปัญญาชื่อ ยุคเรืองปัญญา แม้วันที่ยังพิพาทอยู่ แต่มักอ้างการตีพิมพ์ ว่าด้วยการปฏิวัติทรงกลมสวรรค์ (De revolutionibus orbium coelestium, On the Revolutions of the Heavenly Spheres) ของนิโคลัส โคเปอร์นิคัสเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ และการสิ้นสุดถือว่าเป็น "การสังเคราะห์ใหญ่" ของปรินซิเปีย ใน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ) · ดูเพิ่มเติม »

การประสูติของพระเยซู (คอร์เรจจิโอ)

ูบทความหลักที่ การประสูติของพระเยซู การประสูติของพระเยซู หรือ การชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ (ภาษาอังกฤษ: Nativity หรือ Adoration of the Shepherds หรือ Holy Night) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญจากปาร์มาในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนที่เดรสเด็นในประเทศเยอรมันี อันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอ เขียนภาพ “การประสูติของพระเยซู” เสร็จราวปี ค.ศ. 1529 ถึงปี ค.ศ. 1530 งานนี้ได้รับจ้างเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1522 โดยอัลเบิร์ตโต ปราโตเนริสำหรับชาเปลของตระกูลในวัดพรอสเพอร์ที่เร็จจิโอ เอมีเลีย ภาพเขียนตั้งอยู่ในชาเปลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1530 จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1640 เมื่อถูกย้ายไปโมดีนา โดยฟรานเชสโคที่ 1 เดสเต ดยุคแห่งโมดีนาและเร็จจิโอ (Francesco I d'Este Duke of Modena and Reggio) หลังจากนั้นก็ถูกนำไปเดรสเด็นในปี ค.ศ. 1746 คอร์เรจจิโอในยุคที่ตามมาหลังจากจิตรกรคนสำคัญๆ เช่นทิเชียนตีความหมายของฉากชีวิตของพระเยซูฉากนี้ที่เห็นได้จากความเด่นในการใช้แสง ศูนย์กลางจุดสนใจของภาพอยู่รอบพระบุตรที่โอบอยู่ในวงแขนของพระแม่มารี โดยมีกลุ่มคนเลี้ยงแกะยืนอยู่ทางซ้าย ชายที่มีหนวดยืนอยู่ในท่าเดียวกับนักบุญเจอโรมในภาพ “พระแม่มารีกับนักบุญเจอโรม” ที่คอร์เรจจิโอเขียนในปี ค.ศ. 1523 ทางด้านขวาเป็นสัตว์ต่างๆ ที่มักจะปรากฏในฉากการประสูติของพระเยซู (Nativity scene) และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ บนมุมซ้ายเป็นเทวดาที่คล้ายกับเทวดาที่คอร์เรจจิโอวาดในมหาวิหารปาร์มาที่เขียนในปีเดียวกัน งานนี้อาจจะเป็นงานที่เป็นการศึกษาของลอมบาร์ดเกี่ยวกับการใช้แสงและใช้เป็นตัวอย่างโดยจิตรกรเช่นคามิลโล โปรคาชชินิ (Camillo Procaccini), ลูคา คัมบิอาซิ (Luca Cambiasi), จุยโด เรนิ (Guido Reni) และ โดเม็นนิโค แซมเปียริ (Domenico Zampieri) และแม้แต่ต่อมาโดย เฟเดอริโค บารอชชิ (Federico Barocci) และ คาร์โล มารัตตา (Carlo Maratta).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการประสูติของพระเยซู (คอร์เรจจิโอ) · ดูเพิ่มเติม »

การปลดปล่อยนักบุญเปโตร (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล การปลดปล่อยนักบุญปีเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Deliverance of Saint Peter) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่เขียนในปี ค.ศ. 1514 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาการวาดภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน “การปลดปล่อยนักบุญปีเตอร์” เป็นงานจิตรกรรมฝาผนังส่วนหนึ่งของห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “การปลดปล่อยนักบุญปีเตอร์” ตั้งอยู่ภายใน “ห้องเอลิโอโดโร” (Stanza di Eliodoro) ที่ตั้งชื่อตามภาพเขียน “การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด” ภาพแบ่งเป็นสามตอนแสดงการปลดปล่อยของนักบุญปีเตอร์จากคุกของเฮรอดโดยเทวดาที่บรรยายในกิจการ 12.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการปลดปล่อยนักบุญเปโตร (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

การนมัสการของโหราจารย์ (บอตตีเชลลี)

การนมัสการของโหราจารย์ (Adoration of the Magi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลี ผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันอยู่แสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุฟฟีซีในเมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี หัวเรื่องการนมัสการของโหราจารย์เป็นหัวข้อที่นิยมเขียนกันในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี เป็นงานที่กาสปาเร ดิ ซาโนบิ เดล ลามาเป็นผู้จ้าง เดล ลามาเป็นนายธนาคารที่มีเบื้องหลังออกจะลึกลับและมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลเมดีชี สำหรับชาเปลส่วนตัวในโบสถ์ซันตามาเรียโนเวลลา (ทำลายไปแล้ว) ภาพนี้ประกอบด้วยบุคคลหลายคนในภาพจากตระกูลเมดีชีที่รวมทั้ง: โกซีโม เด เมดีชี (โหราจารย์ที่คุกเข่าต่อหน้าพระแม่มารีย์ที่บรรยายโดยวาซารีว่า “the finest of all that are now extant for its life and vigour”), ลูกชายสามคนปีเอโร (โหราจารย์คนที่สองที่คุกเข่าตรงกลางสวมเสื้อคลุมแดง) และโจวันนี (โหราจารย์คนที่สาม) และหลานจูเลียโน ดิ เปียโร เดอ เมดิชิ และโลเรนโซ เด เมดีชี เมดีชีสามคนที่เป็นโหราจารย์เสียชีวิตไปแล้วเมื่อบอตตีเชลลีเขียนภาพนี้ และขณะนั้นโลเรนโซเป็นผู้ปกครองฟลอเรนซ์ ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” จอร์โจ วาซารีบรรยายภาพนี้ว่า: “ความงามของภาพเหมือนของบุคคลต่างๆ ในภาพนี้เกินกว่าที่จะบรรยายได้, แต่ละคนก็ต่างกันออกไป, บางก็ด้านหน้าตรง, บ้างก็เป็นด้านข้าง, บ้างก็เป็นสามส่วน, บ้างก็ก้มลง และท่าทางอื่นๆ ขณะที่ความรู้สึกที่แสดงออกบนใบหน้าทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ก็ต่างกันออกไป ที่เป็นการแสดงความสามารถของจิตรกรผู้มีความเชี่ยวชาญในงานที่สร้าง ซานโดรแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งถึงความแตกต่างของชุดที่มากับกษัตริย์แต่ละองค์ งานชิ้นนี้เป็นงานที่มีคุณค่าทั้งในการใช้สี, การออกแบบ และการวางองค์ประกอบของภาพ” เดล ลามาในภาพเป็นชายสูงอายุที่มีผมขาวสวมเสื้อสีฟ้าอ่อนที่มองมายังผู้สังเกตการณ์และชี้ไปอีกทางหนึ่งด้วยมือขวา นอกจากนั้นกล่าวกันว่าซานโดรเขียนตัวเองในภาพด้วย เป็นชายที่สวมเสื้อเหลืองทางขวาสุดของภาพ รายละเอียดต่างของภาพเช่นเครื่องแต่งกายแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของซานโดรที่ได้รับจากตระกูลการเขียนแบบเฟล็มมิชในช่วงเวลานี้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการนมัสการของโหราจารย์ (บอตตีเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) เป็นกรณีหรือกระบวนการโอนความเป็นเจ้าของธุรกิจ วิสาหกิจ หน่วยงาน บริการสาธารณะหรือทรัพย์สินจากภาครัฐ (รัฐหรือรัฐบาล) มาเป็นภาคเอกชน (ธุรกิจซึ่งดำเนินการเพื่อกำไรส่วนตน) หรือองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน คำดังกล่าวยังใช้ในความหมายที่แตกต่างออกไปด้วย โดยหมายถึง การที่รัฐบาลจ้างบริษัทเอกชนทำงานแทน เช่น การเก็บรายได้และภาษีอากร การบังคับใช้กฎหมาย การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการเรือนจำหรือสถานคุมขังกักกัน การแปรรูปกิจการของรัฐโดยทั่วไปเชื่อกันว่าจะเพิ่มผลผลิต กำไรและประสิทธิภาพขององค์การที่ถูกแปรรูป.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน · ดูเพิ่มเติม »

การโต้แย้งเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์

ูบทความหลักที่ ศีลศักดิ์สิทธิ์ ปุจฉาวิสัชนาเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์ (ภาษาอังกฤษ: Disputation of the Holy Sacrament หรือ La disputa del sacramento หรือ La disputa) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1509 ถึงปี ค.ศ. 1510 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ปุจฉาวิสัชนาเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเซนยาทูรา” (Stanza della Segnatura) ซึ่งเป็นห้องสมุดส่วนพระองค์ของพระสันตะปาปาที่ใช้เป็นทีประชุมของศาลของพระสันตะปาปา (อาดัมส์ 344) ภาพ “ปุจฉาวิสัชนาเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์” มาจากงานของนักประวัติศาสตร์ศิลปะลอรี อาดัมส์ ในภาพราฟาเอลสร้างภาพที่มีทั้งสวรรค์และนรก ด้านบนของภาพมีพระเยซูล้อมรอบด้วยพระแม่มารี, นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ และบุคคลอื่นๆ จากพระคัมภีร์เช่นอาดัม, โมเสส และ เจคอป พระเจ้าประทับอยู่เหนือพระเยซูเป็นการแสดงว่าทรงผู้ครองสวรรค์ ด้านล่างมีตาลปัตรใส่ขนมปังศักดิ์สิทธิ์ (monstrance) วางกลางบนแท่นบูชา สองข้างแท่นบูชาเป็นนักคริสต์ศาสนวิทยาถกเถียงกันเรื่องการแปรรูปของพระเยซู (Transubstantiation) (อาดัมส์ 345) การใช้ยูคาริสต์เป็นสัญลักษณ์แทนร่างของพระเยซูเป็นหัวเรื่องของการปุจฉาวิสัชนา ในบรรดานักคริสต์ศาสนวิทยาก็มีสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2, สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4, จิโรลาโม ซาโวนาโรลา (Girolamo Savonarola) และดานเต อลิเกียริ (Dante Alighieri) พระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ทรงฉลองพระองค์สีทองอยู่ทางล่างขวาของภาพโดยมีดานเตอยู่ข้างหลังใส่เสื้อสีแดงและสวมมงกุฏลอเรลซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ (อาดัมส์ 346) ทางมุมล่างซ้ายผู้ที่เป็นชายศีรษะล้านยืนอ่านหนังสือพิงราวระเบียงคือ โดนาโต ดันเจโล บรามันเตสถาปนิกคนสำคัญผู้ที่เป็นที่นับถือของราฟาเอล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการโต้แย้งเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล

การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล (Fall of Constantinople) เกิดขึ้นหลังจากที่คอนสแตนติโนเปิลถูกล้อมและยึดเมืองได้โดยสุลต่านเมห์เมดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่นำโดยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 การล้อมเริ่มตั้งแต่พฤหัสบดีที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1453 และสิ้นสุดลงเมื่อวันอังคารที่ 29 พฤษภาคมของปีเดียวกัน (ตามปฏิทินจูเลียน) การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิลเท่ากับเป็นการสิ้นสุดอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่รุ่งเรืองมากว่าพันหนึ่งร้อยปี ที่ขณะนั้นก็เริ่มแตกแยกกันปกครองโดยราชวงศ์กรีกหลายราชวงศ์ หลังจากการขึ้นครองราชย์ของสุลต่านเมห์เมดแล้ว พระองค์ก็ทรงเพิ่มความกดดันต่อคอนสแตนติโนเปิลโดยการทรงสร้างเสริมป้อมปราการตามชายฝั่งช่องแคบดาร์ดะเนลส์ (Dardanelles) เมื่อวันที่ 2 เมษายน พระองค์ก็ทรงเข้าล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลพร้อมด้วยกองทัพราวระหว่าง 80,000 ถึง 200,000 คน ตัวเมืองมีทหารรักษาราว 7,000 คนในจำนวนนั้น 2,000 เป็นชาวต่างประเทศ การล้อมเริ่มต้นด้วยการโจมตีด้วยการยิงกำแพงเมืองอย่างรุนแรงจากฝ่ายออตโตมันขณะที่กองทหารอีกจำนวนหนึ่งไปยึดที่ตั้งมั่นของฝ่ายไบแซนไทน์ในบริเวณนั้น แต่ความพยายามที่ปิดเมืองในระยะแรกโดยฝ่ายออตโตมันไม่ประสบความสำเร็จ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เรือกองหนุนของฝ่ายคริสเตียนสี่ลำเดินทางเข้าไปยังคอนสแตนติโนเปิลได้ สุลต่านเมห์เมดจึงมีพระราชโองการให้นำเรือของพระองค์เข้าไปยังแหลมทอง (Golden Horn) โดยการลากขึ้นไปบนขอนไม้ที่ทำให้ลื่น ความพยายามของฝ่ายไบแซนไทน์ที่จะเผาเรือจึงไม่สำเร็จและสามารถทำให้ฝ่ายออตโตมันในที่สุดก็ปิดเมืองได้ การโจมตีกำแพงเมืองของฝ่ายตุรกีได้รับการโต้ตอบอย่างเหนียวแน่นจากฝ่ายไบแซนไทน์ที่ทำให้ต้องเสียกองกำลังไปเป็นจำนวนมาก และความพยายามที่จะระเบิดกำแพงเมืองลงก็ได้รับการตอบโต้เช่นกันจนในที่สุดก็ต้องเลิก สุลต่านเมห์เมดทรงเสนอว่าจะยุติการล้อมเมืองถ้าคอนสแตนติโนเปิลยอมให้พระองค์เข้าเมืองแต่ก็ไม่เป็นผล เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ก็เกิดจันทรุปราคาที่เป็นลางถึงการเสียเมือง สองสามวันต่อมาจักรพรรดิคอนสแตนตินก็ทรงได้รับข่าวว่าจะไม่มีกองหนุนจากสาธารณรัฐเวนิสมาช่วย หลังเที่ยงคืนของวันที่ 29 พฤษภาคมกองทัพออตโตมันก็เข้าโจมตีกำแพงเมือง ระลอกแรกไม่ประสบความสำเร็จ ระลอกสองสามารถเจาะกำแพงทางตอนเหนือได้ แต่ฝ่ายไบแซนไทน์ก็สามารถตีฝ่ายออตโตมันกลับไปได้และสามารถยืนหยัดต่อต้านกองทหารชั้นเอก Janissaries ของตุรกีได้ ระหว่างการต่อสู้จิโอวานนิ จุสติเนียนินายทัพจากเจนัวก็ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนต้องถอยกลับไปยังเรือกับกองทหารและเสียชีวิตในที่สุด ทางด้านจักรพรรดิคอนสแตนตินพระองค์และกองทหารก็ดำเนินการต่อต้านต่อไปจนกระทั่งฝ่ายตุรกีเปิดประตูเมืองและบุกเข้าไปในเมืองพร้อมกับกองทหารเป็นจำนวนมากได้ กล่าวกันว่าจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงถูกสังหารระหว่างการต่อสู้แต่ก็มิได้พบพระวรกายของพระองค์ จากนั้นฝ่ายตุรกีก็ปล้นเมือง การเสียเมืองครั้งนี้เป็นการสิ้นสุดอำนาจการปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์โดยสิ้นเชิงหลังจากที่รุ่งเรืองมากว่า 1,100 ปี และเป็นความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ของคริสต์ศาสนจักร สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ทรงมีโองการให้โจมตีโต้ตอบทันทีแต่พระองค์ก็มาสิ้นพระชนม์ไม่นานหลังจากที่ทรงวางแผน สุลต่านเมห์เมดทรงประกาศให้คอนสแตนตินโนเปิลเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิของพระองค์ และทรงดำเนินการโจมตีและพิชิตอาณาจักรของไบแซนไทน์อีกสองอาณาจักรได้--อาณาจักรเดสโพเททแห่งโมเรียและจักรวรรดิเทรบิซอนด์ ชาวกรีกที่ยังเหลืออยู่ในคอนสแตนตินโนเปิลก็หนีไปยังส่วนต่างๆ ของยุโรปโดยเฉพาะอิตาลี การเคลื่อนย้ายของประชากรครั้งนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นเชื้อเพลิงที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา นักวิชาการบางคนมีความเห็นว่าการเสียเมืองคอนสแตนตินโนเปิลเป็นเหตุการณ์หลักที่นำไปสู่การสิ้นสุดของยุคกลาง และบางท่านก็ใช้เหตุการณ์นี้เป็นเครื่องหมายของการสิ้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จเยี่ยม (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ การเสด็จเยี่ยม การเสด็จเยี่ยม (Visitation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ปราโด มาดริดในประเทศสเปน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1837 ราฟาเอลเขียน “การเสด็จเยี่ยม” เสร็จราวปี ค.ศ. 1517 ที่เป็นภาพพระแม่มารีย์เสด็จไปเยี่ยมนักบุญเอลิซาเบธเพื่อจะบอกข่าวการทรงครรภ์ของนาง เป็นงานที่จ้างโดยโจวันบัตติสตา บรันโกนีโอ เดลลากวีลา (Giovanbattista Branconio dell'Aquila) ตามคำขอจากมารีโนบิดาสำหรับชาเปลประจำตระกูลที่โบสถ์ซันซิลเวสเตรเดโอกีลา (ภรรยาของมาริโนชื่อเอลิซาเบธ) ต่อมาพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปนทรงซื้อในปี ค.ศ. 1655 และทรงนำไปไว้ที่เอลเอสโกเรียล (El Escorial).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและการเสด็จเยี่ยม (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

กาตาเนีย

กาตาเนีย (Catania) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของแคว้นปกครองตนเองซิซิลี ตั้งอยู่บนชายฝั่งทิศตะวันออกของทะเลไอโอเนียน เป็นเมืองหลวงของมหานครกาตาเนีย เป็นเมืองใหญ่ 1 ใน 10 ของอิตาลี และเป็นมหานครใหญ่เป็นอันดับ 7 ของอิตาลี มีประชากร 313,000 คน และประชากรของเขตเมืองขยาย ประมาณ 767,003 คน และเขตมหานครมีประชากร 1,115,310 คน กาตาเนียเป็นที่รู้จักจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ได้รับความเสียหายอย่างหนักจากแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 1169 และ ค.ศ. 1693 มีการปะทุของภูเขาไฟที่เกิดจากภูเขาไฟเอตนา มีเหตุรุนแรงที่สุดเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกาตาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน (Caterina van Hemessen; ค.ศ. 1528 - หลังจาก ค.ศ. 1587) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินเป็นจิตรกรสตรีเฟลมิชคนแรกที่มีหลักฐานทางการเขียน และเช่นเดียวกับจิตรกรสตรีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนอื่น ๆ ที่เป็นบุตรีของจิตรกรยัน ซันเดิร์ส ฟัน เฮเมิสเซิน (Jan Sanders van Hemessen) ผู้คงจะเป็นครูผู้สอนให้กาเตรีนาเขียน กาเตรีนาเขียนภาพเหมือนของผู้คนผู้มีฐานะดีทั้งหญิงและชายที่มักจะมีฉากหลังเป็นสีมื.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)

กำเนิดวีนัส (The Birth of Venus) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “กำเนิดวีนัส” ระหว่างปี ค.ศ. 1484 ถึงปี ค.ศ. 1486 ที่เป็นภาพของวีนัสลอยมาเกยฝั่งอย่างผู้หญิงเต็มตัว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิดวีนัส (ทิเชียน)

กำเนิดวีนัส (Venus Anadyomene) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดย ทิเชียน เมื่อราวปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและกำเนิดวีนัส (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

ฐานฉากแท่นบูชา

นฉากแท่นบูชา (Predella) เป็นแท่นที่ใช้ตั้งฉากแท่นบูชา “Predella” ในภาษาอิตาลีหมายถึงม้าที่ใช้คุกเข่า ในงานศิลปะ “ฐานฉากแท่นบูชา” หมายถึงจิตรกรรมหรือประติมากรรมที่อยู่ใต้กรอบล่างของฉากแท่นบูชา ฉากแท่นบูชาในปลายยุคกลางและยุคเรอเนสซองซ์มักจะมีฉากสำคัญอยู่เหนือ “ฐานฉากแท่นบูชา” ที่เป็นภาพขนาดเล็กกว่ามากที่เป็นภาพเรื่องราวที่อาจจะเป็นเรื่องจากชีวิตของพระเยซู, ชีวิตของพระแม่มารี หรือชีวิตของนักบุญ ตามปกติแล้วก็อาจจะมีสามถึงห้าภาพตามแนวนอนแต่บางครั้งก็จะเป็นเพียงภาพเดียว การเขียนหรือสร้างฐานฉากแท่นบูชาจะแตกต่างจากการวาดภาพหลักเพราะเป็นภาพที่ผู้ชมต้องมาจ้องดูใกล้ๆ ศิลปินจะรู้สึกมีอิสระในการสร้างงานมากกว่าภาพหลัก เมื่องานในฉากหลักมีความสำคัญขึ้น ความสำคัญของฐานก็ลดน้อยลงตามลำดับและในที่สุดก็หายไปเลยในสมัยแมนเนอริสม์ และยิ่งหาดูได้ยากหลังจากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฐานฉากแท่นบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนผู้อุทิศ

“การชื่นชมของพระบุตร” ฌอง เฮย์ ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ ภาพเหมือนผู้อุทิศ หรือ ภาพรวมผู้อุทิศ (donor portrait หรือ votive portrait) คือภาพเหมือนในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย “ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ แต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้างศิลปะคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจากยุคกลาง และยุคเรอเนสซองซ์ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาดทัศนมิติ เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือบางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนผู้อุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี)

หมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (ภาษาอังกฤษ: Portrait of a Man with a Medal of Cosimo the Elder) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส” ระหว่างปี ค.ศ. 1474 ถึงปี ค.ศ. 1475 เมื่อบอตติเชลลีเขียนภาพเสร็จก็จะเห็นอิทธิพลของอันโตนิโอ พอลลาอูโล (Antonio Pollaiuolo) ได้อย่างชัดเจนและในการใช้ความอ่อนไหวของเส้นที่ทำให้เห็นความกระวนกระวายของความรู้สึกที่ออกมาจากภาพ ชายที่เป็นแบบไม่ทราบกันว่าเป็นใครแต่เป็นภาพเหมือนที่ไม่เหมือนภาพเหมือนใดในสมัยต้นเรอเนซองส์ ผู้นั่งแบบมองตรงมายังผู้ชมภาพในมือถือเหรียญที่เป็นภาพด้านข้างของโคสิโม เดอ เมดิชิผู้ที่เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1464 บอตติเชลลีทำตัวเหรียญด้วยพลาสเตอร์หล่อปิดทอง ภาพเหมือนเป็นภาพครึ่งตัวที่ฉากหลังเป็นภูมิทัศน์กว้างไกลที่เห็นแม่น้ำอยู่ลิบๆ ที่สว่างซึ่งเป็นลักษณะการเขียนแบบเฟล็มมิช ศีรษะของตัวแบบอยู่เหนือขอบฟ้าโดยมีแสงส่องจากทางด้านซ้ายของภาพทำให้เน้นใบหน้าที่คมคาย เงาเข้มทางด้านข้างของใบหน้าอยู่ใกล้กับผู้ชมภาพ ฝีมือวาดมือที่ไม่ค่อยดีนักแสดงให้เห็นว่ายังเป็นการทดลองเขียนและเป็นภาพเหมือนภาพแรกๆ ของภาพเหมือนที่เขียนในอิตาลีที่รวมการวาดมือในภาพด้วย เหรียญที่ระลึกของโคสิโมสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1465 ถึงปี ค.ศ. 1470 ซึ่งทำให้เกิดการสันนิษฐานกันไปต่างๆ ว่าผู้นั่งเป็นแบบเป็นใครแต่ก็ยังสรุปไม่ได้ว่าจะเป็นญาติสนิทหรือผู้สนับสนุนตระกูลเมดิชิ (ภาพเป็นของงานสะสมชิ้นหนึ่งของคาร์ดินัลคาร์โล เดอ เมดิชิ) หรืออาจจะเป็นน้องชายของบอตติเชลลีผู้เป็นช่างทองและช่างทำเหรียญของตระกูลเมดิชิก็ได้ นักวิชาการบางคนเสนอว่าอาจจะเป็นบอตติเชลลีเองเพราะใบหน้าแบบคล้ายคลึงกับภาพเหมือนตนเองในภาพ “การประสูติของพระเยซู” ที่บาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่ฟลอเรนซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ)

หมือนของชายหนุ่ม (Portrait of Young Man) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่วังพิตติที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “ภาพเหมือนของชายหนุ่ม” ที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีราวระหว่างปี ค.ศ. 1470 ถึงปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพที่เดิมมีการถกเถียงกันว่าผู้ใดเป็นผู้เขียนอยู่เป็นเวลานานจนในที่สุดจึงตกลงกันว่าเป็นงานเขียนของบอตติเชลลี ซึ่งเป็นภาพเหมือนภาพแรกของท่าสามส่วนสี่ของศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา)

หมือนของหญิงสาว หรือ ลา ฟอร์นารินา (Portrait of a Young Woman หรือ La fornarina) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โบราณแห่งชาติ, โรมในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา) ” ระหว่างปี ค.ศ. 1518 ถึงปี ค.ศ. 1519 ภาพเขียนนี้อาจจะอยู่ในห้องเขียนภาพของราฟาเอลเมื่อราฟาเอลเสียชีวิต และอาจจะได้รับการแต่งเติมก่อนจะขายโดยผู้ช่วยจูลีโอ โรมาโน ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาพเขียนอยู่ที่บ้านของเคานเตสแห่งซานตาฟิโอราขุนนางสตรีชาวโรมัน ต่อมาตกไปเป็นของดยุคแห่งบอนคอมพายีและต่อมาหอศิลป์โบราณแห่งชาติที่เป็นที่ตั้งปัจจุบัน สตรีในภาพกล่าวกันว่าเป็น “คนอบขนม” (fornarina) มาร์เกอริตา ลูติลือกันว่าเป็นคนรักของราฟาเอล แต่ความหมายของภาพยังไม่เป็นที่ตกลงกันฉะนั้นความหมายที่แท้จริงก็ยังคงสรุปไม่ได้ สตรีในภาพโพกผมอย่างตะวันออกและเปลือยหน้าอกแต่ใช้มือปิดหน้าอกซ้ายหรืออาจจะเพียงยกมือขึ้นเฉยๆ และมีแสงที่ไม่ใช่แสงธรรมชาติที่ส่องร่างมาจากทางซ้ายของภาพ แขนซ้ายคาดด้วยแถบเล็กๆ ที่มีชื่อลายเซ็นของราฟาเอล “RAPHAEL URBINAS” (“ราฟาเอลแห่งเออร์บิโน”) นักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักวิชาการถกเถียงกันว่ามือขวาบนหน้าอกซ้ายทำให้เห็นเนื้องอกที่หน้าอกซ่อนอยู่ในการนั่งวางท่าอย่างคลาสสิกของการแสดงความรัก สายตาที่เพ่งมายังผู้ดูก็ยิ่งเป็นการเน้นถึงความไม่เป็นธรรมชาติขององค์ประกอบของภาพทั้งหมด การศึกษาด้วยเอ็กซ-เรย์พบว่าฉากหลังเดิมเป็นภูมิทัศน์แทนที่จะเป็นพุ่มเมอร์เติล (myrtle) ซึ่งเป็นพุ่มไม้ศักดิ์สิทธิ์ของวีนัสเทพแห่งความรักและความใคร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา

หมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา (Portrait of Sigismondo Pandolfo Malatesta) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส “ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด” เป็นงานที่เขียนราว ค.ศ. 1451 เป็นภาพเหมือนของผู้นำที่มาจากการเป็นทหารรับจ้างและขุนนางชาวอิตาลีซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาผู้ครองริมินี, ฟาโน และ เซเซนา เป็นภาพด้านข้างของซิกิสมอนโดที่กล่าวกันว่าอาจจะเขียนตามแบบบนเหรียญที่เขียนในปี ค.ศ. 1445 โดยปิซาเนลโล หรือตามงานเขียนโดยมัตเตโอ เดปัสติในปี ค.ศ. 1450 เปียโรเขียนภาพนี้ระหว่างพำนักอยู่ที่ริมินิ ระหว่างนั้นก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังโดยมีซิกิสมอนในภาพคุกเข่าต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์ ในภาพ “ซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาสวดมนต์ต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์”(Sigismondo Pandolfo Malatesta Praying in Front of St. Sigismund) สำหรับมหาวิหารริมินิ (Tempio Malatestiano) แม้ว่าจะเป็นการวางภาพแบบภาพเหมือนของคนสำคัญทั่วๆ ไปในสมัยนั้น แต่เปียโรให้ความสนใจกับการเขียนรายละเอียดอย่างธรรมชาติในหารเขียนเท็กซ์เจอร์และผมของตัวแบบ ซึ่งทำให้เห็นถึงอิทธิพลจากศิลปินเฟล็มมิชเช่นโรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ

หมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Cosimo I de’ Medici) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยบรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี บรอนซิโนเขียนภาพ “ภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ” เสร็จในปี ค.ศ. 1545 เพราะตำแหน่งช่างเขียนประจำสำนักของตระกูลเมดิชิบรอนซิโนจึงมืโอกาสเขียนภาพของแกรนด์ดยุคโคสิโม เดอ เมดิชิหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพขณะที่โคสิโมยังหนุ่มที่จอร์โจ วาซารีบรรยายว่าเป็นภาพดยุคที่ “ใส่เสื้อเกราะขาวเต็มยศและวางมือบนหมวก” สันนิษฐานกันว่าภาพเขียนที่วิลลาของพอจจิโอ อา คาเอียโนในปี ค.ศ. 1545 และมีการอ้างอิงในจดหมายบางฉบับ ภาพเขียนแสดงให้เห็นความเด็ดเดี่ยวและความมีอำนาจเหนือผู้อื่นของโคสิโมโดยมีแสงส่องมาบนใบหน้าทางด้านข้างและสะท้อนบนเสื้อเกราะโลห.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา

หมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Elisabetta Gonzaga) เป็นภาพเหมือนที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียน “ภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา” ราวปี ค.ศ. 1504 สตรีในภาพคือเอลิซาเบตตา กอนซากา (Elisabetta Gonzaga) รายละเอียดในภาพก็เป็นเสื้อที่ตกแต่งด้วยลายปะและจี้เป็นรูปแมงป่องเดิมกล่ากันว่าเขียนโดยตั้งแต่อันเดรีย มานเทนยา ไปจนถึง อัลเบรชท์ ดือเรอร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด

หมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโดและลูกชาย (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Eleonora of Toledo and Her Son) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอักโนโล บรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี อักโนโล บรอนซิโนเขียนภาพ “ภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด” เสร็จในปี ค.ศ. 1545 เป็นภาพของ เอเลเนอร์แห่งโทเลโดภรรยาของโคสิโมที่ 1 เดอเมดิชิ ดยุคแห่งทัสเคนี เอเลเนอร์นั่งโดยมีมือขวาวางบนไหล่ลูกชายคนหนึ่ง ท่าทางที่นั่งและการใช้ลายทับทิมบนเสื้อผ้าเป็นการแสดงฐานะของความเป็นแม่ ลูกที่ยืนอยู่ในภาพบ้างก็ว่าอาจจะเป็น ฟรานเชสโค (Francesco I de' Medici) (เกิด ค.ศ. 1541), หรือ จิโอวานนิ (Cardinal Giovanni de' Medici) (เกิด ค.ศ. 1543) หรือ กราเซีย (เกิด ค.ศ. 1547) ถ้าเป็นคนหลังภาพเขียนก็น่าจะเขียนระหว่างปี ค.ศ. 1550 ถึงปี ค.ศ. 1553 แต่เป็นที่ตกลงกันโดยทั่วไปว่าปีที่เขียนคือปี ค.ศ. 1545 ฉะนั้นลูกจึงควรจะเป็นจิโอวานนิ เมื่อร่างของเอเลเนอร์ถูกขุดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 กล่าวกันว่าเอเลเนอร์ใส่ชุดเดียวกับชุดที่ใส่ในภาพเขียน ตาข่ายคลุมผมที่เกือบเหมือนกับอันที่ใช้ในรูปอาจจะทำให้เกิดการสับสน แต่การค้นคว้าต่อมาพิสูจน์ว่าเป็นชุดอีกชุดหนึ่งที่แสดงในหนังสือ “Patterns of Fashion” โดย แจเน็ต อาร์โนลด์ (Janet Arnold) และ “Moda a Firenze”โดย โรเบิร์ตตา ออร์ซิ ลันดินิและบรูนา นิคโคลิ ชิ้นส่วนที่ยังเหลืออยู่ของเสื้อชุดนั้นยังคงเก็บรักษาไว้ในพาลัซโซพิตติในฟลอเรนซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์)

หมือนตนเอง หรือ ภาพเหมือนตนเองเมื่ออายุยี่สิบแปดปีสวมเสื้อคลุมปกขนสัตว์ (Self-Portrait หรือ Self Portrait at Twenty-Eight Years Old Wearing a Coat with Fur Collar) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอัลเบรชท์ ดือเรอร์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเดิม, มิวนิคในประเทศเยอรมนี “ภาพเหมือนตนเอง” ที่เขียนโดยอัลเบรชท์ ดือเรอร์ในปี ค.ศ. 1500 เป็นภาพที่เขียนบนแผงไม้ที่ถือกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานจิตรกรรมภาพเหมือนตนเองชิ้นที่เด่นที่สุดชิ้นหนึ่ง การมองตรงมายังผู้ชมภาพโดยตรงทำให้เป็นภาพเขียนที่มีลักษณะไม่เหมือนภาพเหมือนตนเองที่เขียนกันมาก่อน ลักษณะของภาพเป็นภาพครึ่งตัวท่อนบน หน้าตรง และมีความสมมาตรสูง ฉากหลังที่ขาดหายไปทำให้ปราศจากขาดนัยยะถึงสถานที่และเวลา การวางคำจารึกในบริเวณที่มืดของภาพสองด้านของตัวแบบทำให้ดูเหมือนว่าเป็นคำจารึกที่ลอยตัว ซึ่งเป็นการเน้นจุดประสงค์ในการเป็นสัญลักษณ์ของภาพยิ่งขึ้นไปอีก ในภาพนี้ดือเรอร์แสดงตนเองอย่างสง่าเป็นทางการซึ่งเป็นการวางท่าที่เดิมใช้ในการวาดภาพพระเยซูเท่านั้น—นัยยะที่ทำให้เกิดการถกเถียงกันในหมู่นักวิพากษ์ศิลป์หัวโบราณก็จะกล่าวว่าการเขียนของดือเรอร์เป็นการตอบสนองธรรมเนียมการเขียนที่เรียกว่าเขียนลักษณะ “เลียนแบบพระเยซู” (Imitation of Christ) ส่วนผู้อื่นที่มีทัศนะที่สร้างความขัดแย้งมากกว่าก็จะตีความหมายว่าเป็นการประกาศความเป็นตัวของตัวเองหรือของความเป็นดือเรอร์ และ ความสำคัญในการเป็น “ผู้สร้าง” (creator (Creator.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)

หมือนเจ้าหญิง หรือ ภาพเหมือนเจ้าหญิงแห่งตระกูลเอสเต (Portrait of Princess หรือ Portrait of a Princess of the House of Este) เป็นจิตรกรรมที่เชื่อกันว่าเขียนโดยพิซาเนลโลจิตรกรชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ลูฟร์ในประเทศฝรั่งเศส พิซาเนลโลอาจจะเขียนภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1435 ถึงปี ค.ศ. 1449 ภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” เป็นภาพของ การระบุว่าเป็นงานเขียนโดยพิซาเนลโลมาจากลักษณะการเขียนของภาพและเพราะพิซาเนลโลพำนักอยู่ที่เฟอร์ราราในช่วงเวลาเดียวกันนั้นด้วย ที่ไปเขียนภาพเหมือนบนแป้นของมาร์ควิสเลโอเนลโล เดสเต (Leonello d'Este).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาเลนเซีย

ษาบาเลนเซีย (valenciano) หรือ ภาษาวาเล็นซิอา (valencià) เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้สื่อสารกันในแคว้นบาเลนเซีย และในบริเวณเอลการ์เชของแคว้นภูมิภาคมูร์เซีย ประเทศสเปน ในแคว้นบาเลนเซีย ภาษานี้มีฐานะเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาสเปนตามธรรมนูญการปกครองตนเองของแคว้นและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ. 2521 ภาษาบาเลนเซียจัดอยู่ในกลุ่มภาษากาตาลาตะวันตก จากการสำรวจความคิดเห็นครั้งหนึ่งพบว่า ชาวแคว้นบาเลนเซียส่วนใหญ่ (เกือบร้อยละ 65) มองว่าภาษานี้เป็นภาษาแยกต่างหากจากภาษากาตาลา แต่มุมมองดังกล่าวขัดแย้งกับมุมมองทางวิชาการโดยทั่วไปซึ่งถือว่าภาษานี้เป็นภาษาย่อยของภาษากาตาลา ภายใต้ธรรมนูญการปกครองตนเองแห่งแคว้นบาเลนเซีย บัณฑิตยสถานภาษาแห่งบาเลนเซีย (Acadèmia Valenciana de la Llengua) ได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นผู้วางระเบียบเกี่ยวการใช้ภาษา หน่วยงานนี้ถือว่า กาตาลา และ บาเลนเซีย เป็นเพียงชื่อเรียกที่ต่างกันของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี ภาษาบาเลนเซียก็มีวิธภาษามาตรฐานเป็นของตนเองซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาถิ่นที่ใช้ในพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างจังหวัดบาเลนเซียตอนใต้กับจังหวัดอาลิกันเตตอนเหนือ ผลงานที่สำคัญที่สุดบางชิ้นของวงวรรณกรรมบาเลนเซียดำรงอยู่ในยุคทองซึ่งกินเวลาตั้งแต่ยุคกลางตอนปลายไปจนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ผลงานเหล่านั้นรวมถึงนิยายวีรคติเรื่อง ติรันต์โลบลังก์ ของจูอาน็อต มาร์โตเร็ลย์ และกวีนิพนธ์ของเอาซิอัส มาร์ก หนังสือเล่มแรกในคาบสมุทรไอบีเรียที่ผลิตด้วยวิธีการพิมพ์แบบตัวเรียงนั้นพิมพ์เป็นภาษาบาเลนเซีย เกมหมากรุกเกมแรกที่มีการบันทึกไว้พร้อมด้วยกติกาการเดินหมากควีนและบิชอปอยู่ในบทกวีเรื่อง สกักส์ดาโมร์ ซึ่งแต่งเป็นภาษาบาเลนเซียและได้รับการตีพิมพ์เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาษาบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาพาร์แนสซัส (ราฟาเอล)

ูเขาพาร์แนสซัส (The Parnassus) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรชาวอิตาลีคนสำคัญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า "ห้องราฟาเอล" ภาพ "ภูเขาพาร์แนสซัส" ตั้งอยู่ภายใน "ห้องเซญญาตูรา" (Stanza della Segnatura) เป็นภาพภูเขาพาร์แนสซัสในตำนานปรัมปราที่เป็นที่อยู่ของอะพอลโลผู้ล้อมรอบด้วยมิวส์เก้าองค์และกวีเก้าคนจากสมัยโบราณและอีกเก้าคนจากกวีร่วมสมั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภูเขาพาร์แนสซัส (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (Death of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ภาพ “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1604 ถึงปี ค.ศ. 1606 เป็นภาพที่การาวัจโจได้รับจ้างให้เขียนโดยเลร์ซิโอ อัลเบร์ติ (Laerzio Alberti) ทนายความของพระสันตะปาปาสำหรับชาเปลส่วนตัวภายในซันตามาเรียเดลลาสกาลาซึ่งเป็นโบสถ์คณะคาร์เมไลท์ใหม่ที่ ทรัสเตเวเร (Trastevere) ในกรุงโรม “Renaissance” เป็นภาพที่ก่อให้เกิดการต่อต้านอย่างรุนแรงเมื่อเขียนเสร็จและถูกปฏิเสธจากนักบวชไม่ให้ตั้งในชาเปลที่ตั้งใจไว้ แต่ต่อมาปีเตอร์ พอล รูเบนส์ก็แนะนำให้ชาร์ลส์ที่ 1 ดยุกแห่งมานทัวซื้อโดยสรรเสริญว่าเป็นงานเขียนที่ดีที่สุดในสมัยนั้น หลังจากนั้นภาพเขียนถูกขายต่อให้แก่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ หลังจากพระเจ้าชาร์ลส์ถูกสำเร็จโทษภาพเขียนก็ถูกประมูลขายอีกครั้งๆ นี้ตกไปเป็นของงานสะสมหลวงของฝรั่งเศส และในที่สุดก็กลายไปเป็นของรัฐหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ในปัจจุบันภาพนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีส ก่อนที่จะออกจากโรมภาพเขียนตั้งแสดงที่วิทยาสถานนักบุญลูการาวสองอาทิตย์ แต่ขณะนั้นการาวัจโจก็หนีออกจากโรมไปแล้วหลังจากที่ฆ่ารานุชโช โตมัสโซนีในการดวลดาบหลังจากเกมเทนนิสหลังจากที่เกิดการวิวาท ภาพเขียนทำให้นึกถึงภาพ “ชะลอร่างจากกางเขน” ในนครรัฐวาติกันในด้านความครอบคลุม, ความสุขุม และความมีลักษณะเหมือนจริงที่คล้ายภาพถ่าย ขนาดตัวแบบในภาพเกือบเท่าคนจริง ล้อมรอบพระแม่มารีย์เป็นผู้กำลังโทมนัสที่รวมทั้งมารีย์ชาวมักดาลาและอัครทูตและกลุ่มคนถัดออกไป การาวัจโจแสดงความโศรกเศร้าของผู้ที่อยู่ในภาพไม่ใช่ด้วยการแสดงหน้าที่บ่งอารมณ์แต่โดยการซ่อนใบหน้า การาวัจโจผู้มีความสามารถในการใช้สีมืดบนผืนผ้าใบไม่สนใจในลักษณะการเขียนแบบแมนเนอริสม์ที่มักจะแสดงอารมณ์ต่างๆ กันไปในภาพเขียน การแสดงความเศร้าของการาวัจโจเป็นการแสดงความเศร้าที่ลึกและเงียบไม่โวยวายด้วยคนร้องไห้ การสะอื้นเกิดจากความเงียบใบหน้าที่ไม่ปรากฏของผู้มีอารมณ์ ความศักดิ์สิทธิ์ของพระแม่มารีย์แสดงโดยรัศมีบางๆ ราวเส้นด้ายเหนือพระเศียร ม่านสีแดงผืนใหญ่ที่ขึงหัอยบนส่วนบนของภาพเป็นโมทีฟที่มักจะใช้ในภาพเกี่ยวกับความตาย ภาพนี้เขียนเสร็จเมื่อทฤษฎีความเชื่อเกี่ยวกับแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์หรือการขึ้นสวรรค์ของพระแม่มารียังไม่เป็นที่ตกลงกันอย่างเป็นทางการโดยพระสันตะปาปา แต่ความคิดเรื่องนี้ก็เริ่มมีรากฐานมาเป็นเวลาสองสามร้อยปีแล้วจนกระทั่งการออกธรรมนูญเรื่องแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (Munificentissimus Deus) ในปี ค.ศ. 1950 ที่กล่าวถึงการขึ้นสวรรค์ของ “ร่างและวิญญาณ” ของพระแม่มารี ธรรมนูญเลี่ยงการประกาศว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนหรือหลังจากมรณกรรมตามที่เข้าใจกันตามปกติ ในเมื่อพันธสัญญาใหม่มิได้กล่าวถึงหัวข้อนี้แต่อย่างใด การจากของพระแม่มารีย์จากโลกนี้จึงเป็นเรื่องของทฤษฎีความเชื่อเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิกเท่านั้น แม้ว่าในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ทฤษฎีโดยทั่วไปของโรมันคาทอลิกเชื่อว่าพระแม่มารีย์ถูกนำขึ้นสวรรค์ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งจะเป็นเห็นได้จากภาพเขียนร่วมสมัยในหัวข้อนั้นเป็นจำนวนมากมาย บางความเชื่อก็ว่าพระเจ้าทรงนำร่างพระแม่มารีย์ขึ้นสวรรค์เมื่อเพิ่งสิ้นพระชนม์ใหม่ๆ แต่โดยทั่วไปแล้วก็หมายถึงการที่ทรงได้รับการนำขึ้นสวรรค์โดยปราศจากความเจ็บป่วยและความเจ็บปวดและร่างที่ถูกนำขึ้นไปเป็นร่างที่สมบูรณ์ด้วยพลานามัยก่อนที่จะ “ถึงแก่มรณกรรม” แต่สิ่งที่น่าสังเกตคือการแสดงภาพมรณกรรมในยุคกลางจะเป็นจริงมากกว่ายุคเรอเนซองหรือบาโรกต่อมาเช่นในภาพ “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” โดยดุชโช ที่เขียนราวปี ค.ศ. 1308 “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” โดยดุชโช ราว ค.ศ. 1308 ภาพเขียนของการาวัจโจเป็นงานศิลปะชิ้นเอกชิ้นสุดท้ายของโรมันคาทอลิกที่แสดงมรณกรรมจริง ๆ ของพระแม่มารีย์ แต่ภาพนี้เท้าของพระแม่มารีย์บวมและในภาพไม่มีเครูบที่นำพระองค์ขึ้นสู่สวรรค์เช่นในภาพ “แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” โดย อันนิบาเล คารัคชี ที่เขียนก่อนหน้านั้นเพียงน้อยกว่าสิบปีสำหรับชาเปลในซันตามาเรียเดลโปโปโล ภาพของคารัคชีไม่ได้เขียนภาพการถึงแก่มรณกรรมแต่เป็นภาพ “แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” หรือการลอยขึ้นไปบนสวรรค์ ร่างเหมือนกับภาพเรอเนซองหรือบาโรกภาพอื่นๆ ที่ดูอ่อนกว่าสตรีที่มีอายุราวห้าสิบปีหรือกว่านั้นเมื่อถึงแก่มรณกรรม ผู้ร่วมสมัยกล่าวหาการาวัจโจว่าใช้โสเภณีเป็นแบบสำหรับพระแม่มารีย์ เมื่อเขียนเสร็จภาพเขียนถูกปฏิเสธไม่ให้ตั้งในวัดโดยนักบวชผู้กล่าวหาว่าเป็นภาพที่ไม่เหมาะกับการตั้งในชาเปล จูลีโอ มันชีนี (Giulio Mancini) ผู้ร่วมสมัยของการาวัจโจ บันทึกว่าสาเหตุที่ถูกปฏิเสธเป็นเพราะคาราวัจโจใช้โสเภณีมีชื่อเป็นแบบสำหรับพระแม่มารี; แต่โจวันนี บากลีโอเน (Giovanni Baglione) ผู้ร่วมสมัยอีกคนหนึ่งกล่าวว่าเป็นเพราะการาวัจโจแสดงช่วงขาที่ออกจะเปิดเผยของพระแม่มารีย์ — ทั้งสองกรณีต่างก็อ้างมาตรฐานของสังคมในขณะนั้น แต่นักวิชาการคาราวัจโจ จอห์น แกชตั้งข้อเสนอว่าปัญหาของนักบวชคาร์เมไลท์อาจจะไม่ใช่ความพอใจหรือไม่พอใจในความสวยงามของภาพ แต่ข้อขัดแย้งมีรากฐานมาจากความแตกต่างทางมุมมองของปรัชญาศาสนา ที่นักบวชคาร์เมไลท์มีความเห็นว่าภาพของการาวัจโจละเลยความเชื่อในเรื่องแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ ที่ว่าพระแม่มารีย์มิได้ถึงแก่มรณกรรมอย่างธรรมดาแต่ถูก “นำ” (Assume) ขึ้นสวรรค์ ภาพเขียนที่นำมาแทนเป็นงานเขียนของผู้ติดตามของการาวัจโจเอง คาร์โล ซาราเชนิ (Carlo Saraceni) ซึ่งเป็นภาพพระแม่มารีย์ที่มิได้นอนเสียชีวิตเช่นในภาพของการาวัจโจแต่นั่งอยู่ แต่ภาพนี้ก็ยังถูกปฏิเสธ และในที่สุดก็แทนด้วยภาพที่พระแม่มารีย์ที่มิได้นอนหรือนั่งเสียชีวิตแต่ขึ้นสวรรค์พร้อมกับหมู่ทูตสวรรค์ แต่จะอย่างไรก็ตามการปฏิเสธก็ไม่ได้หมายความว่างานของคาราวัจโจไม่เป็นที่นิยม ไม่นานหลังจากที่ถูกปฏิเสธดยุกแห่งมานทัวก็ซื้อภาพตามคำแนะนำของปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษก็ทรงซื้อต่อ ก่อนที่จะตกไปเป็นของงานสะสมของหลวงในฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญเปโตร

มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica of Saint Peter, Basilica Sancti Petri) รู้จักกันโดยชาวอิตาลีว่า Basilica di San Pietro in Vaticano หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่าเซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา (Saint Peter's Basilica) เป็นมหาวิหารเอกหนึ่งในสี่แห่งในกรุงโรม นครรัฐวาติกัน (อีกสามมหาวิหาร คือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร และมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมหาวิหารนักบุญเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไมนซ์

มหาวิทยาลัยไมนซ์ (University of Mainz; Johannes Gutenberg-Universität Mainz) หรือชื่อเต็มว่า มหาวิทยาลัยโยฮันเนสกูเทนแบร์กแห่งไมนซ์ (Johannes Gutenberg University of Mainz) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในเมืองไมนซ์ รัฐไรน์ลันด์-พฟัลซ์ ประเทศเยอรมนี โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในเยอรมนีที่มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมหาวิทยาลัยไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งที่เมืองเบอร์มิงแฮม อันมีสถานะเป็นอำเภอในจังหวัดเวสต์มิดแลนด์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red Brick Universities) และเป็นมหาวิทยาลัยอิฐแดงแห่งแรก ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

มัททีอัส กรือเนวัลด์

ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร สันนิษฐานกันมานานว่าเป็นภาพเหมือนตนเองของมัททีอัส กรือเนวัลด์ มัททีอัส กรือเนวัลด์ (Matthias Grünewald หรือ Mathis หรือ Gothart หรือ Neithardt) ราว ค.ศ. 1470 - 31 สิงหาคม ค.ศ. 1528 เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศเยอรมนีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเกี่ยวกับคริสต์ศาสนาผู้ละทิ้งการเขียนภาพเรอเนซองส์แบบคลาสสิกไปเป็นการเขียนที่มีการแสดงออกของศิลปะในช่วงปลายสมัยกลางของยุโรปกลาง เป็นไปได้ว่ากรือเนวัลด์ดำเนินงานเขียนภายที่ห้องเขียนภาพในอาชัฟเฟินบูร์กเมื่อปล..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมัททีอัส กรือเนวัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมาร์ติน ลูเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โชนเกาเออร์

มาร์ติน โชนเกาเออร์ (Martin Schongauer) (ราว ค.ศ. 1448 - 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1491) เป็นจิตรกรและนักสร้างภาพพิมพ์ (engraver) ของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของเยอรมนีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ภาพพิมพ์ของโชนเกาเออร์แพร่หลายโดยทั่วไป และเป็นที่รู้จักกันในอิตาลีในนามว่า “Bel Martino” และ “Martino d'Anversa” บิดาของมาร์ติน โชนเกาเออร์ชื่อคาสเปอร์เป็นช่างทองชาวเอาก์สบวร์คผู้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่โคลมาร์ ที่มาร์ตินเติบโตขึ้น มาร์ตินอาจจะฝึกงานกับมาสเตอร์ อี. เอส เอ. ไอแอ็ท เมเยอร์เห็นลักษณะของทั้งสองลักษณะในงานพิมพ์ของมาร์ติน และงานทุกชิ้นของโชนเกาเออร์ที่ลงชื่อ M†S แสดงให้เห็นลักษณะที่วิวัฒนาการเต็มที่ โชนเกาเออร์ก่อตั้งตระกูลการสร้างงานพิมพ์ที่สำคัญที่โคลมาร์ ที่วิวัฒนาการมาเป็น “Little Masters” ของศิลปินรุ่นต่อมา และกลุ่มใหญ่กว่านั้นของศิลปินเนิร์นเบิร์ก ในด้านจิตรกรรมลักษณะการเขียนของโชนเกาเออร์เป็นแบบเฟล็มมิชของโรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น และภาพเขียนที่ยังคงเหลืออยู่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการใช้สีและการเขียนรายละเอี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมาร์ติน โชนเกาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ซีลีโอ ฟีชีโน

มาร์ซิลิโอ ฟิชีโน (Marsilio Ficino) (19 ตุลาคม ค.ศ. 1433 - 1 ตุลาคม ค.ศ. 1499) เป็นนักปรัชญายุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลี ฟิชีโนเป็นนักปรัชญาผู้มีอิทธิพลของลัทธิมนุษยนิยมของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลี นอกจากจะเป็นนักปรัชญาแล้วฟิชีโนก็ยังเป็นนักโหราศาสตร์ และเป็นผู้ฟื้นฟูปรัชญาเพลโตใหม่ (Neoplatonism) และเป็นคนแรกที่แปลงานเขียนทั้งหมดของเพลโตเป็นภาษาละติน สถาบันฟลอเรนทีนที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นการฟื้นฟูปรัชญาของเพลโตเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปรัชญาของยุโรป.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมาร์ซีลีโอ ฟีชีโน · ดูเพิ่มเติม »

มาซัชโช

"ภาพเหมือนตนเอง" มาซัชชีโอ หรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Tommaso Cassai หรือ Tommaso di Ser Giovanni di Mone, 21 ธันวาคม ค.ศ. 1401 - ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1428) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ จิตรกรรมฝาผนังของมาซัชชีโอเป็นงานเชิงมนุษยนิยมซึ่งทำให้แสดงให้เห็นความยืดหยุ่นที่ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ชื่อ “มาซัชชีโอ” เป็นสมญาของชื่อตัว “ตอมมาโซ” เพราะ “มาซัชชีโอ” แปลว่า ตอมมาโซ “ใหญ่” “อ้วน” “งุ่มง่าม” หรือ “เลอะเทอะ” สร้อยที่ให้นี้เพื่อให้แตกต่างจากจิตรกรที่มาซัชชีโอร่วมงานด้วยที่ชื่อ “ตอมมาโซ” เช่นกัน “ตอมมาโซ” หลังนี้มารู้จักกันในชื่อ “มาโซลีโน ดา ปานีกาเล” (Masolino da Panicale) หรือ “ตอมมาโซเล็ก” แม้ว่ามาซัชชีโอจะวาดภาพเพียงไม่นานแต่ก็มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่นๆ มาซัชชีโอเป็นจิตรกรคนแรกๆ ที่ใช้การเขียนแบบทัศนียภาพโดยเฉพาะการใช้จุดลับตา หรือจุดอันตธาน (Vanishing point) เป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมาซาชิโอก็ยังละทิ้งวิธีการเขียนแบบกอธิคและการใช้การตกแต่งอย่างเช่นจิตรกรเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็นแบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้การวาดแบบทัศนียภาพเข้าช่ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

มาโซลีโน ดา ปานีกาเล

มาโซลิโน ดา พานิคาเล (Masolino da Panicale หรือ Tommaso di Cristoforo Fini) (ราว ค.ศ. 1383 - ราว ค.ศ. 1447) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมแผง มาโซลิโน ดา พานิคาเลเกิดราว ค.ศ. 1383 ที่เมืองพานิคาเลในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 1447 งานที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดก็เห็นจะเป็นงานที่เขียนร่วมกับมาซาชิโอ ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมาโซลีโน ดา ปานีกาเล · ดูเพิ่มเติม »

มินะทอร์

มินะทอร์บนหม้อดินเผาสมัยกรีก ราว 515 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในเทพปกรณัมกรีก มินะทอร์ (Minotaur) เป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมีศีรษะเป็นโค มีกายเป็นคน หรือที่โอวิด (Ovid) กวีโรมัน พรรณนาว่า "กึ่งคนกึ่งโค" มินะทอร์พำนักอยู่ในวงกตซึ่งเป็นหมู่อาคารมีทางเดินคดเคี้ยว ณ กลางเกาะครีต และเป็นผลงานที่สถาปนิกเดดาลัส (Daedalus) กับอีคารัส (Icarus) บุตร ร่วมกันสร้างสรรค์ขึ้นตามพระราชโองการพระเจ้าไมนอส (Minos) แห่งเกาะครีต ภายหลัง มินะทอร์ถูกธีเซียส (Theseus) วีรบุรุษชาวเอเธนส์ ประหารในวงกตนั้นเอง คำ "มินะทอร์" ในภาษาอังกฤษมาจากคำ "Μῑνώταυρος" (Mīnṓtauros) ในภาษากรีกโบราณ แปลว่า โคแห่งพระเจ้าไมนอส โดยในภาษาอังกฤษนั้น คำ "มินะทอร์" เป็นทั้งวิสามานยนามใช้เรียกสิ่งมีชีวิตตามตำนานข้างต้น และเป็นสามานยนามใช้เรียกสิ่งมีชีวิตกึ่งโคกึ่งคนตัวอื่น ๆ โดยทั่วไป ส่วนชาวครีตเองเรียกสัตว์นี้ด้วยวิสามานยนามว่า "แอสเตเรียน (Asterion) ซึ่งเป็นนามของปู่มินะทอร์ (พระบิดาบุญธรรมของพระเจ้าไมนอส) เช่นกัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมินะทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มีเกลันเจโล

มีเกลันเจโล หรือที่มักรู้จักกันในชื่อ ไมเคิลแองเจโล มีชื่อเต็มว่า มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni, 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564) เป็นจิตรกร สถาปนิก และประติมากรชื่อดัง ในช่วงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) มีเกลันเจโลเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1475 ที่หมู่บ้านคาปรีส (ปัจจุบันอยู่ในทัสกานี, อิตาลี) เขาเติบโตที่เมืองฟลอเรนซ์ หลังจากที่ไปอยู่ที่กรุงโรมเมื่ออายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นถึง 5 ปี มีเกลันเจโลสร้างประติมากรรมรูปสลัก เดวิด ตอนอายุ 26 ปี จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผลที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมัน ความสำเร็จหลังจากงานชิ้นนี้ ทำให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี มีเกลันเจโล เดิมทีเป็นคนที่เกลียดเลโอนาร์โด ดา วินชี ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะมีอายุห่างกันถึง 23 ปี และไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก ในช่วงนี้ (ค.ศ. 1497 - ค.ศ. 1500) เขาก็ได้สร้างประติมากรรมหินอ่อนอีกชิ้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ (Pietà) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ตอนอายุได้ 30 ปี เขาได้ถูกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่อออกแบบหลุมฝังศพให้กับสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสำเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็นสถาปนิกคนสำคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะภาพ คำพิพากษาครั้งสุดท้าย (The Last Judgment) ซึ่งเขาใช้เวลาในการเขียนภาพขนาดยักษ์นี้นานถึง 6 ปี มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี เสียชีวิตที่กรุงโรม เมื่อปี ค.ศ. 1564 รวมอายุได้ 88 ปี ซึ่งมีคำกล่าวจากสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอนชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิตของมิเกลันเจโลให้ยืนยาวออกไปอีก".

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมีเกลันเจโล · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยม

มนุษยนิยม (Humanism) หมายถึงประเภทกว้างๆ ของปรัชญาเชิงจริยศาสตร์ ที่ยืนยันถึงความสง่างามและคุณค่าของมนุษย์ทุกคน โดยอาศัยหลักความสามารถของบุคคลนั้นในการบ่งชี้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยได้การยอมรับโดยมนุษย์ทั่วไปที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกยะหรือเชิงเหตุผล มนุษยนิยมเป็นองค์ประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและได้รับการผนวกไว้ในหลายสำนักคิดทางศาสนา มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกัน เมื่อมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและตัดสินได้ด้วยตนเอง มนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ "ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล" สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใดๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล (universal morality) ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็นอยู่ธรรมดา ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมนุษยนิยม · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

นักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเดสิเดอริอัส อีราสมัส ราว ค.ศ. 1523 เขียนโดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance humanism) คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญตัวหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เริ่มขึ้นที่ฟลอเรนซ์ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมื่อผู้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรณกรรมภาษาลาตินและกรีกกันขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญาชนหรือครูที่สองวรรณกรรมภาษาลาติน แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษา — “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” (studia humanitatis) — ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์ และประวัติศาสตร์ จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีก นักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาที่นิยมกันก่อนหน้านั้นที่เรียกว่าอัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) ซึ่งเป็น “ผู้ร่ำเรียน” (schoolmen) ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอิตาลี, ปารีส, อ๊อกซฟอร์ด และอื่นๆ การศึกษาของกลุ่มอัสสมาจารย์นิยมพัฒนามาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และปรัชญาของกรีกโบราณและอาหรับยุคกลาง ตัวอย่างของผู้นำในกลุ่มนี้ก็ได้แก่ทอมัส อควีนาสผู้ที่พยายามสังเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่างจากหลักของมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ก็ตรงที่นักอัสสมาจารย์นิยมมิได้พึ่งวรรณกรรม หรือ ตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมันเท่ากันกับเมื่อมาถึงสมัยมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ การกลับมาพบและกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และ ตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และ เทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางทางวัฒนธรรมและทางปรัชญาของยุโรปอย่างสิ้นเชิง ทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์มักจะเน้นบทเขียนของเพลโต ที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เริ่มเสื่อมโทรมลงเป็นครั้งแรก และให้ความสนใจน้อยกว่าในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลางตอนกลางแล้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ยกกางเขน (รือเบินส์)

"ยกกางเขน" กลางบานพับภาพ ยกกางเขน (Kruisoprichting; The Elevation of the Cross) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ป ในเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม รือเบินส์เขียนภาพ "ยกกางเขน" ราวระหว่างปี ค.ศ. 1610 ถึงปี ค.ศ. 1611 หลังจากกลับมายังฟลานเดอส์จากอิตาลี เป็นงานที่แสดงอิทธิพลของจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบาโรกของอิตาลี เช่น การาวัจโจ, ตินโตเรตโต และมีเกลันเจโลอย่างเห็นได้ชัด แผงกลางแสดงแรงดึงระหว่างกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายของทุกคนที่พยายามยกกางเขนที่หนักด้วยน้ำหนักของพระเยซูที่ทรงถูกตรึงอยู่บนกางเขน อิทธิพลของลักษณะการเขียนแบบทัศนมิติของมีเกลันเจโลเห็นได้อย่างชัดเจนจากความบิดเบี้ยวของร่างแต่ละร่างที่ต่างก็ใช้ความพยายามอย่างหนักในการยกกางเขนให้ตั้งขึ้น ร่างของพระเยซูแผ่ทแยงอย่างเต็มที่อยู่กลางภาพคล้ายกับการวางภาพ "ชะลอร่างจากกางเขน" โดยการาวัจโจ ที่ทั้งการยกลงและยกขึ้นปรากฏในชั่วขณะเดียวกัน รือเบินส์ใช้สีที่เต็มไปด้วยพลังและค่าต่างแสงอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนที่ค่อยอ่อนลงต่อมา ในปัจจุบันภาพเขียนนี้ตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ปในเมืองแอนต์เวิร์ปพร้อมกับงานเขียนอื่นของรือเบินส์ ระหว่างการยึดครองของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 พระองค์ก็ทรงนำภาพเขียนภาพนี้และภาพ "ชะลอร่างจากกางเขน" ของรือเบินส์ไปยังปารีส จนกระทั่งในปลายคริสต์ทศวรรษ 1800 ทางมหาวิหารจึงได้ภาพเขียนคืน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยกกางเขน (รือเบินส์) · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน ไอก์

หมือนของชายโพกหัวแดง" อาจจะเป็นภาพเหมือนตนเองของฟัน ไอก์ ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1433 ยัน ฟัน ไอก์ (Jan van Eyck; ราวก่อน ค.ศ. 1395 - ก่อนวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1441) เป็นจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ทำงานที่บรูช และถือกันว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญของยุโรปในคริสต์ศวรรษที่ 15 สิ่งหนึ่งที่มักจะเข้าใจผิดกันเกี่ยวกับ ฟัน ไอก์ ว่าเป็นผู้ริเริ่มการใช้สีน้ำมันในการวาดภาพ มาจากข้อเขียนของจอร์โจ วาซารี ผู้เขียน "ชีวิตจิตรกร" ในคริสต์ศวรรษที่ 16 แต่ที่แน่ ๆ คือฟัน ไอก์มีความสำเร็จเป็นอันมากจากการใช้วิธีการวาดภาพด้วยสีน้ำมัน ยัน ฟัน ไอก์มักจะมีชื่อเกี่ยวข้องกับฮือเบิร์ต ฟัน ไอก์ ผู้เป็นจิตรกรและเป็นพี่ชาย และทั้งสองคนมาจากมาไซก์ ในประเทศเบลเยียมในปัจจุบัน พี่ชายอีกคนหนึ่ง แลมเบิร์ตมีชื่อกล่าวในเอกสารของราชสำนักเบอร์กันดี และสันนิษฐานกันว่าคงเป็นจิตรกรด้วยและอาจจะเป็นผู้ที่ดูแลการปิดโรงฝึกงานของยัน ฟัน ไอก์ที่บรูช ฟัน ไอก์อีกผู้หนี่งคือ บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์ (Barthélemy van Eyck) ผู้ทำงานอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศสก็เข้าใจว่าจะเป็นญาติกัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยัน ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการสะพานมิลเวียน (โรมาโน)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล ยุทธการสะพานมิลเวียน (ภาษาอังกฤษ: The Battle of the Milvian Bridge หรือ The Battle at Pons Milvius) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยจุยลิโอ โรมาโนและผู้ช่วยของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่อาจเขียนระหว่างปี ค.ศ. 1520 ถึงปี ค.ศ. 1524 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ยุทธการสะพานมิลเวียน” ตั้งอยู่ภายใน “ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพยุทธการสะพานมิลเวียน (Battle of the Milvian Bridge) ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่28 ตุลาคม ค.ศ. 312 ระหว่างจักรพรรดิคอนแสตนตินและแม็กเซ็นเทียส จักรพรรดิคอนแสตนตินทรงได้รับชัยชนะและทรงเชื่อว่าเป็นเพราะความช่วยเหลือของพระเป็นเจ้าแห่งคริสต์ศาสน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุทธการสะพานมิลเวียน (โรมาโน) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการออสเตีย (ห้องราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล ยุทธการออสเตีย (ภาษาอังกฤษ: The Battle of Ostia) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเวิร์คช็อพของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1514 ถึงปี ค.ศ. 1515 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ยุทธการออสเตีย” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเพลิงใหม้ในเมือง” (Stanza dell'incendio del Borgo) เป็นภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจจากยุทธการทางเรือ ยุทธการออสเตีย (Battle of Ostia) ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 849 ระหว่างซาระเซ็นในซิซิลีและทางใต้ของอิตาลีกับฝ่ายสันนิบาติคริสเตียนของพระสันตะปาปา, ชาวเนเปิลส์ และเกตา (Gaeta) ภายในภาพเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4แต่เป็นพระพักตร์ของสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ทรงขอบคุณพระเจ้าหลังจากกองทัพซาระเซ็นถูกทำล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุทธการออสเตีย (ห้องราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)

ทธการที่ซานโรมาโน (Battaglia di San Romano) เป็นจิตรกรรมสีฝุ่นบนไม้สามภาพที่เขียนโดยปาโอโล อุชเชลโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในลอนดอน, หอศิลป์อุฟฟีซีในฟลอเรนซ์ และพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในปารีส ปาโอโล อุชเชลโลเขียนภาพ "ยุทธการที่ซานโรมาโน" ในปี ค.ศ. 1432 เป็นภาพที่บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุทธการที่ซานโรมาโน ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เทอร์มอพิลี

ทธการที่เทอร์มอพิลี (Battle of Thermopylae; Greek: Μάχη τῶν Θερμοπυλῶν, มาแค ตอน แธมอปูลอน) เกิดขึ้นในปี 480 ปีก่อนคริสตกาล พันธมิตรรัฐกรีกตั้งรับการรุกรานของจักรวรรดิเปอร์เซีย ณ ช่องเขาเทอร์มอพิลีในกรีซตอนกลาง กองทัพกรีกเสียเปรียบด้านจำนวนอย่างมหาศาล แต่ก็ยังสามารถยันกองทัพเปอร์เซียได้เป็นเวลาสามวัน ยุทธการดังกล่าวเป็นหนึ่งในการรบจนตัวตายที่โด่งดังที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ กองทัพกรีกขนาดเล็กนำโดยกษัตริย์ลีออนิดัสที่ 1 แห่งสปาร์ตา ได้เข้าปิดช่องเขาเล็ก ๆ ซึ่งขัดขวางกองทัพมหึมาของจักรวรรดิเปอร์เซีย ภายใต้การนำของจักรพรรดิเซอร์ซีสที่ 1 ไว้ หลังจากการรบสามวัน เฮโรโดตุสเชื่อว่ามีคนทรยศที่บอกเส้นทางให้กับกองทัพเปอร์เซียซึ่งนำไปสู่ด้านหลังของกองทัพสปาร์ต้า และในวันที่สาม กองทัพกรีกได้ถอนตัวออกไปราว 2,300 นาย หลังเที่ยงวันของวันที่สาม กองทัพเปอร์เซียสามารถเจาะผ่านแนวกรีกได้ แต่ก็ต้องประสบกับความสูญเสียอย่างมหาศาลเมื่อเทียบกับความสูญเสียของกองทัพกรีก การต้านทานอย่างบ้าระห่ำของกองทัพกรีกได้ซื้อเวลาอันหาค่ามิได้ในการเตรียมกองทัพเรือ ซึ่งอาจตัดสินผลแพ้ชนะของสงคราม The 1913 edition (same page numbers) สามารถดาวน์โหลดได้ที่ Google Books,.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุทธการที่เทอร์มอพิลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมืด

เพทราคผู้ริเริ่มความคิดเกี่ยวกับ “ยุคมืด” ของยุโรปจาก “ชีวิตบุรุษและสตรีคนสำคัญ” อันเดรีย ดิ บาร์จิลแลค ราว ค.ศ.1450 ยุคมืด (Dark Ages หรือ Dark Age) หมายถึงช่วงเวลาของความเสื่อมโทรมทั้งทางวัฒนธรรมและทางสังคมในยุโรปหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน (Decline of the Roman Empire) มาจนถึงในสมัยที่มีการฟื้นฟูการศึกษากันขึ้นอีกครั้ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและยุคมืด · ดูเพิ่มเติม »

รหัสลับดาวินชี

รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ-สืบสวนของแดน บราวน์ วางจำหน่ายเมื่อ พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีฉบับแปล 44 ภาษา และมียอดขายทั่วโลกรวมกันมากกว่า 80 ล้านเล่ม (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) รหัสลับดาวินชีเป็นผลงานลำดับที่สองในชุดที่มีโรเบิร์ต แลงดอน เป็นตัวเอก สำหรับหนังสือฉบับภาษาไทยนั้น จัดพิมพ์โดยแพรวสำนักพิมพ์ แปลโดยอรดี สุวรรณโกมล เนื้อเรื่องของรหัสลับดาวินชีเกี่ยวกับทฤษฎีสมคบคิดของคริสตจักร ในการปกปิดประวัติที่แท้จริงของพระเยซู รวมไปถึงปริศนาของจอกศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของมารีย์ชาวมักดาลา ในประวัติศาสตร์ของศาสนาคริสต์ การนำเสนอประเด็นเหล่านี้ในนิยายทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมากถึงความเหมาะสม และความถูกต้องของข้อมูล โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์และนิกายโอปุสเดอี นิยายเรื่องนี้ได้มีการอ้างถึงงานศิลปะและวรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี ศิลปินชาวอิตาลีตามชื่อเรื่อง ผลงานของดาวินชีที่นำมาอ้างถึงได้แก่ โมนาลิซา และภาพเขียน อาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็นต้น บริษัทโคลัมเบียพิคเจอร์สได้สร้างภาพยนตร์ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องนี้ ออกฉายเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยทอม แฮงส์ นักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ รับบทเป็นโรเบิร์ต แลงดอน ชื่อที่ใช้ฉายในประเทศไทยคือ รหัสลับระทึกโลก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรหัสลับดาวินชี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิวดอร์

ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2028 ถึง พ.ศ. 2146 กษัตริย์สามในหกพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7, สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 เป็นกษัตริย์องค์สำคัญที่ทรงเปลี่ยนแปลงอังกฤษจากชาติที่ค่อนข้างอ่อนแอเมื่อเทียบกับชาติอื่นๆ ในยุคกลางมาสู่ชาติมหาอำนาจในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ซึ่งในศตวรรษต่อมาอังกฤษกลายมาเป็นชาติที่มีอิทธิพลอย่างมากในโลก สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์อังกฤษที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและราชวงศ์ทิวดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)

ราชอาณาจักรอิตาลี (Kingdom of Italy, Regnum Italiae หรือ Regnum Italicum) เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นโดยชนลอมบาร์ดผู้เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลีหลังจากที่ราชอาณาจักรออสโตรกอธถูกทำลายในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยอรมนี

ออทโทที่ 1 มหาราช ราชอาณาจักรเยอรมนี (ละติน: Regnum Teutonicum) เป็นอาณาจักรอัครสังฆราชที่สืบเนื่องมาจากราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ดินแดนทางตะวันออกของจักรวรรดิแฟรงค์ที่ได้รับการแยกตัวออกมาตามสนธิสัญญาแวร์เดิงในปี ค.ศ. 843 แทบจะไม่ได้เป็นของจักรวรรดิแฟรงค์อย่างเต็มตัว ที่เป็นบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวแซ็กซอน, ชาวบาวารี, ชาวทูริงกี, ชาวอลามานนิ และ ชาวฟริซี เมื่อราชบัลลังก์ตกไปเป็นของราชวงศ์ที่ไม่ใช่แฟรงค์ (ลุดอล์ฟิง) คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน) หรือ "Teutonicorum" ก็เริ่มนำเข้ามาใช้อย่างไม่เป็นทางการ เมื่อมาถึงยุคกลางตอนกลาง อาณาจักรดยุคแบบเยอรมัน (Stammesherzogtum) ก็เริ่มมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เมื่อรัฐต่างๆ ของคาโรแล็งเชียงแยกตัวออกไปจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนเหลือแต่เยอรมนี ที่มีประมุขที่ยังคงถือตำแหน่งพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิ ราชอาณาจักรเยอรมนีก็กลายเป็นคำที่พ้องกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมาถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งชาติเยอรมัน" ก็มีสองความหมายที่เป็น "จักรวรรดิ" และ "ราชอาณาจักร" เมื่อมองในบริบทนี้แล้วราชอาณาจักรเยอรมนีก็ดำรงตัวเป็นราชอาณาจักรต่อมาจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806 คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน หรือ กษัตริย์เยอรมัน) เริ่มนำมาใช้อย่างเป็นทางการในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างที่เกิดข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ (Investiture Controversy) ที่อาจจะเป็นการใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิไฮน์ริคที่ 4 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พระจักรพรรดิก็เริ่มใช้สร้อย "rex Romanorum" (พระมหากษัตริย์แห่งชนโรมัน) ในพระราชอิสริยยศเพื่อเป็นการเน้นพระราชอำนาจและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเมื่อได้รับเลือกตั้ง โดยสภาผู้เลือกตั้งพระจักรพรรดิที่ประกอบด้วยพรินซ์อีเล็คเตอร์เจ็ดองค์ ตำแหน่งนี้ใช้ในเยอรมนี อิตาลี และ เบอร์กันดีที่เป็นรัฐที่มีราชสำนัก กฎหมาย และรัฐบาลของตนเอง แต่อยู่ในเครือข่ายของจักรวรรดิมาจนกระทั่งถึงสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียในปี ค.ศ. 1648 หรือจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและราชอาณาจักรเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล

ูบทความหลักที่ ราฟาเอล พระเยซูคืนชีพ” ภาพเหมือนของสันตะปาปาจูเลียสที่ 2” “สปาสซิโม” ภาพเหมือนของบัลทาซาร์ คาสติกลิโอเน” “ภาพเหมือนของฟรานเชสโค มาเรียที่ 1 เดลลา โรเวเร” ภาพเหมือนชายหนุ่ม, 1514, โปแลนด์, หายระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นักบุญจอร์จ” นักบุญจอร์จและมังกร” รายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: List of works by Raphael เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอล ซานซิโอ ที่รู้จักกันสั้นๆ ว่า “ราฟาเอล” ผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลี ราฟาเอลมีงานเขียนมากมายแม้ว่าจะเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 37 ปีและงานเกือบทั้งหมดก็ยังคงมีอยู่โดยเฉพาะงานที่ทำในวังวาติกันที่ราฟาเอลและผู้ช่วยตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่มารู้จักกันว่า “ห้องราฟาเอล” งานเขียนของราฟาเอลมิใช่เป็นงานที่มีฝีมือเป็นเอกแต่ยังเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อนักเขียนมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ19.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยฮีเยโรนีมึส โบส

หมือนตนเอง โดย ฮีเยโรนีมึส โบส รายชื่อภาพเขียนโดยฮีเยโรนีมึส โบส เป็นรายการภาพเขียนที่เขียนโดยฮีเยโรนีมึส โบส ผู้เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) คนสำคัญของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมันและบานพั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อภาพเขียนโดยฮีเยโรนีมึส โบส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน

ูบทความหลักที่ ทิเชียน รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน เป็นรายการภาพเขียนที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์อิตาลีแบบเวนิส รายการข้างล่างนี้เป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ (และอาจจะรวมทั้งงานเขียนที่ไม่ได้ระบุเป็นการแน่นอนว่าเป็นของทิเชียน).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี

ูบทความหลักที่ ซานโดร บอตติเชลลี “ภาพเหมือนตนเอง” รายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี เป็นรายชื่อจิตรกรรมและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรคนสำคัญของอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี

ูบทความหลักที่ เลโอนาร์โด ดา วินชี รายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี มีภาพเขียนทั้งหมดด้วยกันสิบห้าชิ้นที่ระบุว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โด ดา วินชีซึ่งรวมทั้ง จิตรกรรมแผง, จิตรกรรมฝาผนัง, ภาพร่าง, และงานที่ยังอยู่ในระหว่างการตระเตรียม ภาพเขียนหกภาพยังไม่เป็นที่ตกลงกันแน่นอนว่าเขียนโดยเลโอนาร์โดหรือไม่ สี่ภาพเพิ่งได้รับการยืนยันว่าเลโอนาร์โดเป็นผู้เขียนและอีกสองภาพหายไป ในบรรดาภาพเขียนทั้งหมดไม่มีภาพใดที่เลโอนาร์โด ดา วินชีลงชื่อ ฉะนั้นการที่จะบ่งว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โดหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับการศึกษาและการวิจัยของผู้เชี่ยวชาญ การที่เลโอนาร์โด มีผลงานเพียงไม่กี่ชิ้นก็อาจจะเป็นเพราะเป็นผู้มีความสนใจในสิ่งรอบตัวต่าง ๆ และความชอบทดสอบสิ่งใหม่ ๆ นอกจากนั้นยังชอบผัดวันประกันพรุ่ง แต่กระนั้นงานของเลโอนาร์โดก็เป็นงานที่มีความสำคัญเป็นอันมากในทางศิลปะและมีอิทธิพลต่อจิตรกรอื่น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปใต้

รปใต้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)

ูใบไม้ผลิ (Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ลอเรนโซ วัลลา

ลอเรนโซ วัลลา ลอเรนโซ วัลลา (Lorenso; Laurentius Valla ค.ศ. 1406-1457) เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวเมืองเนเปิลส์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) ก่อนการปฏิรูปศาสนาของมาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther ค.ศ. 1483-1546) ซึ่งการเขียนประวัติศาสตร์ในยุคนี้จะมีลักษณะวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น วัลลามีผลงานด้านประวัติศาสตร์หลายชิ้น ที่โดดเด่นและได่รับการกล่าวถึงมากที่สุดคือเรื่อง Discourse on the Forgery of the Alleged Danation of Constantine ซึ่งเขียนขึ้นใน ค.ศ. 1440.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลอเรนโซ วัลลา · ดูเพิ่มเติม »

ลากวีลา

ลากวีลา (L'Aquila มีความหมายว่า "นกอินทรี") เป็นเมืองทางภาคกลางของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักทั้งของแคว้นอาบรุซโซและจังหวัดลากวีลา มีจำนวนประชากร 72,913 คน แต่ในช่วงกลางวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คนเนื่องจากมีผู้เข้ามาเรียน ค้าขาย ทำงาน และท่องเที่ยว เมืองนี้ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลางบนเนินเขาลูกหนึ่งในหุบเขาอันกว้างขวางของแม่น้ำอาแตร์โน-เปสการา ล้อมรอบด้วยเทือกเขาแอเพนไนน์ โดยมียอดเขากรันซัสโซดีตาเลียซึ่งเป็นภูเขาสูงและมีหิมะปกคลุมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง ลากวีลาเป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลาง ถนนแคบ ๆ ในตัวเมืองตัดกันจนเหมือนเป็นเขาวงกต มีโบสถ์อาคารสมัยบารอกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตั้งอยู่เรียงราย จนกระทั่งมุ่งไปสู่จัตุรัสที่สง่างาม เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยลากวีลา เมืองนี้จึงเป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่มีชีวิตชีวาแห่งหนึ่งและมีสถาบันทางวัฒนธรรมมากมาย ได้แก่ โรงละคร วงดุริยางค์ซิมโฟนี สถาบันวิจิตรศิลป์ เรือนเพาะชำของรัฐ และสถาบันภาพยนตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลากวีลา · ดูเพิ่มเติม »

ลายวงกต

“วงกตคลาสสิก” เจ็ดชั้น เขาวงกตครีตทำด้วย 2500 TeaLights การเผาไหม้ในศูนย์คริสเตียนสมาธิและจิตวิญญาณของสังฆมณฑลบูร์กที่โบสถ์ Holy Cross ใน แฟรงก์เฟิร์ต-Bornheim ลายวงกตยุคสำริดแอตแลนติก ลายวงกตในภาพวาดในถ้ำในอิตาลี วงกตบนพื้นที่มหาวิหารอาเมียงส์ในฝรั่งเศส คนอสซอส ลายวงกต หรือ ลาบรินธ์ (Labyrinth) ในตำนานเทพเจ้ากรีก “Labyrinth” (λαβύρινθος, labyrinthos) คือโครงสร้างอันซับซ้อนที่ออกแบบและสร้างโดยเดดาลัสสำหรับกษัตริย์ไมนอสแห่งครีตที่คนอสซอส โดยมีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นกับดักมิโนทอร์ที่เป็นสิ่งที่มีร่างเป็นมนุษย์หัวเป็นวัว ผู้ในที่สุดก็ถูกสังหารโดยวีรบุรุษชาวเอเธนส์เธเซียส (Theseus) เดดาลัสสร้างวงกตอย่างวกวนจนเมื่อสร้างเสร็จตนเองก็แทบจะหาทางออกมาไม่ได้ อารีอัดเน (Ariadne) ให้ความช่วยเหลือเธเซียสให้หาทางออกจากได้โดยการมอบม้วนด้ายให้ม้วนหนึ่งให้วางตามเส้นทางเพื่อที่จะเดินตามรอยด้ายกลับออกมาจากวงกตได้ ในภาษาพูดของภาษาอังกฤษ “Labyrinth” มีความหมายพ้องกับคำว่า “Maze” (วงกตปริศนา) แต่นักวิชาการร่วมสมัยให้ความแตกต่างว่า “วงกตปริศนา” หมายถึงลวดลายวกวนที่ซับซ้อนที่มีทางเข้าทางออกได้หลายทาง แต่ “ลายวงกต” จะมีทางเข้าทางออกทางเดียว และทางจะไม่แตกออกไปเป็นทางย่อยเช่นที่เกิดขึ้นในวงกตปริศนาที่นำ ที่จะนำเข้าไปยังศูนย์กลาง ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าลายวงกตจะเป็นเส้นทางที่ไม่กำกวมที่นำเข้าไปยังศูนย์กลางของวงกตและนำออกมา และไม่มีวัตถุประสงค์ที่ทำให้ยากต่อการเดินตามเส้นทางเข้าไปและออกมา แม้ว่าเหรียญครีตยุคแรกบางเหรียญจะเป็นลายวกวนซ้อน (multicursal patterns) แต่ลายวกวนเดี่ยวเจ็ดชั้นแบบคลาสสิกก็กลายมาเป็นลวดลายที่ใช้บนเหรียญส่วนใหญ่มาตั้งแต่ราว 430 ปีก่อนคริสต์ศักราช และใช้กันโดยทั่วไปในการเรียกว่าเป็นวงกต – แม้ว่าในการบรรยายจะกล่าวว่ามิโนทอร์ติดกับอยู่ในวงกตปริศนาก็ตาม แม้เมื่อลายวงกตพัฒนาซับซ้อนขึ้น แต่ลายวงกตตั้งแต่สมัยโรมันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา แต่ก็เป็นลายวกวนทางเดียว (unicursal) “วงกตปริศนา” เพิ่งเริ่มมาเป็นที่นิยมกันเมื่อใช้ในการออกแบบสวนวงกตที่นิยมกันในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา ลายวงกตอาจจะปรากฏเป็นลวดลายบนเครื่องปั้นดินเผา, ตะกร้า, ลายสักบนร่างกาย, ลายบนผนังหรือกำแพงของคริสต์ศาสนสถาน โรมันใช้ลายวงกตในการตกแต่งบนผนัง, พื้นด้วยโมเสก ลายวงกตที่สร้างบนพื้นบางครั้งก็จะมีขนาดใหญ่พอที่จะใช้ในการเดินตามเส้นเข้าออกได้สำหรับการเดินกรรมฐาน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลายวงกต · ดูเพิ่มเติม »

ลายอาหรับ

“ลายอาหรับ” ที่อาลัมบรา ลายอาหรับ หรือ ลายอะราเบสก์ (Arabesque) คือลวดลายตกแต่งที่มีลักษณะเป็นลวดลายเรขาคณิต หรือลวดลายวิจิตรที่ทำซ้ำซ้อนเรียงกันเป็นแนวที่มักจะเลียนแบบพรรณไม้หรือสัตว์ “ลายอาหรับ” หรือ “Arabesques” ตามชื่อแล้วคือลักษณะลวดลายของศิลปะอิสลามที่พบในการตกแต่งผนังมัสยิด ลวดลายที่เป็นทรงเรขาคณิตเป็นลวดลายที่เลือกใช้จากพื้นฐานทัศนของอิสลามที่มีต่อโลก สำหรับชาวมุสลิมแล้วลวดลายทรงการตกแต่งดังว่าเป็นลวดลายที่ต่อเนื่องเลยไปจากโลกที่เราอยู่ หรือเป็นลวดลายที่เป็นสัญลักษณ์ของความไม่สิ้นสุด ฉะนั้นศิลปินอาหรับจึงสื่อความหมายของจิตวิญญาณโดยไม่ใช้ไอคอนเช่นที่ใช้ในศิลปะของคริสต์ศาสนา ถ้ามีลวดลายที่ผิดไปก็อาจจะเป็นการจงใจทำของศิลปินเพื่อที่จะแสดงถึงความถ่อมตัวของศิลปินผู้ที่มีความเชื่อว่าอัลลอฮ์เท่านั้นที่จะทรงเป็นผู้ที่สามารถสร้างความสมบูรณ์แบบได้ แต่สมมุติฐานนี้ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลายอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ลายใบอะแคนทัส

อะแคนทัสแบบนอร์ดิก ลายอะแคนทัสออกแบบโดยวิลเลียม มอร์ริส ลายใบอะแคนทัส (acanthus) เป็นลวดลายการตกแต่งทางศิลปะที่เป็นมักจะเห็นกันเสมอที่เป็นการตกแต่งด้วยใบไม้ ในงานสถาปัตยกรรมจะเป็นประติมากรรมที่แกะหินหรือไม้ออกมาเป็นใบไม้ตามลักษณะของใบอะแคนทัสจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่มีลักษณะคล้ายใบทิสเซิล, ต้นฝิ่น หรือพาร์สลีย์ ลายอะแคนทัสเป็นลายที่พบเสมอในการแกะหัวเสาแบบคอรินเทียนและแบบผสม (Composite order) และใช้ในการตกแต่งเป็นบัวนูน (frieze) รอบตอนบนของสิ่งก่อสร้างเป็นต้น กรีกโบราณเป็นชนกลุ่มแรกที่ใช้ลายใบอะแคนทัสในการตกแต่งและมาวิวัฒนาการให้วิจิตรขึ้นโดยการม้วนปลายใบโดยโรมัน ลายนี้ก็ยังคงนิยมใช้กันต่อมาถึงสมัยไบแซนไทน์, โรมาเนสก์ และกอทิก และมาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ ลายอะแคนทัสใช้ในการตกแต่งทั้งภายในและภายนอกอาคาร ภายในอาคารก็ใช้ตกแต่งเป็นบัวประกบ (crown molding) ที่ใช้ในตกแต่งส่วนบนเช่นตอนบนของหัวเสาอิงหรือตอนบนของตู้ นอกจากนั้นก็ยังใช้ในงานศิลปะของยุคกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโดยเฉพาะในงานประติมากรรม งานแกะสลักไม้ และงานบัวนูน ความสัมพันธ์ระหว่างใบอะแคนทัสที่เป็นเครื่องตกแต่งกับใบอะแคนทัสที่เป็นพันธุ์ไม้เป็นเรื่องที่โต้แย้งกันมานาน นักประวัติศาสตร์ศิลปะอาโลอิส รีเกิล (Alois Riegl) โต้ไว้ในหนังสือ "Stilfragen" ว่าอะแคนทัสที่เป็นเครื่องตกแต่งที่วิวัฒนาการมาจากลายใบปาล์ม (palmette) และมาละม้ายใบอะแคนทัส (Acanthus spinosus) เอาทีหลัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลายใบอะแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับคุณค่าของศิลปะ

A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ. 1843 ภาพชีวิตประจำวัน. อาเดรียน ฟาน โอสเตด, ''คนขายปลา'', ค.ศ. 1660-1670, สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 29 × 26.5 ซม., พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งบูดาเพสต์ ภาพเหมือน. คอนราด ครซิซาเนาสกี (Konrad Krzyżanowski), ''ภาพเหมือนของโยเซฟ พิลซูดสกี'', ค.ศ. 1920, พิพิธภัณฑ์กองทัพโปแลนด์, วอร์ซอว์ จิตรกรรมภูมิทัศน์. เทมิสโตเคิลส์ ฟอน เอ็คเค็นเบร็คเคอร์, ''ภูมิทัศน์ของ Laerdalsoren ที่ Sognefjord'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1901 ภาพนิ่ง. ไฮน์ริค อุห์ล (Heinrich Uhl), ''ภาพนิ่งกับกล่องอัญมณี, แว่นดูอุปรากร, ถุงมือ, และช่อดอกไม้'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, 50 x 60 ซม. ลำดับคุณค่าของศิลปะ (hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด" การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นอุดมคตินิยมจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของโฮราซ (Horace) "ut pictura poesis" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลำดับคุณค่าของศิลปะ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกา ซิญโญเรลลี

ตรกรรมฝาผนัง “กิจการของพระเยซูเท็จ”(Deeds of the Antichrist) ราว ค.ศ. 1501)ที่มหาวิหารออร์เวียตโต ลูคา ซินยอเรลลิ (Luca Signorelli หรือ Luca da Cortona หรือ Luca d'Egidio di Ventura (ชื่อเมื่อแรกเกิด)) (ราว ค.ศ. 1445 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1523) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 เป็นช่างร่าง ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง โดยเฉพาะการเขียนแบบลวงตาที่ทำให้ดูภาพลึกกว่าความเป็นจริง (foreshortening) ที่ใช้ในงานเขียนชิ้นเอก “การตัดสินครั้งสุดท้าย” (Last Judgment) ที่เขียนระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลูกา ซิญโญเรลลี · ดูเพิ่มเติม »

ลูคัส ครานัค

ลูคัส ครานัค ผู้อาวุโส (Lucas Cranach der Ältere; Lucas Cranach the Elder; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1472 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1553) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์คนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ทำภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์แกะไม้ และสลักโลหะ (engraving) ชื่อเมื่อแรกเกิดของลูคัสคือ "ลูคัส ซุนเดอร์" หรือ "ซอนเดอร์" ที่โครนัคในอัปเปอร์ฟรังโคเนีย ต่อมาภายหลังชื่อก็ถูกรวมกับชื่อเมืองเกิดเป็นชื่อ "ลูคัส ครานัค" ลูคัสอาจจะเรียนศิลปะการเขียนภาพจากบิดาหรืออาจจะจากปรมาจารย์ทางภาคใต้ของเยอรมนี เช่นเดียวกับศิลปินร่วมสมัยเช่นมัททีอัส กรือเนวัลด์ ผู้ที่ทำงานที่บัมแบร์กและอาชัฟเฟินบูร์ก บัมแบร์กเป็นเมืองหลวงของสังฆมณฑลที่เมืองโครนัคตั้งอยู.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและลูคัส ครานัค · ดูเพิ่มเติม »

วังบางขุนพรหม

วังบางขุนพรหม เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระมารดา วังบางขุนพรหมอยู่ในเนื้อที่ 33 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศใต้ของวังเทวะเวสม์ วังบางขุนพรหม มีตำหนักรวม 2 ตำหนัก ได้แก่ ตำหนักใหญ่ และตำหนักสมเด็จ โดยตำหนักใหญ่ ก่อสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวังบางขุนพรหม · ดูเพิ่มเติม »

วังเชอนงโซ

วังเชอนงโซ (Château de Chenonceau) ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเชอนงโซ (Chenonceaux) ในจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส วังเดิมสร้างบนโรงป่นแป้งเก่าบนฝั่งแม่น้ำแชร์ และสร้างมาก่อนหน้าที่จะมีหลักฐานทางเอกสารเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 วังปัจจุบันออกแบบโดยฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert De l'Orme) สถาปนิกเรอเนซองซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวังเชอนงโซ · ดูเพิ่มเติม »

วัตสันและปลาฉลาม

วัตสันและปลาฉลาม (Watson and the Shark) ที่เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์จิตรกรชาวอเมริกัน เป็นภาพของการช่วยเหลือบรุค วัตสันผู้เป็นพ่อค้าบริติชและอดีตนายกเทศมนตรีของนครลอนดอนจากการถูกโจมตีโดยปลาฉลามที่ฮาวานาในคิวบา ภาพต้นฉบับสามภาพโดยโคพลีย์เป็นของ หอศิลป์แห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวัตสันและปลาฉลาม · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินเชนโซ สกามอซซี

วินเชนโซ สกามอซซี อนุสาวรีย์วินเชนโซสกามอซซี่ วินเชนโซ สกามอซซี (Vincenzo Scamozzi) (2 กันยายน ค.ศ. 1548 - 7 สิงหาคม ค.ศ. 1616) เป็นสถาปนิกและนักเขียนเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรมชาวอิตาลี ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองวีเชนซา (Vicenza) และเวนิส (Venice) ในช่วงท้ายของศตวรรษที่ 16 วินเชนโซ สกามอซซี น่าจะเป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในยุคนี้โดยเป็นช่วงต่อระหว่างอานเดรอา ปัลลาดีโอ (Andrea Palladio) กับบัลดัสซาร์เร ลองเกนา (Baldassarre Longhena) ซึ่งลองเกนาเป็นลูกศิษย์คนหนึ่งของวินเชนโซ วินเชนโซเกิดที่เมืองวีเชนซา (Vicenza) บิดาเป็นนักสำรวจ (surveyor) และผู้รับเหมาก่อสร้าง (building contractor) นาม จาน โดเมนีโก สกามอซซี (Gian Domenico Scamozzi) วินเชนโซได้มีโอกาสไปเยือนโรมในปี 1579-1580 แล้วย้ายไปเวนิสในปี 1581 อิทธิพลของสกามอซซีต่อโลกของสถาปัตยกรรมนั้นมีอย่างสูงส่ง โดยเฉพาะจากงานเขียนชื่อแนวคิดสถาปัตยกรรมสากล (L'Idea della Architettura Universale หรือ The Universal Idea of Architecture) เป็นงานเขียนชิ้นสุดท้ายของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาเกี่ยวกับทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม ถูกพิมพ์เผยแพร่ด้วยภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut illustrations) ในเวนิส เมื่อปี 1615 วินเชนโซยังได้เขียนเกี่ยวกับชีวิตการประกอบวิชาชีพของเขา ซึ่งทำให้หนังสือเล่มนี้กลายเป็นเหมือนกับเครื่องมือทางการประชาสัมพันธ์ของเขาไป วินเชนโซได้บันทึกงานออกแบบ แปลน รูปด้าน ทั้งงานที่ได้สร้างจริงและงานที่ไม่ได้สร้าง รวมทั้งงานที่เป็นลักษณะของจินตนาการที่เหนือเทคโนโลยีในยุคนั้นอีกด้วย วินเชนโซเป็นสถาปนิกผู้หนึ่งที่เข้าใจคุณค่าของการประชาสัมพันธ์ตัวเองผ่านทางงานเขียนที่ประสบความสำเร็.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวินเชนโซ สกามอซซี · ดูเพิ่มเติม »

วีนัส

วีนัส (Venus) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวีนัส · ดูเพิ่มเติม »

วีนัสหลับ (จอร์โจเน)

วีนัสหลับ หรือ วีนัสแห่งเดรสเดน (Sleeping Venus หรือ Dresden Venus, I tre filosofi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนในประเทศเยอรมนี ภาพ “วีนัสหลับ” เขียนเสร็จราวระหว่างปี ค.ศ. 1510 ภาพ “วีนัสหลับ” เป็นภาพที่มีอิทธิพลต่องานเขียนอื่นๆ หลายชิ้น ในปัจจุบันเชื่อกันว่าทิเชียนเป็นผู้เขียนฉากหลังที่เป็นภูมิทัศน์ ที่มาเขียนหลังจากที่จอร์โจเนเสียชีวิตไปแล้ว ตามที่วาซาริตั้งข้อสังเกต ภาพ “วีนัสหลับ” เป็นงานหนึ่งในงานเขียนสุดท้ายของจอร์โจเนที่เป็นภาพสตรีเปลือย ที่ดูเหมือนร่างจะมีส่วนโค้งเว้าตามแนวเนินในฉากหลัง ดูเหมือนว่าจอร์โจเนจะเขียนรายละเอียดของแสงเงาของฉากหลังอย่างบรรจง การเลือกเขียนสตรีเปลือยเป็นแนวการเขียนที่เป็นการปฏิวัติทางศิลปะและเป็นจุดที่ผู้เชี่ยวชาญบางท่านถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะยุคใหม่ จอร์โจเนมาเสียชีวิตเสียก่อนที่ภาพเขียนนี้จะเขียนเสร็จ ซึ่งทำให้เชื่อกันว่าทิเชียนมาเขียนภูมิทัศน์และท้องฟ้าในฉากหลัง ที่ทิเชียนนำมาเขียนต่อมาในภาพ “วีนัสแห่งเออร์บิโน” ความยั่วยวนของวีนัสในภาพนี้อยู่ที่การวางท่าและตำแหน่งของมือซ้ายที่วางระหว่างต้นขา ผ้าปูเขียนเป็นสีเงินและเป็นเงาเหมือนผ้าซาตินซึ่งเป็นสีเย็นแทนที่จะเป็นสีร้อนของผ้าลินนินที่นิยมเขียนกัน ลักษณะของผ้าดูแข็งเมื่อเทียบกับที่พบในภาพเขียนของทิเชียนหรือเดียโก เบลัซเกซ ภูมิทัศน์โค้งตามส่วนโค้งของร่างของวีนัสที่เป็นการสะท้อนให้เห็นความคิดของความเกี่ยวข้องระหว่างร่างกายของมนุษย์ว่าเป็นสิ่งธรรมชาติที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและเจริญเติบโตได้ มีผู้อ้างว่าการวางท่าของวีนัสมีลักษณะคล้ายกับภาพพิมพ์แกะไม้ The pose of the figure has been connected with a figure in one of the ภาพพิมพ์แกะไม้ประกอบของหนังสือ “Hypnerotomachia Poliphili” (โพลิฟิลิตามความรักในฝัน) ที่พิมพ์ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวีนัสหลับ (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

วีนัสแห่งเออร์บิโน

วีนัสแห่งเออร์บิโน (ภาษาอังกฤษ: Venus of Urbino) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ ในประเทศอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “วีนัสแห่งเออร์บิโน” ในปี ค.ศ. 1538 ที่เป็นภาพเปลือยของหญิงสาวที่แสดงตัวเป็นวีนัสนอนเอนอยู่บนโซฟาหรือเตียงในห้องที่ตกแต่งอย่างหรูหราของวังเรอเนซองส์ ภาพนี้มีพื้นฐานมาจากภาพเขียนของจอร์โจเนชื่อ “วีนัสหลับ” (Sleeping Venus) ที่เขียนเมื่อราวปี ค.ศ. 1510 แต่ภาพของทิเชียนแสดงความมี sensuality มากกว่าเมื่อเทียบกับงานของจอร์โจเนที่ดูจะห่างเหิน ทิเชียนไม่ได้ใช้อุปมานิทัศน์ใดๆ ในรูปแบบที่ทำกันมา (วีนัสไม่มีสัญลักษณ์อะไรที่บ่งว่าเป็นวีนัส) แต่เป็นภาพที่ดึงดูดความรู้สึกเร้าใจอย่างไม่มีการหลีกเลี่ยง ความรูสึกที่เปิดเผยของวีนัสเป็นสิ่งที่มักจะสังเกตได้จากภาพนี้ วีนัสมองตรงมายังผู้ชมภาพ ราวกับไม่มีรู้สึกอย่างใดต่อความเปล่าเปลือยของร่างกาย ในมือขวาถือช่อดอกไม้ขณะที่มือซ้ายปิดระหว่างขาเหมือนจะยั่วความรู้สึกของผู้ดูอยู่กลางภาพ ฉากหลังด้านหน้ามีสุนัขซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความจงรักภักดีนอนหลับอยู่ปลายเตียง ภาพของสุนัขมักจะเป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรงแต่เพราะสุนัขนอนหลับก็อาจจะเป็นนัยว่าสตรีในภาพอาจจะไม่ซื่อตรงต่อคนรักและไปมีความสัมพันธ์กับคนอื่น จุยโดบาลโดที่ 2 เดลลา โรเวเร ดยุคแห่งเออร์บิโน (Guidobaldo II della Rovere) เป็นผู้จ้างทิเชียนให้เขียนภาพนี้ เดิมใช้ตกแต่ง “หีบคาสโซเน” (cassone) ซึ่งเป็นหีบที่ตามธรรมเนียมในอิตาลีให้เป็นของขวัญแต่งงาน สาวใช้ในฉากหลังของภาพกำลังรื้อหีบที่คล้ายคลึงกันดูเหมือนจะหาเสื้อผ้าของวีนัส ที่ออกจะแปลกคือเป็นภาพที่ดยุคตั้งใจจะใช้สอนจุยเลีย วารานาเจ้าสาวที่ยังเด็กของดยุคแต่หัวเรื่องของภาพกลับเป็นสตรีที่เร้าใจผู้ได้เห็น เนื้อหาการสั่งสอนของภาพอธิบายนักประวัติศาสตร์ศิลปะโรนา กอฟเฟ็นในปี ค.ศ. 1997 ในหนังสือ “Sex, Space, and Social History in Titian’s Venus of Urbino” ในปี ค.ศ. 1880 มาร์ค ทเวน วิจารณ์ “วีนัสแห่งเออร์บิโน” ในหนังสือ “A Tramp Abroad” ว่าเป็น “the foulest, the vilest, the obscenest picture the world possesses” และกล่าวต่อไปว่าเป็นภาพที่เขียนสำหรับ โรงอาบน้ำ (Bagnio) แต่ถูกปฏิเสธเพราะออกจะแรงไปหน่อย แต่ก็กล่าวว่าเป็นภาพที่แรงไปสำหรับไม่ว่าจะเป็นที่ไหนนอกจากสำหรับหอศิลป์สาธารณะ “วีนัสแห่งเออร์บิโน” เป็นแรงบันดาลใจของภาพเขียนต่อมาเช่นภาพ “โอลิมเปีย” โดย เอดวด มาเนท์ ซึ่งวีนัสในภาพหลังเป็นโสเภณี นอกจากนั้นก็ยังเป็นแรงบันดาลใจของตัวละครฟิอัมเม็ตตา บิอันชินีในหนังสือ “In the Company of the Courtesan” โดยซาราห์ ดูนันท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและวีนัสแห่งเออร์บิโน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปกรรมสิ่งทอ

ศิลปกรรมสิ่งทอ (textile arts) เป็นศิลปะและงานฝีมือที่ใช้เส้นใยพืช สัตว์หรือสังเคราะห์เพื่อสร้างวัตถุใช้สอยหรือตกแต่ง ประวัติศาสตร์ของศิลปกรรมสิ่งทอยังเป็นประวัติศาสตร์การค้าระหว่างประเทศด้วย สีย้อมม่วงไทร์เป็นสินค้าสำคัญในเมดิเตอร์เรเนียนโบราณ เส้นทางสายไหมนำผ้าไหมจีนสู่อินเดีย ทวีปแอฟริกาและยุโรป รสนิยมใยผ้าหรูหรานำเข้านำสู่กฎหมายป้องกันความฟุ่มเฟือยระหว่างยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นการปฏิวัติเทคโนโลยีสิ่งทอ การผลิตด้วยเครื่องจักรคอตตอนจิน สปินนิงเจนนีและพาวเวอร์ลูม และนำสู่การกบฏลัดไดท์ หมวดหมู่:ประเภทของศิลปะ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปกรรมสิ่งทอ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะกอทิก

ลปะกอทิก (Gothic art) เริ่มต้นขึ้นประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 17 และมีอิทธิพลอยู่ประมาณ 350 ปีต่อเนื่องมาจากศิลปะโรมาเนสก์ พบในศิลปะศาสนาในการสร้างมหาวิหาร (Cathedral) พอถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลปะแบบนี้ก็เผยแพร่ไปยังศิลปะในประเทศอื่นในยุโรปตะวันตกที่เรียกกันว่าศิลปะกอทิกนานาชาติ ศิลปะกอทิกนิยมกันมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 20 จึงเริ่มวิวัฒนาการมาเป็น ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ศิลปะแขนงสำคัญของสมัยกอธิคคือ ประติมากรรม งานกระจกสี จิตรกรรมฝาผนัง การเขียนลวดลายในหนังสือวิจิตร ศิลปะกอธิคเริ่มต้นจากฝรั่งเศสและแพร่หลายไปยังประเทศอื่น ๆ และมีลักษณะตามภูมิภาคนั้น ๆ ด้วย ลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมมีผนังเปิดกว้าง มีส่วนสูงเด่นเป็นพิเศษและมีแบบที่ออกมาเป็นลายเส้นอันซับซ้อน ทุกส่วนล้วนประกอบเข้าด้วยกันเป็นสัญลักษณ์นิยม ทางศาสนา โครงสร้างหลังคาเป็นโค้งแหลม ลักษณะต่างๆ เหล่านี้จะหาดูได้จากมหาวิหารในฝรั่งเศส, เยอรมนี และ อังกฤษ เช่น มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (ฝรั่งเศส) มหาวิหารนัวยง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารล็อง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารอามีแย็ง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารกลอสเตอร์ (อังกฤษ) และ มหาวิหารเอ็กซีเตอร์ (อังกฤษ) เป็นต้น มุขด้านตะวันออกของวิหาร Chartres Cathedral (ราว ค.ศ. 1145) รูปปั้นประกอบสถาปัตยกรรมนี้เป็นประติมากรรมศิลปะกอทิกตอนต้น ซึ่งแสดงวิวัฒนาการในรูปแบบเป็นแบบอย่างแก่ประติมากรรุ่นต่อมา ศิลปะกอทิกเป็นศิลปะที่เกิดในยุโรปช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่12-15 มีศูนย์กลางที่ฝรั่งเศส คำว่า"กอธิค" เริ่มใช้ครั้งแรกโดยนักวิจารณ์ศิลปะสมัยสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนปลายของอิตาลี เรียกรูปแบบของศิลปะ ที่เกิดในยุโรปในช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น ที่เป็นผลงานของพวกกอท แฟรงก์ ลอมบาร์ค สลาฟ และแซกซัน ซึ่งต่างเป็นชนเผ่าป่าเถื่อน ไร้ความเจริญทางศิลปวิทยาการ ประการสำคัญ เป็นชนเผ่าที่ทำลายจักรวรรดิโรมันและถึงพร้อมด้านศิลปวิทยาการ ดังนั้นถ้อยสำเนียงหรือนัยยะ ที่ใช้เรียกว่า "ศิลปะกอทิก" จึงเป็นการเรียกขานที่บ่งบอกไปในทางเย้ยหยันมากกว่าการชื่นชม เมื่อเปรียบเทียบกับคุณค่าศิลปะแบบกรีก-โรมัน ที่มีกฎเกณท์ชัดเจน ซึ่งในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาได้รื้อฟื้นกลับมาปรับใช้ในยุคสมัยของตน จนเรียกชื่อยุคว่าเรอเนซองค์ หรือฟื้นฟูศิลปวิทยาการ หมายถึงย้อนกลับไปรื้อฟื้นศิลปวิทยาการแบบกรีก-โรมันขึ้นมาอีกนั้น จึงยิ่งส่งผลให้มองศิลปกรรมอันเกิดจากฝีมือของผู้ทำลายอาณาจักรโรมันยิ่งดูไร้คุณค่าไร้รสนิยมยิ่งขึ้น จนนักวิจารณ์บางคนในยุคเรอเนซองส์ใช้คำกล่าวหาศิลปะกอธิคค่อนข้างรุนแรงว่าเป็นศิลปะที่ "ไร้รสนิยม" และ"วิตถาร" อย่างไรก็ตาม สำหรับชาวยุโรปทั่วไปนอกจากอิตาลีแล้ว มักจะเรียกศิลปกรรมกอธิคอย่างยอมรับมากกว่าจะดูแคลน โดยพวกเขาจะเรียกศิลปะกลุ่มนี้เป็นภาษาละตินว่า Opus Modernum หรืองานสมัยใหม่ ศิลปกรรมกอทิกเป็นศิลปะที่มีคุณค่าในตนเองอีกลักษณะรูปแบบหนึ่งของโลก ส่งผลต่อกระแสการหวนกลับไปสู่การชื่นชมและสร้างงานศิลปกรรมกอธิคอีกครั้งในศตวรรษที่ 18 ทั้งในยุโรปและอเมริกา จนกลายเป็นยุคที่เรียกว่า Gothic Revival.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสมัยกลาง

ประติมากรรมโรมาเนสก์ ศิลปะยุคกลาง (Medieval art) “ศิลปะยุคกลาง” ในโลกตะวันตกครอบคลุมเนื้อหาทั้งทางเวลาและภูมิภาคที่ยืนยาวกว่า 1000 ปีของประวัติศาสตร์ศิลปะของยุโรป, ตะวันออกกลาง และ แอฟริกาเหนือ บริบทของศิลปะยุคกลางรวมขบวนการทางศิลปะและสมัยศิลปะที่สำคัญๆ ทั้งระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ประเภทงาน, การฟื้นฟู, งานศิลปะ และ ศิลปินเอง นักประวัติศาสตร์ศิลป์พยายามที่จะให้ความหมายและนิยามศิลปะยุคกลางออกเป็นสมัยและ ลักษณะแต่ก็ประสบกับปัญหา โดยทั่วไปแล้วก็จะรวมคริสเตียนยุคแรก, ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน, ศิลปะไบแซนไทน์, ศิลปะเกาะ, ยุคก่อนโรมาเนสก์ and ศิลปะโรมาเนสก์ และศิลปะกอธิค และยังรวมไปถึงสมัยอื่นๆ อีกหลายสมัยภายในกลุ่มลักษณะนี้ นอกจากการแบ่งแยกลักษณะไปตามภูมิภาคแล้วลักษณะของสังคมโดยทั่วไปในช่วงนี้เป็นสังคมที่อยู่ในระหว่างการสร้างตนเองให้เป็นชาติเป็นวัฒนธรรม และจะมีลักษณะศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เช่นศิลปะแองโกล-แซ็กซอน หรือ ศิลปะนอร์ส งานศิลปะยุคกลางมีหลายรูปแบบแต่สิ่งที่ยังคงหลงเหลืออยู่ให้เห็นก็ได้แก่งานประติมากรรม, หนังสือวิจิตร, งานกระจกสี, งานโลหะ และ งานโมเสกซึ่งเป็นงานที่มีความเป็นถาวรภาพมากกว่าจิตรกรรมฝาผนัง งานไม้ หรือ ผ้าและเครื่องแต่งกาย, รวมทั้งพรมแขวนผนัง ศิลปะยุคกลางในยุโรปวิวัฒนาการมาจากต้นรากของธรรมเนียมนิยมทางศิลปะของจักรวรรดิโรมันรูปสัญลักษณ์คริสเตียนของสมัยคริสเตียนตอนต้น ลักษณะดังกล่าวมาผสมผสานกับวัฒนธรรมทางศิลปะของ “อนารยชน” จากทางตอนเหนือของยุโรปออกมาเป็นศิลปะอันมีคุณค่าที่เป็นงานศิลปะที่วางรากฐานของศิลปะของยุโรปต่อมา และอันที่จริงแล้วศิลปะยุคกลางก็คือประวัติศาสตร์ของปฏิกิริยาระหว่างองค์ประกอบของศิลปะคลาสสิก, คริสเตียนตอนต้น และอนารยชน นอกไปจากลักษณะที่ออกจะเป็นทางการของศิลปะคลาสสิกแล้ว ก็เป็นธรรมเนียมนิยมในการสร้างงานที่แสดงสัจนิยมของสิ่งที่สร้างที่จะเห็นได้จากงานศิลปะไบแซนไทน์ตลอดยุคนี้ที่ยังคงมีเหลืออยู่ให้เห็น ขณะเดียวกันกับที่ทางตะวันตกดูจะผสานหรือบางครั้งก็จะเป็นการแข่งขันกับการแสดงออกที่เกิดขึ้นในศิลปะตะวันตก และ องค์ประกอบของการตกแต่งอันมีชีวิตจิตใจของทางตอนเหนือของยุโรป ศิลปะยุคกลางมาสิ้นสุดลงในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เป็นสมัยของการหวนกลับมาฟื้นฟูความเชี่ยวชาญและคุณค่าของศิลปะคลาสสิก จากนั้นศิลปะยุคกลางก็หมดความสำคัญลงและได้รับการดูแคลนต่อมาอีกหลายร้อยปี เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะยุคกลางก็ได้รับการฟื้นฟูกันขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง และเห็นกันว่าเป็นสมัยศิลปะที่มีความรุ่งเรืองเป็นอันมากและเป็นพื้นฐานของการวิวัฒนาการของศิลปะตะวันตกต่อม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะทรงกลม

ประติมากรรมภาพนูนทอนโดโดยอันเดรอา เดลลา รอบเบีย (Andrea della Robbia) ที่หน้าโรงพยาบาลที่พิสโตเอีย จิตรกรรมทรงกลม “พระแม่มารีถือผลทับทิม” โดย ซานโดร บอตติเชลลี, ราว ค.ศ. 1487 (หอศิลป์อุฟฟิซิ) ศิลปะทรงกลม (Tondo พหูพจน์ Tondi หรือ Tondos) เป็นคำที่ใช้ในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาที่หมายถึงจิตรกรรมหรือประติมากรรมที่เป็นทรงกลม เป็นคำที่มาจากภาษาอิตาลีว่า “rotondo” ที่แปลว่า “กลม” คำนี้มักจะไม่ใช้กับภาพเขียนขนาดเล็กที่มีลักษณะกลมแต่มักจะใช้กับภาพเขียนที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว่าสองฟุตขึ้นไป ฉะนั้นจึงไม่รวมจุลจิตรกรรมภาพเหมือน (portrait miniature) แต่สำหรับประติมากรรมแล้วคำนี้ยืดหยุ่นกว่า ศิลปินสร้างงานลักษณะนี้มาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ จิตรกรรมทรงกลมมักจะเขียนบนแจกันเครื่องปั้นดินเผาของกรีกจากสมัยที่เรียกว่าทอนดี และภายในก้นชามไวน์ก้นตื้นที่เรียกว่าคิลิกซ์ (Kylix) ที่เป็นทรงกลมอยู่แล้ว ศิลปะลักษณะมาฟื้นฟูทำกันอีกครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 โดยเฉพาะในอิตาลี แต่ตั้งแต่นั้นมาความนิยมก็ลดถอยลง แต่ในภาพเขียน “ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ” (The Last of England) โดยจิตรกรชาวอังกฤษฟอร์ด แมดด็อกซ บราวน์ (Ford Madox Brown) ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตะวันตก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะนามธรรม

''เปอีย์ซาจโอดิสก์'' โดยโรแบร์ต เดอลูเนย์ ค.ศ. 1906-1907 ศิลปะนามธรรม (Abstract Art) ใช้ภาษาภาพในการสื่อความหมายด้วย สี และลายเส้น เพื่อสร้างสัดส่วนซึ่งอาจจะประกอบขึ้นในระดับความเป็นนามธรรมที่แตกต่างกันไป ตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาไปจนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะตะวันตกรับอิทธิพลในการใช้ทัศนมิติและความพยายามในการทำให้สมจริงมากที่สุด ขณะที่ศิลปะของวัฒนธรรมนอกทวีปยุโรปถูกเข้าถึงและแสดงให้เห็นแนวทางอันหลากหลายในการอธิบายทัศนประสบการณ์ของตัวศิลปิน จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปินหลายคนรู้สึกถึงความต้องการที่จะสร้างสรรค์ศิลปะแนวใหม่ ซึ่งสามารถที่จะถ่ายทอดการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของเทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์ และปรัชญา ต้นตอที่ทำให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะของตัวเองนั้นมีหลากหลาย และสะท้อนให้เห็นสภาพก่อนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคมและปัญญาในทุกแง่มุมของวัฒนธรรมยุโรปในขณะนั้น ศิลปะนามธรรม ศิลปะไร้รูปแบบตายตัว ศิลปะไร้รูปธรรม และศิลปะไม่แสดงลักษณ์ คือศิลปะที่เกี่ยวข้องกันอย่างหลวมๆ แม้ในความหมายเชิงลึกอาจมีความแตกต่างกันก็ตาม ศิลปะนามธรรมชี้ให้เห็นการละทิ้งค่านิยมในการสร้างสรรค์ภาพให้มีความสมจริงของวงการศิลปะ การวาดภาพโดยที่ไม่เน้นความสมจริงนี้อาจแสดงไว้เพียงเล็กน้อย, บางส่วน หรืออาจจะแสดงไว้โดยสมบูรณ์ทั้งชิ้นงาน ศิลปะนามธรรมคงอยู่ต่อเนื่องเรื่อยมา แม้แต่ศิลปะที่พยามยามจะทำให้มีองศามากที่สุดก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นศิลปะนามธรรม และตั้งแต่การแสดงภาพอย่างสมบูรณ์แบบเริ่มมีความยุ่งยากที่จะเข้าถึงแก่นแท้ งานศิลปะที่ใช้ความเป็นอิสระและแตกต่างไปจากเดิมทั้งรูปแบบและการใช้สีซึ่งมีความเด่นสะดุดตาก็อาจถูกเรียกว่าเป็นศิลปะนามธรรมได้ด้วยเช่นกัน ศิลปะนามธรรมโดยสมบูรณ์คือศิลปะที่ไม่สามารถโยงเข้ากับแหล่งอ้างอิงรูปธรรมใดได้เลย ตัวอย่างเช่น ในศิลปะนามธรรมทรงเรขาคณิตน้อยครั้งที่จะพบแหล่งต้นตอของแนวคิดหรือรูปทรงที่ปรากฏเป็นรูปธรรมในธรรมชาติ ซึ่งทั้งศิลปะรูปแบบตายตัวและศิลปะนามธรรมโดยสมบูรณ์ต่างก็มีความเฉพาะตัวที่เหมือน แต่ศิลปะรูปแบบตายตัวและศิลปะเสมือนจริง (หรือศิลปะสัจนิยม) มักจะมีบางส่วนที่เป็นนามธรรมปรากฏด้วยอยู่บ่อยครั้ง ทั้งศิลปะนามธรรมทรงเรขาคณิตและศิลปะนามธรรมแบบพลิ้วไหวมักจะมีความเป็นนามธรรมโดยสมบูรณ์อยู่บ่อยครั้ง และหนึ่งในพัฒนาการอันหลากหลายของศิลปะที่กลายมาเป็นศิลปะนามธรรมบางส่วน เช่น ศิลปะคติโฟวิสต์ที่เน้นการใช้สีแบบผิดแปลกอย่างจงใจและเด่นชัด หรือลัทธิคิวบิสม์ที่เน้นการทำให้รูปแบบการวาดภาพสิ่งต่างๆ ในชีวิตจริงผิดแผกไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลปะนามธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์

รโคโคเวสโซบรุนที่แอบบีชูสเซ็นรีด (Schussenried Abbey) งานของโดมินิคุส ซิมเมอร์มันน์ที่ วัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ปูนปั้นสมัยปลายบาโรกที่มีลักษณะโรโคโคที่วัดคร็อยซแฮรน (Kreuzherrnkirche) ที่เม็มมิงเก็น (Memmingen) โรโคโคเวสโซบรุน (ภาษาอังกฤษ: Wessobrunner School) หมายถึงกลุ่มนักปั้นปูนที่เริ่มก่อตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่แอบบีเบ็นนาดิคตินเวสโซบรุน (Wessobrunn Abbey) กลุ่มช่างนี้มีด้วยกันทั้งหมด 600 คนเท่าที่ทราบกัน กลุ่มโรโคโคเวสโซบรุนเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะปูนปั้นทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 โรโคโคเวสโซบรุน เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ศิลปะกุสตาฟ ฟอน เบโซลด์ (Gustav von Bezold) และ จอร์จ แฮคเคอร์ (Georg Hacker) ใช้เรียกศิลปินหรือช่างกลุ่มนี้มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ (ภาษาอังกฤษ: Northern Renaissance) เป็นวลีที่หมายถึงยุคเรอเนสซองซ์ในทวีปยุโรปเหนือ หรือทั่วๆ ไปคือทวีปยุโรปนอกอิตาลี ก่อน ค.ศ. 1450 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีมนุษย์วิทยาไม่มีอิทธิพลเท่าใดนักนอกอิตาลี แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ปรัชญาเรอเนสซองซ์ก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปที่ทำให้เกิด สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเยอรมัน, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษ, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเนเธอร์แลนด์, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสเปน, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโปแลนด์ และอื่นที่มีเอกลักษณ์และความรุ่งเรืองที่แตกต่างไปของแต่ละท้องถิ่น ในฝรั่งเศส, พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงนำ จิตรกรรมอิตาลีเข้ามาในฝรั่งเศส ทรงจ้างจิตรกรชาวอิตาลีรวมทั้งเลโอนาร์โด ดา วินชี และทรงสร้างพระราชวังอันใหญ่โตมโหฬารที่เป็นการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส การค้าขายในเมืองเช่นบรูจส์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และในอันท์เวิร์พ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ช่วยเพิ่มการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างอิตาลีและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำทางตอนเหนือ แต่ในด้านศิลปะโดยเฉพาะทางสถาปัตยกรรม ศิลปะกอธิคยังคงมีอิทธิพลอยู่ต่อมาจนกระทั่งการมาถึงของศิลปะบาโรกแม้ว่าจิตรกรจะมีแนวโน้มที่จะเขียนแบบอิตาลี การก่อตั้งมหาวิทยาลัยและการพิมพ์หนังสือช่วยเผยแพร่ปรัชญาทั่วไปในฝรั่งเศส, กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ, ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาไปยังสแกนดิเนเวีย และในที่สุดในอังกฤษภายในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักเขียนและนักมนุษย์วิทยาเช่น), ฟรองซัวส์ ราเบเลส์ (François Rabelais), ปีแยร์ เดอ รอนซาร์ด (Pierre de Ronsard) และ อิราสมัส ได้รับอิทธิจากเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นอันมากและกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการทางปัญญาของสมัยนั้น ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์อังกฤษซึ่งคาบกับสมัยเอลิสซาเบธ นักเขียนเช่นวิลเลียม เชกสเปียร์ และคริสโตเฟอร์ มาร์โลว์ (Christopher Marlowe) สร้างงานประพันธ์ที่มีอิทธิต่อมาอีกเป็นเวลานาน เรอเนสซองซ์เผยแพร่ไปยังโปแลนด์โดยตรงจากอิตาลีโดยจิตรกรจากฟลอเรนซ์และกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำที่ทำให้เกิดการริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโปแลนด์. ลักษณะของเรอเนสซองซ์ตอนเหนือในบางบริเวณแตกต่างจากลักษณะเรอเนสซองซ์ของอิตาลีที่เกิดจากการมีระบบอำนาจการปกครองที่มาจากศูนย์กลาง ในขณะที่อิตาลีและเยอรมันเป็นระบบรัฐอิสระเล็กๆ น้อยๆ แต่บางส่วนของยุโรปตะวันตกเริ่มมีการก่อตั้งชาติที่มีรัฐบาลกลาง นอกจากนั้นทางเหนือของยุโรปยังมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์และมีความขัดแย้งภายในระหว่างกลุ่มโปรเตสแตนต์ต่างๆ กับกลุ่มโรมันคาทอลิกที่มีผลกระทบกระเทือนที่ไม่แต่ทางการเมืองเช่นการแบ่งแยกเนเธอร์แลนด์แต่ยังมีผลสะท้อนต่อขบวนการการวิวัฒนาการของเรอเนสซองซ์ด้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและศิลปะ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง

ในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Carolingian Renaissance) เกิดขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยมีจุดที่รุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาพระราชโอรส ระหว่างช่วงเวลานี้ก็มีการศึกษาวรรณคดี, การเขียน, ศิลปะ, สถาปัตยกรรม, นิติศาสตร์, และหนังสือทางเทววิทยาศาสนาคริสต์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมัยของการวิวัฒนาการภาษาละตินสมัยกลาง และอักษรกาโรแล็งเฌียงกันขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างภาษาและวิธีการเขียนที่เป็นสามัญที่สามารถนำมาใช้ในการสื่อสารไปได้เกือบทั่วทั้งยุโรป การใช้คำว่า “renaissance” หรือ “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” ในการบรรยายช่วงเวลานี้ก็เป็นประเด็นที่โต้แย้งกัน เพราะการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่จำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มนักบวชเท่านั้น และขาดการเคลื่อนไหวโยกย้ายอย่างกว้างขวางเช่นที่เกิดขึ้นในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาScott pg 30 แทนที่จะเป็นการรื้อฟื้นของขบวนการทางวัฒนธรรมใหม่ ยุคนี้เป็นเพียงการพยายามที่จะเลียนแบบวัฒนธรรมของจักรวรรดิโรมันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยคลาสสิก

มัยคลาสสิก (Classical antiquity หรือ classical era หรือ classical period) เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติศาตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอเรเนียนที่ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณและโรมันโบราณที่เรียกว่าโลกกรีก-โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา และ การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

สมัยใหม่

กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหนึ่งของอารยธรรมต่างๆ ซึ่งในช่วงนี้ อารยธรรมนั้น ๆ จะเริ่มมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เริ่มมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเชื่องมงายหลายอย่างในอดีต นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ นับตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายเป็นต้นมา ผู้คนเริ่มสงสัยในความเชื่อและเนื้อหาตำราเรียนแบบเก่า ๆ ที่เชื่อกันมายาวนาน และไม่นาน ความเชื่อเก่าๆ และอำนาจการปกครองที่เด็ดขาดของศาสนจักรเริ่มเสื่อมถอยลง ผู้คนเริ่มคิดได้ว่ามนุษย์สามารถลิขิตชีวิตของตนได้ด้วยการกระทำของตนเอง จึงเริ่มดิ้นรนเพื่อชีวิตที่ดีกว่า และมีการคิดค้นทฤษฎี สิ่งประดิษฐ์ รวมไปถึงศิลปะขึ้นมากมาย ทำให้เข้าสู่สมัยใหม่ในที่สุด ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในช่วงปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ซึ่งการเริ่มต้นของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในช่วงปลายสมัยกลาง เป็นปัจจัยสำคัญที่ชักนำโลกเข้าสู่สมัยใหม่ คือ วิทยาการต่างๆ จากโรมัน เริ่มถูกฟื้นฟูขึ้นมาและแผ่กระจายไปในแถบยุโรป เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนในช่วงปลายของสมัยใหม่ วิทยาการถูกใช้ไปในทางการเข่นฆ่ากันเองของมนุษย์ เกิดสงครามโลก สังหารผู้คนไปหลายสิบล้านคน จนในที่สุดก็มีการตระหนักถึงการใช้วิทยาการอย่างถูกทาง และมีการควบคุมเทคโนโลยีที่อาจก่ออันตราย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมัยใหม่สิ้นสุดลง และเข้าสู่ สมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 เป็นต้นมา หมวดหมู่:ยุคสมัยในประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยโบราณ

ฟาโรห์ ผู้ปกครองอารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมที่โด่งดังในสมัยโบราณ สาธารณรัฐโรมัน อารยธรรมที่โด่งดังอีกแห่งในสมัยโบราณ สมัยโบราณ (Ancient history) ในความหมายที่เป็นสากล จะหมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักการตั้งถิ่นฐานถาวร สร้างอารยธรรม วัฒนธรรม อักษรต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งในแต่ละประเทศ สมัยโบราณจะมาถึงเร็วหรือช้า จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับว่าช่วงเวลาใดทีประเทศนั้นอยู่ในช่วงสร้างและประดิษฐ์อารยธรรมที่จะเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่าอารยธรรมของประเทศนี้เริ่มต้นขึ้นแล้ว ช่วงเวลานั้น ของประเทศนั้น ก็จะจัดอยู่ในช่วงสมัยโบราณ สมัยโบราณโดยเฉลี่ยของโลกจะตรงกับ 3,500 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 476 เพราะในช่วงเวลาดังกล่าว อารยรรมที่โด่งดังจำนวนมากของโลกถือกำเนิดในช่วงนี้ เช่น อารยธรรมโรมัน กรีก เมโสโปเตเมีย จีน อินเดีย อียิปต์ ฯลฯ นักประวัติศาสตร์ทั่วโลกจึงกำหนดช่วงเวลาดังกล่าวให้เป็นสมัยโบราณโดยเฉลี่ยของโลก สมัยโบราณโดยเฉลี่ยของโลก สิ้นสุดใน ค.ศ. 476 เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลง เหลือแต่จักรวรรดิโรมันตะวันออก ที่เปิดเมืองรับเอาศาสนาคริสต์เข้ามามีบทบาทสูงในสังคมโรมัน และอิทธิพลของโรมันก็แผ่ขยายไปทั่วยุโรป และไปทั่วโลก ทำให้โลกโดยรวมออกจากสมัยโบราณ เข้าสู่สมัยกลาง (Middle Ages) ทางด้านอารยธรรมสมัยโบราณของต่างประเทศ โดยเฉพาะในแถบยุโรป มีอารยธรรมที่น่าสนใจเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เช่น อารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน บุคคลที่มีชีวิตอยู่ในช่วงหลายพันปีก่อน แล้วยังมีชื่อเสียงอยู่จนถึงปัจจุบันมีมากมาย เช่น จูเลียส ซีซาร์, คลีโอพัตรา รวมทั้งฟาโรห์หลายพระองค์แห่งอียิปต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสมัยโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญากับปิศาจ

ัญญากับปิศาจซึ่งทำเป็นลายลักษ์อักษร มิคาเอล พาเชอร์ (Michael Pacher) สัญญากับปิศาจ (deal with the devil หรือ pact with the devil) หรือ การต่อรองแบบเฟาสต์ (Faustian bargain) เป็นความเชื่อทางวัฒนธรรมที่แพร่หลายในภาคตะวันตกของโลก และได้รับการเสริมเติมแต่งเป็นอันมากจากตำนานของเฟาสต์ (legend of Faust) และตำนานเรื่องปิศาจเมฟิสโตเฟลิส (Mephistopheles) แต่พบมากในนิทานพื้นบ้านที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์ ตามความเชื่อดั้งเดิมในแม่มดของชาวคริสต์ สัญญากับปิศาจเป็นสัญญาระหว่างมนุษย์ ซึ่งเรียก "ผู้ขันต่อ" (wagerer) ฝ่ายหนึ่ง กับซาตาน (Satan) หรือปิศาจอื่น ๆ อีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งมนุษย์เสนอจะยกวิญญาณของตนให้แก่ปิศาจ เพื่อแลกกับการที่ปิศาจจะกระทำบางสิ่งบางอย่างให้ การตอบแทนของปิศาจนี้ว่ากันว่าแตกต่างกันไปแล้วแต่ความเชื่อ อาทิ ความเยาว์วัย ความมั่งมี ความรู้ หรืออำนาจวาสนา ยังเชื่อกันด้วยว่า บางคนทำสัญญาเช่นนี้เพียงเพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าจะนับถือปิศาจเป็นนาย และไม่ต้องการสิ่งใดแลกเปลี่ยนเลย อย่างไรก็ดี การต่อรองเช่นนี้นับเป็นสิ่งอันตรายมากสิ่งหนึ่ง ด้วยว่าค่าตอบแทนแรงงานของปิศาจนั้นคือวิญญาณของผู้ขันต่อเอง เรื่องเล่ามักจบแบบสอนใจว่า นักเสี่ยงโชคผู้บ้าระห่ำพบความวิบัติชั่วกัลปาวสาน หรือในทางตรงกันข้าม อาจจบแบบตลกขบขันว่า ไพร่ที่หลักแหลมเอาชนะปิศาจด้วยอุบายอันแยบยล ความหวังในสิ่งเหนือธรรมดาอย่างแจ้งชัดนั้น บางทีก็เรียกว่าเป็นสัญญากับปิศาจ นับตั้งแต่เรื่องสะพานปิศาจในยุโรป ไปจนถึงความสามารถเล่นไวโอลินได้อย่างบรรเจิดของ นิกโกเลาะ ปากานีนี (Niccolò Paganini).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสัญญากับปิศาจ · ดูเพิ่มเติม »

สารตราทอง

รตราทองของอเล็กซิออสที่ 3 แห่งเทรบิซอนด์ (Alexios III of Trebizond) ค.ศ. 1374 ตราทองของสารตราทอง ค.ศ. 1356''' ออกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ สารตราทอง (Golden Bull หรือ Golden Baal) หมายถึงสารตราสีทองที่ประทับในพระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ และต่อมาโดยพระมหากษัตริย์ในยุโรปในระหว่างยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (หรือ “bulla aurea” หรือ “ตราทอง” ในภาษาละติน) “สารตราทอง” เป็นวลีที่ใช้ในยุโรปตะวันตก ส่วนในจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็เรียกว่า “chrysobullos logos” หรือ “chrysobulls” (χρυσός, หรือ “chrysos” ในภาษากรีกแปลว่า “ทอง”). “สารตราทอง” เป็นพระราชบัญญัติที่ประกาศใช้ติดต่อกันมาเป็นเวลาเกือบแปดร้อยปี และเป็นการออกโดยฝ่ายเดียวโดยไม่คำนึงหน้าที่การรับผิดของฝ่ายที่มีผลต่อ ซึ่งเป็นการทำให้ความมีประสิทธิภาพของอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์อ่อนลงไปในสายตาของประเทศอื่น ฉะนั้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 จักรวรรดิไบแซนไทน์จึงพยายามแสวงหาความตกลงจากฝ่ายตรงข้ามก่อนที่จะออกมาเป็นพระราชบัญญัติ พระมหากษัตริย์อื่นๆ ในยุโรปก็นำความคิดนี้ไปใช้แต่ในบางโอกาสเท่านั้น สารตราทองที่ไม่ได้ออกโดยจักรวรรดิไบแซนไทน์ทำให้พระราชบัญญัติมีน้ำหนักมากกว่าพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่ออกตามปกติ สารตราทองที่สำคัญๆ ก็ได้แก่.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสารตราทอง · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักแห่งเอเธนส์ (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล สำนักแห่งเอเธนส์ (Scuola di Atene, The School of Athens) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1509 ถึงปี ค.ศ. 1510 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในกรุงวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพตั้งอยู่ภายใน “ห้องเซนยาทูรา” (Stanza della Segnatura) “สำนักแห่งเอเธนส์” ถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของราฟาเอลและเป็นงานที่เป็นงานที่เพียบพร้อมไปด้วยลักษณะการเขียนภาพแบบเรอเนซองส์สูง By Horst Woldemar Janson, Anthony F. Janson.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสำนักแห่งเอเธนส์ (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสถาปัตยกรรมกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

Tempietto di San Pietro in Montorio (ค.ศ. 1502) โรม โดย โดนาโต ดันเจโล บรามันเต ซึ่งเป็นวัดที่สร้างบนที่ที่เชื่อกันว่าเป็นที่ที่นักบุญปีเตอร์สิ้นชีวิด มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรมในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา หรือ สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ (Renaissance architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มขึ้นเมื่อราวต้นคริสต์ศตวรรษที่15 และรุ่งเรืองไปจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อบางประเทศในทวีปยุโรปหันมาฟื้นฟูความสนใจเกี่ยวกับปรัชญากรีก และ โรมันโบราณ และวัตถุนิยม สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเน้นความมีความสมมาตร (symmetry) ความได้สัดส่วน (proportion) การใช้รูปทรงเรขาคณิต และลักษณะที่ปรากฏในสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่นสถาปัตยกรรมสมัย โรมัน การวางโครงสร้างจะเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ว่าจะเป็นเสา หรือ คานรับเสา และการใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลม การใช้โดม มุข (niche) หรือ aedicule ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เข้ามาแทนที่จะเป็นแบบตรงกันข้ามกับรูปทรงที่ซับซ้อนและไม่เป็นระเบียบ (irregular profile) ที่เป็นที่นิยมของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิก สถาปนิกคนแรกที่เริ่มแบบแผนของสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคือ ฟีลิปโป บรูเนลเลสกีหลังจากนั้นไม่นานลักษณะสถาปัตยกรรมที่ว่านี้ก็แพร่หลายไปทั่วประเทศอิตาลี และต่อไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ รัสเซีย และประเทศอื่น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมเอลิซาเบธ

หาสน์ฮาร์ดวิคฮอลล์ ค.ศ. 1590- ค.ศ. 1597 ลักษณะเด่นคือหน้าต่างกระจกที่เป็นซี่หินซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์แบบอังกฤษขณะที่มีหอทัศนาแบบอิตาลี คฤหาสน์เบอห์ลีย์สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1587 โรเบิร์ต สมิธสัน สถาปัตยกรรมเอลิซาเบธ (Elizabethan architecture) หมายถึงลักษณะสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ตอนต้นของอังกฤษที่รุ่งเรืองในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ ซึ่งตรงกับสมัยซิงเคเชนโตในอิตาลี หรือสมัยสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ตอนต้นของฝรั่งเศส หรือ Plateresque style ในสเปน สถาปัตยกรรมเอลิซาเบธสืบต่อมาจากสถาปัตยกรรมทิวดอร์และตามมาด้วยสถาปัตยกรรมพาลเลเดียนที่ริเริ่มโดยอินิโก โจนส์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์มาถึงอังกฤษระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ จากบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำที่นำเอาลักษณะ “หน้าจั่วบันได” หรือ “หน้าจั่วดัตช์” และแถบตกแต่ง (Strapwork) แบบฟลานเดอร์สที่เป็นลายเรขาคณิตที่ใช้ตกแต่งผนังเข้ามาด้วยเข้ามาด้วย ลักษณะทั้งสองอย่างดังกล่าวปรากฏในงานสร้างคฤหาสน์โวลลาทันฮอลล์ และ ที่คฤหาสน์มองตาคิวท์ ในช่วงเดียวกันนี้สถาปัตยกรรมอังกฤษก็เริ่มรับรูปแบบของสถาปัตยกรรมอิตาลีในการสร้างระเบียงแล่นยาวที่ใช้เป็นบริเวณสำหรับเป็นห้องรับรอง ในอังกฤษสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์มักจะออกมาในรูปของสิ่งก่อสร้างสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่เช่นคฤหาสน์ลองลีท สิ่งก่อสร้างเหล่านี้มักจะมีหอที่มีลักษณะเป็นสมมาตรที่เป็นนัยยะของการวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมการสร้างป้อมปราการในสมัยกลาง คฤหาสน์แฮ็ทฟิลด์ที่สร้างโดยโรเบิร์ต เซซิล เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 1 ระหว่าง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสถาปัตยกรรมเอลิซาเบธ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสงครามครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร

หม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร (25 สิงหาคม พ.ศ. 2474 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) ทรงเป็นจิตรกรหญิงชาวไทยซึ่งทรงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในแวดวงศิลปะ เนื่องจากผลงานของท่านสะท้อนถึงความหลากหลายของตัวงานและเอกภาพทางจิตวิญญาณ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและหม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หยด (มุทราศาสตร์)

ตราอาร์มของโคโลญ หยด หรือ หยาด(Goutte) ในมุทราศาสตร์ “หยด” เป็นองค์ประกอบในกลุ่มเครื่องหมายที่ปรากฏบนตราอาร์มที่เป็นมีลักษณะเหมือนหยดน้ำ ที่มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่าที่แปลว่า “หยดเล็ก” ชนิดของ “หยด” อาจจะนิยามด้วยผิวตรา เช่น “goutte argent” (“หยดเงิน”) หรืออาจจะใช้ชื่อเฉพาะสำหรับหยดชนิดต่างๆ เช่น “goutte d'eau” (“หยดน้ำ”) ลักษณะของผิวตราจะบ่งความหมายของ “หยด” ในการออกแบบตราอาร์มในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาทรงหยดจะเป็นหยักอ่อนเช่นที่แสดงในภาพ แต่ในสมัยต่อมาทรงจะเรียบขึ้น อ้วนขึ้น และสมส่วนกันทั้งสองข้าง ในการใช้สมัยแรกๆ หยดจะประไปทั่วโล่ที่เรียกว่า “goutty” หรือ “gutty” (“ประหยด” (gouttée)) จนในสมัยต่อมาเท่านั้นที่หยดกลายมาเป็น “เครื่องหมาย” ที่เป็นของตนเอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและหยด (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หลุมเพดาน

หลุมเพดานภายในตึกแพนธีออนในกรุงโรม หลุมเพดาน (coffer, coffering) เป็นหลุมที่มีลักษณะเป็นแผงติดต่อกัน (อาจจะเป็นทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยม แปดเหลี่ยม หรือผสมกันหลายทรง) ลึกเข้าไปในเพดานหรือภายใต้โค้งหรือส่วนราบแบนภายในสิ่งก่อสร้าง แผงสี่เหลี่ยมลึกใช้เป็นเครื่องตกแต่ง บางครั้งก็เรียกว่า “caissons” (กล่อง) หรือ “lacunaria” (ช่อง) ทำให้บางครั้งก็เรียกว่า “lacunar ceiling” (เพดานช่อง) หลุมเพดานที่ทำด้วยหินของกรีกโบราณ และโรมันโบราณ เป็นตัวอย่างแรกของการสร้างเพดานลักษณะนี้ที่ยังเหลือให้เห็นอยู่ แต่เมื่อ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชใช้ในการสร้างห้องเก็บศพอิทรัสกันที่เนินสุสาน (necropolis) ที่ซานจูลิอาโนที่ตัดจากหินทูฟา หลุมเพดานที่ทำด้วยไม้สร้างกันเป็นครั้งแรกโดยการไขว้สลับคานบนเพดานเข้าด้วยกัน ที่ใช้ในการตกแต่งวังในบริเวณลุ่มแม่น้ำลัวร์ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น การทดสอบรูปทรงของการวางหลุมเพดานจะเห็นได้ในทั้งสถาปัตยกรรมของอิสลามและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ปัญหาที่ซับซ้อนคือการค่อยลดขนาดของหลุมลงไปตามลำดับในการสร้างเพดานโค้งหรือโดม ตัวอย่างของหลุมเพดานของโรมันที่ใช้การลดน้ำหนักของเพดานคือเพดานของโดมโรทันดา (Rotunda) ในตึกแพนธีออนในกรุงโรม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและหลุมเพดาน · ดูเพิ่มเติม »

หอศีลจุ่มซันโจวันนี

หอศีลจุ่มซันโจวันนี หรือ หอศีลจุ่มฟลอเรนซ์ (Battistero di San Giovanni; Florence Baptistry) เป็นหอศีลจุ่มนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี และมีฐานะเป็นไมเนอร์บาซิลิกา ตัวหอเป็นทรงแปดเหลี่ยมที่ตั้งอยู่กลางจตุรัสเดลดูโอโมตรงกันข้ามกับมหาวิหารฟลอเรนซ์และหอระฆังของจอตโต ดี บอนโดเน (หอระฆังจอตโต) หอศีลจุ่มซันโจวันนีเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าที่สุดสิ่งหนึ่งของฟลอเรนซ์ที่สร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและหอศีลจุ่มซันโจวันนี · ดูเพิ่มเติม »

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1509 ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อนสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย (Borgia Apartment) ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ (Cortile del Belvedere) ที่ตั้งของห้องสี่ห้องตั้งจากตะวันออกไปตะวันตกซึ่งทำให้การชมภาพจะไม่ต่อเนื่องตามหัวเรื่องที่เขียนไว้ ห้องชุดสี่ชุดได้แก่ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระสันตะปาปาจูเลียสในปี ค.ศ. 1513 หลังจากที่ตกแต่งห้องสองห้องเสร็จแล้ว สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ก็ทรงดำเนินโครงการต่อ และหลังจากการเสียชีวิตของราฟาเอลในปี ค.ศ. 1520 จานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเลผู้ช่วยของราฟาเอลก็เขียนภาพในห้อง “ห้องคอนแสตนติน” ต่อจนเสร็.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและห้องราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

ห้องสารภัณฑ์

“พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เวอร์มิเนีย” แสดงให้เห็นถึงลักษณะของห้องสารภัณฑ์ ห้องสารภัณฑ์ (Cabinet of curiosities หรือ Cabinets of Wonder หรือ Kunstkammer หรือ Wunderkammer) คือการสะสมสิ่งของที่น่าสนใจที่เนื้อหาของสิ่งที่อยู่ในข่ายการสะสมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรปไม่ได้ให้คำจำกัดความที่แน่นอน ในสมัยปัจจุบัน “ห้องสารภัณฑ์” หมายถึงสิ่งที่อาจจะเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยา (ซึ่งบางครั้งอาจจะเป็นของปลอมก็ได้), ธรณีวิทยา, ชาติพันธุ์วรรณนา, โบราณคดี, รำลึกวัตถุทางศาสนาหรือประวัติศาสตร์, งานศิลปะ (รวมทั้งจิตรกรรมตู้) และวัตถุโบราณ “ห้องสารภัณฑ์ถือว่าเป็น “โลกย่อ” (microcosm) หรือ “เวทีโลก” (theater of the world) และ “เวทีแห่งความทรงจำ” ห้องสารภัณฑ์เป็นการสะท้อนถึงการพยายามควบคุมโลกภายนอกของผู้สะสมในรูปแบบของสิ่งที่สะสมในโลกส่วนตัว” ตามความเห็นของปีเตอร์ ทอมัสเกี่ยวกับสิ่งสะสมในห้องสารภัณฑ์ของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเป็นรูปการโฆษณาชวนเชื่ออย่างหนึ่ง นอกจากนั้นแล้วห้องสารภัณฑ์ของนักสะสมผู้มีชื่อเสียงหลายคนที่ได้รับการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในยุโรปของชนชั้นปกครอง, ขุนนาง, พ่อค้า หรือ นักวิทยาศาสตร์ ก็เป็นต้นตอของสิ่งที่กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ต่อม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและห้องสารภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเจ้าสาว (มานเทนยา)

ห้องภาพสโปซิ หรือ ห้องเจ้าสาว (Camera picta หรือ Camera degli Sposi หรือ bridal chamber) เป็นห้องที่มีจิตรกรรมฝาผนังภายในวังดยุคแห่งมานตัว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและห้องเจ้าสาว (มานเทนยา) · ดูเพิ่มเติม »

อกอสติโน ชิจิ

อกอสติโน ชิจิ (Agostino Chigi) (28 สิงหาคม พ.ศ. 2008 - 11 เมษายน พ.ศ. 2063) เป็นนายธนาคารชาวอิตาเลียนในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อกอสติโน ชิจิ เกิดที่เมืองเซียนนา เป็นสมาชิกของตระกูลชิจิอันมีชื่อเสียงและมีประวัติยาวนาน เขาได้เดินทางเข้าสู่กรุงโรมเมื่อประมาณ พ.ศ. 2030 เพื่อทำงานร่วมกับ Mariano ผู้เป็นบิดา ในฐานะที่เป็นทายาทของกองทุนอันมั่งคั่งแห่งเมืองหลวง เขามีทรัพย์สินเพิ่มพูนมากขึ้นหลังจากได้ถวายเงินกู้ยืมจำนวนมากให้แด่สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และผู้ปกครองคนอื่นๆในสมัยนั้น และยังได้ทำธุรกิจผูกขาดด้านต่างๆ อย่างเช่น ธุรกิจเกลือแห่ง Papal States และ Kingdom of Naples รวมทั้งสารส้มที่ขุดพบใน Tolfa, Agnato และ Ischia di Castro โดยในธุรกิจสิ่งทอนั้น สารส้มเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นที่ช่วยให้สีย้อมติดเนื้อวัสดุสิ่งทอ left อกอสติโน ชิจิ ยังมีบทบาทเป็นผู้อุปถัมถ์ศิลปินและนักประพันธ์ โดยหนึ่งในนักประพันธ์ที่เขาอุปถัมภ์คือ Pietro Aretino และศิลปินชื่อดังส่วนใหญ่ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็อยู่ในการอุปถัมภ์ของเขา ได้แก่ เปียโตร เปรูจิโน, Sebastiano del Piombo, Giovanni da Udine, Giulio Romano, Sodoma และราฟาเอล นอกจาก Perugino แล้ว ศิลปินชื่อดังเหล่านี้ได้รับมอบหมายจากอกอสติโน ชิจิ ให้เตรียมการตกแต่งบ้านพักที่เขาสร้างขึ้นริมฝั่งแม่น้ำไทเบอร์ ซึ่งทุกวันนี้รู้จักกันในชื่อว่า Villa Farnesina โดยราฟาเอลได้วาดภาพปูนเปียกในชื่อว่า Triumph of Galatea ไว้บนฝาผนังของบ้านพัก อกอสติโน ชิจิ ได้มอบหมายให้ราฟาเอลสร้างวิหารชิจิภายในโบสถ์ซานตามาเรียเดลโปโปโล ศพของเขาถูกฝังอยู่ที่วิหารแห่งนี้หลังจากเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอกอสติโน ชิจิ · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลเดอวีล

ออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville) เป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 4 โดยเป็นศาลาว่าการกรุงปารีส มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1357 และยังใช้เป็นจวนผู้ว่าราชการกรุงปารีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 เป็นต้นมา รวมถึงห้องจัดงานต่าง ๆ ด้วย ราวปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและออแตลเดอวีล · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโลกับแดฟนี

อะพอลโลกับแดฟนีเป็นนิยายเทพปกรณัมกรีกโบราณ บอกเล่าโดยผู้ประพันธ์ในสมัยเฮลเลนิสติกและโรมโบราณ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอะพอลโลกับแดฟนี · ดูเพิ่มเติม »

อัมโบรโจ โลเรนเซตตี

อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Ambrogio Lorenzetti หรือ Ambruogio Laurati) (ราว ค.ศ. 1290 - 9 มิถุนายน ค.ศ. 1348) เป็นจิตรกรสมัยกอธิคชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนนา ของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติเกิดราวปี ค.ศ. 1348 ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตด้วยกาฬโรคเช่นเดียวกับเปียโตร ลอเร็นเซ็ตตีพี่ชายที่เป็นจิตรกรเช่นกันเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1348 อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” อัมโบรจิโอมีผลงานระหว่างปี ค.ศ. 1348 ถึงปี ค.ศ. 1348 อัมโบรจิโอแสดงถึงอิทธิพลของซิโมเน มาร์ตินิแต่เป็นงานที่เป็นธรรมชาติมากกว่า งานชิ้นแรกๆ ที่สุดเท่าที่ทราบคืองานเขียน “พระแม่มารีและพระบุตร” (ค.ศ. 1319, พิพิธภัณฑ์ไดโอเซซาโน, ซานคาชิอาโน) หลักฐานเกี่ยวกับอัมโบรจิโอถูกบันทึกไว้ที่ฟลอเร็นซ์จนปี ค.ศ. 1321 แต่ก็กลับมาอีกหลังจากที่ไปทำงานที่เซียนนาเป็นเวลาหลายปี จิตรกรรมฝาผนังบนผนังใน “ศาลาแห่งเก้า” (Sala dei Nove) และ “ศาลาแห่งความสันติสุข” (Sala della Pace) ในศาลาว่าการเมืองเซียนาเป็นผลงานชิ้นเอกของยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้นที่มิใช่งานที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา “เก้า” เป็นคณาธิปไตยของสมาคมช่างและผู้มีผลประโยชน์ทางการเงินเก้าสมาคมที่ปกครองสาธารณรัฐเซียนนาในขณะนั้น ผนังสามด้านเป็นภาพเขียนของการประชุมที่เป็นอุปมานิทัศน์ของคุณธรรมใน “อุปมานิทัศน์ของรัฐบาลที่ดี” (Allegory of Good Government) บนผนังอีกสองด้านอัมโบรจิโอเขียนภาพปริทัศน์ของ “ผลของการมีรัฐบาลที่ดีต่อบ้านเมือง” (Effects of Good Government on Town and Country) และภาพ “อุปมานิทัศน์ของรัฐบาลที่ไม่ดี” (Allegory of Bad Government) และภาพคู่กัน “ผลของการมีรัฐบาลที่ไม่ดีต่อบ้านเมือง” (Effects of Bad Government on Town and Country) ภาพผลของรัฐบาลที่ดีอยู่ในสภาพที่ดีกว่า ทำให้เป็นภาพที่แสดงสารานุกรมของชีวิตอันสงบสุขของชาวเมืองในยุคกลางและทิวทัศน์ชนบท หลักฐานแรกของนาฬิกาทรายนาฬิกาทรายจะพบได้ในภาพเขียนนี้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอัมโบรโจ โลเรนเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

อัลโฟนส์ มูคา

อัลโฟนส์ มารียา มูคา (Alfons Maria Mucha) เป็นศิลปินแนวนวศิลป์ (Art Nouveau) ที่มีผลงานออกแบบอย่างหลากหลาย ทั้งภาพโปสเตอร์ ปฏิทิน ภาพประกอบหนังสือ งานพิมพ์ ภาพพิมพ์หิน งานโลหะ งานหนัง การออกแบบเครื่องประดับ และการออกแบบของตกแต่งบ้าน อีกทั้งยังมีผลงานวาดภาพเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินมากความสามารถ และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นคนหนึ่ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอัลโฟนส์ มูคา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบร็คท์ อัลท์ดอร์ฟเฟอร์

อัลเบร็คท์ อัลท์ดอร์ฟเฟอร์ (Albrecht Altdorfer) เป็นจิตรกร นักแกะสลัก และสถาปนิกชาวเยอรมันในยุคเรอแนซ็องส์แห่งเมืองเรเกนส์บูร์ก อัลท์ดอร์ฟเฟอร์เกิดราวปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอัลเบร็คท์ อัลท์ดอร์ฟเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด

อัสแซสซินส์ครีด (Assassin's Creed) เป็นซีรีส์เกมสร้างจากนิยายอิงประวัติศาสตร์แนวแอ็กชันผจญภัย, ลอบฆ่า, โลกเปิด จำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอัสแซสซินส์ครีด · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด: ลินนิเอจ

อัสแซสซินส์ครีด: ลินนิเอจ เป็นซีรีส์หนังสั้นแนะนำเกมอัสแซสซินส์ครีด 2 ผลิตโดย ยูบิซอฟท์ ซึ่งซีรีส์นี้กำกับโดยผู้กำกับชาวแคนาดา Yves Simoneau ซีรีส์ตอนแรกถูกปล่อยออกมาวันที่ 26 ตุลาคม 2009 ทาง YouTube และยังเป็นก้าวแรกของยูบิซอฟท์ในวงการภาพยนตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอัสแซสซินส์ครีด: ลินนิเอจ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันโตน ฟัน ไดก์ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ ดา กอร์เรจโจ

อันโตนิโอ อัลเลอกริ ดา คอร์เรจจิโอ “จูปิเตอร์และโล” (Jupiter and Io) ราว ค.ศ. 1531 เป็นภาพที่แสดงลักษณะการเขียนของคอร์เรจจิโออย่างเห็นได้ชัด ไม่มีการซ่อนความอ่อนหวานของ eroticism, สีสว่างและเย็น อันโตนิโอ อัลเลอกริ ดา คอร์เรจจิโอ หรือ อันโทนิโอ ดา คอร์เรจจิโอ (Antonio Allegri da Correggio. หรือ Antonio da Correggio; ชื่อเมื่อแรกเกิด) (สิงหาคม ค.ศ. 1489 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1534) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์ คนสำคัญจากปาร์มาในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและภาพสีน้ำมันทึ่เต็มไปด้วยความรู้สึกสัมผัส (sensuous) การวางองค์ประกอบของภาพเต็มไปด้วยความเคลื่อนไหว ความลวงตาทางทัศนียภาพ และการใช้ความลึก (foreshortening) คอร์เรจจิโอเป็นผู้มาก่อนศิลปะโรโคโคของคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันโตนีโอ ดา กอร์เรจโจ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตเนลโล ดา เมสสินา

อันโตเนลโล ดา เมสสินา (ภาษาอังกฤษ: Antonello da Messina หรือ Antonello di Giovanni di Antonio) (ราว ค.ศ. 1430 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1479) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวซิซิลีที่ได้รับอิทธิพลจากตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์สมัยต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและภาพเหมือน งานเขียนแม้จะมาจากทางไต้ของอิตาลีแต่ก็มีอิทธิพลต่อการเขียนทางภาคเหนือของอิตาลีโดยเฉพาะเวน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันโตเนลโล ดา เมสสินา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา มันเตญญา

“The Agony in the Garden” (ค.ศ. 1455) พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ เป็นลักษณะงานสมัยต้นของมานเทนยา อันเดรีย มานเทนยา (ภาษาอังกฤษ: Andrea Mantegna) (ราว ค.ศ. 1431 - 13 กันยายน ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน มานเทนยาเป็นนักศึกษาโบราณคดีโรมัน เป็นลูกเขยของ จาคโคโป เบลลินี และพี่เขยของจิโอวานนี เบลลินี มานเทนยาก็เช่นกันกับศิลปินรุ่นเดียวกันที่ทดลองวิธีต่างๆในการเขียนแบบทัศนียภาพ เช่นลดระดับขอบฟ้าให้ต่ำลงเพื่อทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพดูใหญ่ขึ้น ภาพของมานเทนยาจะมีลักษณะแข็ง และ เหมือนรูปทำจากหินทำให้เห็นว่ามานเทนยาเขียนภาพจากมุมมองของรูปสลัก ก่อนปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันเดรอา มันเตญญา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล ซาร์โต

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราวปี ค.ศ. 1520 - 1530) สกอตแลนด์ อันเดรอา เดล ซาร์โต (Andrea del Sarto, ราว ค.ศ. 1486 - ค.ศ. 1531) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์และแมนเนอริสม์ยุคต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน จิตรกรร่วมสมัยยกย่องอันเดรอา เดล ซาร์โตว่า "Senza errori”"หรือผู้ไม่ทำผิดและถือกันว่ามีความสามารถไม่ด้อยไปกว่าราฟาเอล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันเดรอา เดล ซาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ (Andrea del Verrocchio ชื่อเมื่อเกิด: Andrea di Michele di Francesco de' Cioni) (ราว ค.ศ. 1435 - ค.ศ. 1488) เป็นจิตรกร, ประติมากร และช่างทองสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นชาวอิตาลี ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางจิตรกรรมและประติมากรรม อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1435 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นผู้ทำงานในสำนักของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 1488 ลูกศิษย์ของเวอร์โรชชิโอก็ได้แก่เลโอนาร์โด ดา วินชี, เปียโตร เปรูจิโน, โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา และ ซานโดร บอตติเชลลี แต่ก็มีอิทธิพลต่อ ไมเคิล แอนเจโลด้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คิมิดีส

อาร์คิมิดีส (Αρχιμήδης; Archimedes; 287-212 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย ผลการทดลองในยุคใหม่ได้พิสูจน์แล้วว่า เครื่องจักรที่อาร์คิมิดีสออกแบบนั้นสามารถยกเรือขึ้นจากน้ำหรือสามารถจุดไฟเผาเรือได้โดยอาศัยแถบกระจกจำนวนมาก อาร์คิมิดีสได้รับยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เช่นเดียวกับ นิวตัน เกาส์ และ ออยเลอร์ เขาใช้ระเบียบวิธีเกษียณ (Method of Exhaustion) ในการคำนวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งพาราโบลาด้วยการหาผลรวมของชุดอนุกรมอนันต์ และได้ค่าประมาณที่ใกล้เคียงที่สุดของค่าพาย เขายังกำหนดนิยามแก่วงก้นหอยของอาร์คิมิดีส ซึ่งได้ชื่อตามชื่อของเขา, คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน และคิดค้นระบบสำหรับใช้บ่งบอกถึงตัวเลขจำนวนใหญ่มาก ๆ อาร์คิมิดีสเสียชีวิตในระหว่างการล้อมซีราคิวส์ (ราว 214-212 ปีก่อนคริสตกาล) โดยถูกทหารโรมันคนหนึ่งสังหาร ทั้ง ๆ ที่มีคำสั่งมาว่าห้ามทำอันตรายแก่อาร์คิมิดีส ซิเซโรบรรยายถึงการเยี่ยมหลุมศพของอาร์คิมิดีสซึ่งมีลูกทรงกลมจารึกอยู่ภายในแท่งทรงกระบอกเหนือหลุมศพ เนื่องจากอาร์คิมิดีสเป็นผู้พิสูจน์ว่า ทรงกลมมีปริมาตรและพื้นที่ผิวเป็น 2 ใน 3 ส่วนของทรงกระบอกที่บรรจุทรงกลมนั้นพอดี (รวมพื้นที่ของฐานทรงกระบอกทั้งสองข้าง) ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาในทางคณิตศาสตร์ ขณะที่ผลงานประดิษฐ์ของอาร์คิมิดีสเป็นที่รู้จักกันดี แต่งานเขียนทางด้านคณิตศาสตร์กลับไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก นักคณิตศาสตร์จากอเล็กซานเดรียได้อ่านงานเขียนของเขาและนำไปอ้างอิง ทว่ามีการรวบรวมผลงานอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 530 โดย ไอซิดอร์ แห่งมิเลตุส (Isidore of Miletus) ส่วนงานวิจารณ์งานเขียนของอาร์คิมิดีสซึ่งเขียนขึ้นโดย ยูโตเซียส แห่งอัสคาลอน (Eutocius of Ascalon) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ช่วยเปิดเผยผลงานของเขาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเป็นครั้งแรก ต้นฉบับงานเขียนของอาร์คิมิดีสหลงเหลือรอดผ่านยุคกลางมาได้ไม่มากนัก แต่ก็เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคเรอเนสซองส์ ปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราว ค.ศ. 1630) อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ (ภาษาอังกฤษ: Artemisia Gentileschi) (8 กรกฎาคม ค.ศ. 1593 - ค.ศ. 1651/1653) เป็นจิตรกรบาโรกสมัยต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาร์เทมิเซียเกิดที่กรุงโรมและเสียชีวิตที่เนเปิลส์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรคนสำคัญคนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากคาราวัจโจ และเป็นจิตรกรในสมัยที่ผู้หญิงยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มนักเขียนภาพ อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรหญิงคนแรกที่ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ (Accademia di Belle Arti Firenze) และเป็นสตรีคนแรกที่เขียนภาพเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และศาสนาในสมัยที่หัวข้อเช่นนี้เชื่อกันว่าเป็นสิ่งที่เกินกว่าผู้หญิงจะเข้าใจได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี · ดูเพิ่มเติม »

อาลบี

อาลบี (Albi) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดตาร์น แคว้นอ็อกซีตานี ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนแม่น้ำตาร์น ห่างจากเมืองตูลูซ ประมาณ 85 กิโลเมตร จากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองอาลบี เคยเป็นเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของอัครมุขนายกแห่งอาลบี ซึ่งอยู่ในมุขมณฑลแห่งอาลบี (Diocese of Albi) เขตเมืองอาลบี ได้แก่ เมืองเก่า ซึ่งในปัจจุบันตั้งอยู่ตรงกลางใจเมือง และบริเวณรอบของมหาวิหารอาลบี ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 2010 ในนาม Espicopal City of Albi (Cité épiscopale d'Albi).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาลบี · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธปืน

ปืนลูกโม่สมิธแอนด์เวสสันที่ถูกออกแบบมาให้กับกองทัพและตำรวจ อาวุธปืน เป็นอาวุธซึ่งยิงกระสุนหนึ่งหรือมากกว่าด้วยความเร็วสูงผ่านทางการควบคุมการระเบิดของดินปืน การยิงเกิดขึ้นได้โดยแก๊สที่เกิดอย่างรวดเร็ว กระบวนการการเผาไหม้ที่รวดเร็วนี้เรียกว่าดีแฟล็กเกรชั่น (deflagration) ในอาวุธปืนแบบเก่าการเคลื่อนที่นี้เกิดจากดินปืน แต่ในยุคปัจจุบันอาวุธปืนนั้นจะใช้ดินปืนที่มีควันน้อยกว่า คอร์ไดท์ หรืออื่นๆ อาวุธปืนในปัจจุบัน (ยกเว้นปืนลูกซอง) จะมีลำกล้องที่ข้างในทำร่องเป็นเกลียวเพื่อเพิ่มการหมุนให้กับกระสุนซึ่งจะสร้างความมีเสถียร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาวุธปืน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกาออร์

อาสนวิหารกาออร์ (Cathédrale de Cahors) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งกาออร์ (Cathédrale Saint-Étienne de Cahors) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาออร์ ตั้งอยู่ที่เมืองกาออร์ จังหวัดล็อต แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน เป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่แสดงให้เห็นถึงช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับสถาปัตยกรรมกอทิกได้อย่างดียิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกสำคัญของพระเยซู ซึ่งเรียกว่า "Sainte Coiffe" ซึ่งเป็นหมวกผ้าคลุมศีรษะเพื่อใช้แต่งพระศพพระเยซูเมื่อตอนสิ้นพระชนม์ ซึ่งเรลิกชิ้นนี้ถูกนำกลับมาจากแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ โดยเฌโร เดอ การ์ดายัก อาสนวิหารแห่งกาออร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาสนวิหารกาออร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลีมอฌ

อาสนวิหารลีมอฌ (Cathédrale de Limoges) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งลีมอฌ (Cathédrale Saint-Étienne de Limoges) เป็นทั้งอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลีมอฌ ตั้งอยู่ติดกับ "สวนพระสังฆราช" (Jardin de l'Évêché) ในเขตเมืองเก่า "ลาซีเต" (La Cité) ของลีมอฌ จังหวัดโอต-เวียน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน (ปฐมมรณสักขี) เป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานสำคัญที่สุดในลีมอฌคู่กับสถานีรถไฟลีมอฌ และยังถือเป็นคริสต์ศาสนสถานแห่งเดียวในภูมิภาคลีมูแซ็งที่สร้างในแบบกอธิกที่สมบูรณ์แบบ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาสนวิหารลีมอฌ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอัสสัมชัญ

อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หรือโบสถ์อัสสัมชัญ (Assumption Cathedral) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และ 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา ตั้งอยู่ที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร วิหารสร้างขึ้นครั้งแรกในรูปแบบทรงไทยโดยบาทหลวงปาสกัล ซึ่งเป็นชาวไทย-โปรตุเกส โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 โดยคุณพ่อกอลมเบต์ เจ้าอาวาสวัดชาวฝรั่งเศสในขณะนั้น เพื่อรองรับการขยายตัวของคริสต์ศาสนิกชนที่มีเพิ่มมากขึ้น โดยมีสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง โดยมีวัสดุก่อสร้างเช่นหินอ่อนและกระจกสี ซึ่งสั่งมาจากประเทศฝรั่งเศส สิงคโปร์และอิตาลี วิหารได้รับการออกแบบในรูปของงานสถาปัตยกรรมเรเนซองส์ มีความสูงของหอระฆังตั้งแต่ยอดหอคอยจดพื้น 32 เมตรด้วยกัน ส่วนด้านในผนังและเพดานก็ตกแต่งด้วยจิตรกรรมแบบเฟรสโกและประติมากรรมปูนปั้นที่แสดงถึงเรื่องราวความเชื่อของทางศาสนาคริสต์ ปัจจุบันวิหารมีอายุเก่าแก่อายุกว่า ปี เป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยและยังได้การยกย่องให้เป็นหนึ่งในอาสหวิหารที่สวยที่สุดในไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาสนวิหารอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแม็ส

อาสนวิหารแม็ส (Cathédrale de Metz) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งแม็ส (Cathédrale Saint Étienne de Metz) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแม็ส ตั้งอยู่ที่เมืองแม็ส จังหวัดมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญคือนักบุญสเทเฟน ห้องเก็บสมบัติของอาสนวิหารได้สะสมของมีค่ามานานนับพันปี โดยเป็นของสะสมของมุขมณฑลแม็สที่รวมถึงผ้าคลุมแท่นบูชาและสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้ในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ อาสนวิหารแม็สถือเป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่มีโถงทางเดินโบสถ์ที่สูงที่สุดแห่งหนี่งของโลก และยังมีชื่อเล่นว่า "โคมไฟแห่งพระผู้เป็นเจ้า" (La Lanterne du Bon Dieu) อันเนื่องมาจากมีโครงสร้างหน้าต่างที่เป็นงานกระจกสีมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกJolin J.L. (2001) La lanterne du Bon Dieu.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาสนวิหารแม็ส · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์

''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ภาษาอังกฤษ: Allegory of Prudence) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ ทิเชียนเขียนภาพ “อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ” ระหว่างปี ค.ศ. 1565 ถึงปี ค.ศ. 1570 เป็นภาพศีรษะชายสามศีรษะหันหน้ากันไปสามทางเหนือสัตว์สามชนิด จากซ้ายเป็นหมาป่า, สิงห์โต และหมา ศีรษะชายสามคนเป็นอุปมานิทัศน์หรือสัญลักษณ์ของ “ชีวิตสามช่วงของมนุษย์” (ความเป็นหนุ่ม, ความเป็นผู้ใหญ่ และ ความมีอายุ) ซึ่งคล้ายกับการวางท่าของสฟิงซ์และต่อมาบรรยายโดยอริสโตเติล ใบหน้าของแบบเชื่อกันว่าเป็นภาพของทิเชียนเอง, โอราซิโอลูกชาย และหลานมาร์โค เวเชลลิโอซึ่งเช่นเดียวกับโอซาริโอ ทั้งสองคนพำนักและทำงานอยู่กับทิเชียน ทิเชียนเขียนภาพเหมือนตนเองอีกภาพหนึ่งในปี ค.ศ. 1567 ซึ่งใช้เป็นภาพที่ใช้เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของทิเชียนกับภาพนี้ นอกจากนั้นใบหน้านี้ยังปรากฏในภาพเขียนของทิเชียนในสมัยเดียวกันอีกหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพเดียวที่ทิเชียนเขียนคำขวัญ: “EX PRAETERITO/PRAESENS PRUDENTER AGIT/NE FUTURA ACTIONẼ DETURPET” (จาก(ประสบการณ์ใน)อดีต, ปฏิบัติอย่างรอบคอบในปัจจุบัน, ไม่ทำลายอนาคต) เออร์วิน พานอฟสกีตีความหมายในความสัมพันธ์ของใบหน้าทั้งสามในภาพเขียนว่าเมื่อทิเชียนได้รับความสำเร็จในปี ค.ศ. 1569 ในการที่สามารถโอนใบ “Senseria” ซึ่งเป็นใบลิขสิทธิ์ที่ได้รับจากซินยอเรีย (Signoria) ให้แก่ลูกชายได้ ฉะนั้นทิเชียนจึงกลายเป็นอดีต, โอราซิโอเป็นสัญลักษณ์ของปัจจุบัน และ ความไม่มีหลาน, มาร์โคจึงเป็นสัญลักษณ์ของอนาคต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

อูร์บีโน

อูร์บีโน (Urbino) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเปซาโรและอูร์บีโน แคว้นมาร์เค ประเทศอิตาลี อูร์บีโนเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวโดยเฉพาะในสมัยของเฟเดรีโก ดา มอนเตเฟลโตร ดยุกแห่งอูร์บีโนระหว่าง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอูร์บีโน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ลินคอล์น

อนุสาวรีย์ลินคอล์น (Abraham Lincoln (French 1920)) คือ รูปปั้นท่านั่งขนาดใหญ่ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา อับราฮัม ลินคอร์น แกะสลักโดยแดเนียล เชสเตอร์ เฟรนช์ (ค.ศ. 1850-1931) และพี่น้อง Piccirilli รูปปั้นถูกตั้งอยู่ในอนุสรณ์สถานลินคอร์น (Lincoln Memorial) ซึ่งสร้างระหว่าง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอนุสาวรีย์ลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อ่างล้างบาป

อ่างล้างบาปที่มหาวิหารวอมส์ ประเทศเยอรมนี อ่างล้างบาปสมัยกลาง จากเมือง Norrköping ประเทศสวีเดน อ่างล้างบาป (Baptismal font) คือภาชนะที่ใช้ทำพิธีบัพติศมาสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ “พิธีบัพติศมา” ก็มีหลายแบบ -- พรมน้ำ รดน้ำ หรือจุ่มลงไปในน้ำทั้งตัว อย่างคำในภาษากรีกว่า βαπτιζω คำนี้แปลว่าดำลงไป แต่อ่างล้างบาปโดยทั่วไปจะเล็กเกินกว่าที่จะใช้วิธีนี้ได้นอกจากกับเด็กทารก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและอ่างล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ แม็มลิง

ันส์ แม็มลิง (Hans Memling; ราว ค.ศ. 1430 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฮันส์ แม็มลิง · ดูเพิ่มเติม »

ฮือโค ฟัน เดอร์คุส

ือโค ฟัน เดอร์คุส (Hugo van der Goes; ราว ค.ศ. 1440 - ราว ค.ศ. 1482) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและบานพับภาพ ฮือโค ฟัน เดอร์คุสเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1440 ที่เมืองเกนต์ เสียชีวิตที่ใกล้เมืองบรัสเซลส์เมื่อราว ค.ศ. 1482 ฮือโคเป็นสมาชิกของสมาคมช่างเขียนแห่งเกนต์ในฐานะมาสเตอร์ในปี ค.ศ. 1467 ในปี ค.ศ. 1468 ฮือโคก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตกแต่งเมืองบรูชเพื่อเตรียมการฉลองการเสกสมรสระหว่างชาร์ลพระเศียรล้าน ดุ๊กแห่งเบอร์กันดี (Charles the Bold) กับมาร์กาเรตแห่งยอร์ก (Margaret of York) และเป็นผู้ตกแต่งตราประจำพระองค์สำหรับขบวนการเสด็จเข้าเมืองเกนต์ของพระเจ้าชาร์ลในปี ค.ศ. 1469 และต่อมาในปี ค.ศ. 1472 ฮือโคก็ได้รับเลือกให้เป็นอธิการของสมาคมในปี ค.ศ. 1473 หรือปี ค.ศ. 1474 ในปี ค.ศ. 1475 หรือหลายปีต่อมา ฮือโคก็บวชเป็นพระที่สำนักสงฆ์โรดโกลสเตอร์ (Rood Klooster) ไม่ไกลจากบรัสเซลส์ที่เป็นของนิกายวินเดิสไฮม์ (Windesheim Congregation) และยังคงทำงานจิตรกรรมต่อจนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1482 หรือในปี ค.ศ. 1483 ในปี ค.ศ. 1480 ฮือโคถูกเรียกตัวไปเมืองเลอเฟินเพื่อไปเขียน "Justice Scenes" ที่ดีร์ก เบาตส์ เขียนค้างไว้ก่อนที่จะเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1475 หลังจากนั้นไม่นานขณะที่ฮือโคเดินทางกลับจากโคโลญกับพระในสำนักก็เกิดความรู้สึกอยากจะฆ่าตัวตายและประกาศตัวเองว่าเป็นผู้ที่ถูกแช่ง แต่เมื่อกลับมาถึงโรดโกลสเตอร์ ฮือโคก็หายและเสียชีวิตที่นั่น ระยะเวลาที่พำนักที่สำนักสงฆ์ถูกบันทึกโดยคัสปาร์ โอฟเฮยส์ (Gaspar Ofhuys) นักบวชอีกองค์หนึ่ง รายงานโดยแพทย์ชาวเยอรมันฮีเยโรนือมุส มึนเซอร์ (Hieronymus Münzer) ในปี ค.ศ. 1495 ทีกล่าวถึงจิตรกรชาวเกนต์ตกอยู่ในอารมณ์เศร้าเพราะความกดดันที่จะเขียนภาพให้ดีเท่าฉากแท่นบูชาเกนต์ อาจจะหมายถึงฮือโค งานเขียนชิ้นที่สำคัญที่สุดที่ยังเหลืออยู่คือฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์) ที่เป็นงานที่จ้างสำหรับวัดซานเอจีดีโอในโรงพยาบาลของวัดซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์ โดยตอมมาโซ ปอร์ตีนารี (Tommaso Portinari) ผู้จัดการสาขาบรูชของธนาคารเมดีชี ฉากแท่นบูชามาถึงฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 1483 หลายปีหลังจากที่ฮือโคเขียนเสร็จ เป็นงานที่ชื่นชมกันในฟลอเรนซ์ จอร์โจ วาซารีในหนังสือ "ชีวิตศิลปิน" ของปี ค.ศ. 1550 เรียกฮือโคว่า "Ugo d'Anversa" (ฮือโคแห่งแอนต์เวิร์ป) ซึ่งเป็นหลักฐานเดียวที่ยืนยันว่าฮือโคเป็นผู้เขียนภาพ งานชิ้นอื่นใช้การวิจัยลักษณะการเขียนโดยการเปรียบเทียบกับฉากแท่นบูชานี้ในการบ่งว่าฮือโคเป็นผู้วาด ดูเหมือนว่าฮือโคจะทิ้งงานร่างไว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจจะใช้โดยผู้นิยมในการสร้างงานเขียนที่ฮือโคไม่ได้วาดด้วยตนเอง ร่างภาพ "เจค็อบและเรเชล" อยู่ที่ไครสต์เชิร์ช เชื่อเป็นงานที่ลงชื่อในจำนวนไม่กี่ชิ้นที่เหลืออยู.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฮือโค ฟัน เดอร์คุส · ดูเพิ่มเติม »

ฮีเยโรนีมึส โบส

หมือนตนเอง โดย ฮีเยโรนีมึส โบส right ฮีเยโรนีมึส โบส (Hieronymus Bosch; ราว ค.ศ. 1450 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 1516) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) คนสำคัญของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและบานพับภาพ ภาพเขียนหลายภาพของโบสเป็นภาพความล้มเหลวทางจริยธรรมของมนุษย์ โบสใช้ภาพปีศาจ, มนุษย์ครึ่งสัตว์, และเครื่องกลไกในการสร้างความกลัว, ความสับสน และการแสดงความเลวของมนุษย์ งานจะซับซ้อนและมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง เต็มไปด้วยจินตนาการและการใช้รูปสัญลักษณ์ บางสัญลักษณ์ก็เป็นสัญลักษณ์ที่ตีความหมายได้ยากแม้แต่ในสมัยของโบสเอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฮีเยโรนีมึส โบส · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์

“นักบุญแมรี แม็กดาเลน” โดยฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ ฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ (Georges de La Tour; 13 มีนาคม พ.ศ. 2136 - 30 มกราคม พ.ศ. 2195) จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยการเน้นการใช้ "ค่าต่างแสง" (Chiaroscuro) หรือการใช้ความตัดกันอย่างชัดเจนของแสงและเง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผิวตรา (มุทราศาสตร์)

ผิวตรา (Tincture) ในภาษามุทราศาสตร์ “ผิวตรา” เป็นองค์ประกอบของการให้คำนิยามตราอาร์มหรือธงที่หมายถึงสีที่ใช้หรือลักษณะของผิวของตรา ผิวตราแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มๆ ที่มีสีอ่อนเรียกว่า “โลหะ”, กลุ่มๆ ที่มีสีแก่เรียกว่า “สี”, กลุ่มๆ ที่มีสีต่างจากสีหลักเรียกว่า “สีเพี้ยน” (stains), กลุ่ม “ขนสัตว์” (furs), กลุ่ม “ธรรมชาติ” (proper หรือ natural) สีกลุ่มหลังเป็นสีที่พบตามธรรมชาติ กฎพื้นฐานสองสามข้อของมุทราศาสตร์คือผิวตราในกลุ่มเดียวกันจะไม่ใช้ด้วยกันเช่นสีทองและสีเงินจะไม่ใช้ด้วยกันเพราะทั้งสองสีเป็นสีในกลุ่ม “โลหะ” แต่ผิวตราจากต่างกลุ่มกันใช้ด้วยกันได้ เช่นผิวตราจากกลุ่ม “ขนสัตว์” ใช้กันได้กับผิวตราจากกลุ่ม “ธรรมชาติ” เป็นต้น กฎเหล่านี้บรรยายในบทความกฎของผิวตรา กลุ่ม “สีเพี้ยน” มาเริ่มใช้กันในยุคกลางตอนปลายแต่ก็ไม่เป็นที่ยอมรับกันเท่าใดนักเพราะไม่ตรงกับปรัชญาของการใช้สีของมุทราศาสตร์ที่เน้นการใช้ภาพที่เด่นและสีที่สด ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาก็เกิดความนิยมที่ค่อนข้างแปลกที่จับคู่ระหว่างสีตรากับดาวเคราะห์ อัญมณี ดอกไม้ สัญลักษณ์โหราศาสตร์ หรืออื่นๆ แต่ก็เลิกทำกันไปและถือกันว่าเป็นเรื่องนอกขอบเขตของมุทราศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็เริ่มมีการใช้ “ภูมิทัศน์” และผิวตรากลุ่มสี “ธรรมชาติ” โดยเฉพาะในการประยุกต์ตรา โดยเฉพาะในมุทราศาสตร์เยอรมันมากกว่าในมุทราศาสตร์อังกฤษ แต่ความนิยมนี้ก็เช่นกันถือว่าทำให้คุณค่าของมุทราศาสตร์ลดลง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและผิวตรา (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รู้รอบด้าน

ลโอนาร์โด ดา วินชี ถือกันว่าเป็น “คนเรอเนสซองซ์” และเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” คนสำคัญที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคนหนึ่ง ผู้รู้รอบด้าน (πολυμαθήςThe term was first recorded in written English in the early seventeenth century, polymath) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้ที่ไม่เป็นทางการเท่าใดนัก ผู้รู้รอบด้านอาจจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน คำว่า “คนเรอเนสซองซ์” (Renaissance man) หรือ “คนของโลก” (homo universalis) ซึ่งเป็นคำที่มีความนิยมน้อยกว่าที่มาจากภาษาละตินเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ผู้รู้รอบด้าน” ที่ใช้ในการบรรยายถึงผู้มีการศึกษาดีและมีความเชี่ยวชาญในวิชาการต่างๆ หลายวิชา ลักษณะนี้มักจะปรากฏในโลกของอาหรับ ต่อมาในยุโรปความคิดนี้ก็มานิยมกันในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีจากความคิดที่เขียนโดยผู้แทนผู้มีความสามารถของยุคนั้นชื่อลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ (ค.ศ. 1404 – ค.ศ. 1472) ผู้กล่าวว่า “มนุษย์จะทำอะไรก็ได้ถ้าตั้งใจ” ประโยคนี้เป็นปรัชญาพื้นฐานของลัทธิมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ ที่ถือว่าอำนาจอยู่มือของมนุษย์ ความไม่มีขอบเขตของความสามารถและการวิวัฒนาการ และการนำไปสู่ความคิดที่ว่ามนุษย์ควรจะโอบอุ้มความรู้ทั้งหลายและพัฒนาตนเองให้เต็มความสามารถเท่าที่จะอำนวย ฉะนั้นผู้มีความสามารถในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาจึงแสวงหาการพัฒนาความรู้ความสามารถทุกด้าน การพัฒนาทางทางร่างกาย และการสร้างความสำเร็จในทางสังคมและทางศิลปะ ตัวอย่างของผู้ที่ถือว่าเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” ก็ได้แก่ เลโอนาร์โด ดา วินชี, พีทาโกรัส, อริสโตเติล, อาร์คิมิดีส, จาง เหิง (Zhang Heng), โอมาร์ คัยยาม, โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ และ เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี (رشیدالدین طبیب -Rashid-al-Din Hamadani) ในภาษาไทย มักจะอ้างถึงผู้รู้รอบด้านเป็นพหูสูตด้ว.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและผู้รู้รอบด้าน · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง ฟูแก

็อง ฟูแก (Jean Fouquet) หรือ เฌออ็อง ฟูแก (Jehan Fouquet; ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1481) เป็นจิตรกรคนสำค้ญของฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญทั้งการเขียนภาพบนแผ่นไม้และการเขียนภาพสำหรับ หนังสือวิจิตร (Illuminated manuscript) และเป็นผู้เริ่มการวาดภาพเหมือนแบบจุลจิตรกรรม (Miniature).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฌ็อง ฟูแก · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จอตโต ดี บอนโดเน

อตโต ดี บอนโดเน จอตโต ดี บอนโดเน (Giotto di Bondone) (ค.ศ. 1267 – 8 มกราคม ค.ศ. 1337), เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนาม จอตโต (Giotto), เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี จากเมืองฟลอเรนซ์ ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนสร้างสรรค์ผลงาน ที่ก่อให้เกิดกระแสใหม่ในสังคมที่นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ในที่สุด จอตโต ดี บอนโดเนเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับจิโอวานนี วิลลานิผู้กล่าวว่าจอตโตเป็นช่างผู้มีความสามารถที่สุดในสมัยนั้น เป็นผู้วาดภาพตามกฎของธรรมชาติ และจอตโตได้รับเงินเดีอนจากรัฐบาลเมืองฟลอเรนซ์เนื่องมาจากความสามารถBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจอตโต ดี บอนโดเน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม

ักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม (ภาษาอังกฤษ: The Baptism of Constantine) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยผู้ช่วยของราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ผู้ที่น่าจะเป็นผู้เขียนคือจานฟรานเชสโค เพ็นนิ (Gianfrancesco Penni) ภาพเขียนอยู่ในวังวาติกันในประเทศอิตาลี จานฟรานเชสโค เพ็นนิเขียนภาพนี้ระหว่างปี ค.ศ. 1517 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1520 เพ็นนิกับสมาชิกในเวิร์คช็อพของราฟาเอลก็วาดภาพที่ได้รับค่าจ้างไว้จนเสร็จ ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” (Stanze di Raffaello) ภายในวังวาติกัน ภาพ “จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม” ตั้งอยู่ภายในห้องโถงคอนแสตนติน (Sala di Costantino) ในภาพเป็นภาพจักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1 ก่อนที่จะเสด็จสวรรคต ทรงคุกพระเพลาเพื่อรับศีลจุ่มสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1 แต่จิตรกรใช้เครื่องหมายของพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ผู้ที่เป็นผู้สั่งจ้างให้เขียนภาพบนผนังให้เสร็จแทนที่ พระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ทรงสั่งให้เขียนต่อจากงานที่ค้างไว้ระหว่างที่หยุดไปในสมัยพระสันตะปาปาเฮเดรียนที่ 6 ขณะที่ภาพมีลักษณะทั่วไปเป็นแบบสมัยเรอเนซองส์สูง แต่ภาพหมู่ชนในภาพมีเป็นลักษณะแบบลัทธิแมนเนอริสม์ที่ออกไปทางซับซ้อนและไม่ประสานกัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน (ห้องราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล จักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน (ภาษาอังกฤษ: The Donation of Constantine) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยผู้ช่วยของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ผู้ที่น่าจะเป็นผู้เขียนภาพนี้คือจานฟรานเชสโค เพ็นนิหรือจุยลิโอ โรมาโน ที่อาจจะเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1520 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1520 สมาชิกในเวิร์คช็อพของราฟาเอลก็วาดภาพที่ได้รับสัญญาการวาดไว้ภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกันต่อจนเสร็จ ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “จักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพที่เขียนพระราชกฤษฎีกาปลอม ที่ระบุยกอำนาจการปกครองอาณาจักรให้แก่พระสันตะปาปา ภาพเขียนจากตำนานที่ซึ่งเป็นภาพของจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงคุกเข่าต่อหน้าสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1เพื่อพระราชทานอำนาจในการปกครองอาณาจักรโรมันตะวันตกทั้งหมดแก่พระสันตปาปาและผู้สืบเนื่อง ภาพพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์เป็นภาพของสมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ที่ได้เป็นพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1523.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน (ห้องราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโป ปอนตอร์โม

“จาโคโป ปอนตอร์โม” จากหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” โดย จอร์โจ วาซารี พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี โจเซฟในอียิปต์ (รายละเอียด) นักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อท พระแม่มารีและนักบุญอลิสซาเบ็ธ นักบุญเควนแต็ง ภาพเหมือนของชายหนุ่ม จาโคโป ปอนตอร์โม หรือ ปอนตอร์โม (Jacopo Pontormo หรือ Jacopo da Pontormo หรือ Pontormo) (24 พฤษภาคม ค.ศ. 1494 - 2 มกราคม ค.ศ. 1557) เป็นจิตรกรสมัยแมนเนอริสม์ตระกูลฟลอเรนซ์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการเขียนภาพเหมือน ปอนตอร์โมมีชื่อเสียงในการวางตัวแบบเอี้ยวตัว, การบิดเบือนทัศนียภาพ, การใช้สีที่ไม่ใช่ธรรมชาติซึ่งมาจากความเป็นคนที่อยู่นิ่งไม่ได้และเป็นคนมีอารมณ์ที่ทำนายไม่ได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจาโกโป ปอนตอร์โม · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช

"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำมัน

"โมนาลิซา" โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราว ค.ศ. 1503-1506 จิตรกรรมสีน้ำมัน หรือ ภาพเขียนสีน้ำมัน (oil painting) คือการเขียนภาพโดยใช้สีฝุ่นที่ผสมกับน้ำมันแห้ง (drying oil) — โดยเฉพาะในตอนต้นของยุโรปสมัยใหม่, น้ำมันลินสีด (linseed oil) ตามปกติแล้วก็จะต้มน้ำมันเช่นลินสีดกับยางสนหรือยางสนหอม (frankincense) ส่วนผสมนี้เรียกว่า "น้ำมันเคลือบ" (varnish) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ภาพเขียนมีความหนาและเป็นเงา น้ำมันอื่นที่ใช้ก็มีน้ำมันเม็ดฝิ่น, น้ำมันวอลนัต, และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันแต่ละอย่างก็มีคุณภาพต่าง ๆ กัน เช่นอาจจะทำให้สืเหลืองน้อยลง หรือใช้เวลาแห้งไม่เท่ากัน บางครั้งก็จะเห็นความแตกต่างจากเงาของภาพเขียนแล้วแต่ชนิดของน้ำมัน จิตรกรจะใช้น้ำมันหลายชนิดในภาพเขียนเดียวกันเพื่อให้ได้ลักษณะของภาพเขียนออกมาตามที่ต้องการ การแสดงออกของสีก็จะต่างกันตามแต่วัสดุที่ใช้เขียน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมสีน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมตะวันตก

“สาวใส่ต่างหูมุก” (ค.ศ. 1665 - 1667) โดย โยฮันส์ เวร์เมร์ หรือรู้จักกันในชื่อ “โมนาลิซาเหนือ” จิตรกรรมตะวันตก (Western painting) ประวัติของจิตรกรรมตะวันตกเป็นประวัติที่ต่อเนื่องกันมาจากการเขียนภาพตั้งแต่ก่อนยุคกลางหรือศิลปะของกรีกและโรมัน เริ่มแรกการเขียนภาพเป็นแบบศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art) และลวดลายแบบกรีกและโรมันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงวิวัฒนาการมาเป็นศิลปะนามธรรม (Abstract art) และศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก จิตรกรรมตะวันตกเริ่มด้วยการเขียนภาพสำหรับสถาบันศาสนา ต่อมาผู้อุปถัมภ์ก็ขยายออกมารวมถึงเจ้านายและชนชั้นกลาง ตั้งแต่ยุคกลาง มาจนถึง ยุคเรเนสซองส์ จิตรกรสร้างงานให้กับสถาบันศาสนาและลูกค้าผู้มั่งคั่ง พอมาถึงสมัยสมัยบาโรกจิตรกรก็รับงานจากผู้มีการศึกษาดีขึ้นและจากชนชั้นกลางผู้มีฐานะดี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จิตรกรก็เป็นอิสระจากความต้องการของผู้อุปถัมภ์หรือลูกค้าในการวาดแต่เพียงภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา ตำนานเทพ ภาพเหมือน หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ปรัชญาที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ก็เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นโดยการแสดงออกทางผลงานเช่นงานเขียนของฟรานซิสโก โกยา, จอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) และ เจย์ เอ็ม ดับเบิลยู เทอร์เนอร์ (J.M.W. Turner) สมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของการเขียนภาพเกิดขึ้นในทวีปยุโรประหว่างยุคเรเนสซองส์ซึ่งเป็นสมัยที่มีการวิวัฒนาการต่างๆ รวมทั้งการวาดเส้น การเขียนแบบทัศนียภาพ การสร้างสถาปัตยกรรมใหญ่ๆ การทอพรมแขวนผนัง การสร้างหน้าต่างประดับกระจกสี การสร้างประติมากรรม และเป็นสมัยก่อนหน้าและหลังจากการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ หลังจากการพัฒนาในด้านต่างๆ ในยุคเรเนสซองส์ จิตรกรรมตะวันตกตั้งแต่ยุคบาโรกมาจนถึงศิลปะร่วมสมัยก็ยังคงวิวัฒนาการต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมแผง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก

ตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก (Early Netherlandish painting) เป็นงานจิตรกรรมของจิตรกรในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาตอนเหนือโดยเฉพาะในบริเวณเมืองบรูชและเกนต์ ที่เริ่มในช่วงเวลาเดียวกับที่ยัน ฟัน ไอก์ เริ่มอาชีพเป็นจิตรกร ฟัน ไอก์มีชื่อเสียงจนกระทั่งได้รับชื่อว่าเป็นจิตรกรอะเพลลีสคนใหม่ของยุโรปตอนเหนือ เรื่อยมาจนถึงภาพเขียนโดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 และมาจบลงด้วยเคราร์ด ดาฟิด ราว ค.ศ. 1520 ยุคนี้เป็นช่วงเวลาไล่เลี่ยกับสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีตอนต้นและตอนสูง แต่เป็นขบวนการศิลปะที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมที่ต่างจากลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ที่รุ่งเรืองในเวลาเดียวกันในตอนกลางของอิตาลีJanson, H.W. Janson's History of Art: Western Tradition.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิตวิทยาเชิงบวก · ดูเพิ่มเติม »

จิโอวานนิ อันโตนิโอ อมาเดโอ

อวานนิ อันโตนิโอ อมาเดโอ (ภาษาอังกฤษ: Giovanni Antonio Amadeo) (ราว ค.ศ. 1447 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1522) เป็นประติมากร, สถาปนิกและวิศวกรสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 อมาเดโอเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1447 ที่ ปาเวีย ในประเทศอิตาลี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 สิงหาคมหรือ28 สิงหาคม ค.ศ. 1522 ที่ มิลาน ในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจิโอวานนิ อันโตนิโอ อมาเดโอ · ดูเพิ่มเติม »

จูลีโอ โรมาโน

ูลีโอ โรมาโน (Giulio Romano) (ราว ค.ศ. 1499 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1546) เป็นจิตรกรและสถาปนิกสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จูลีโอ โรมาโนเป็นลูกศิษย์คนสำคัญของราฟาเอล ลักษณะการเขียนแบบเรอเนซองส์สูงของจูลีโอมีส่วนช่วยในการวางพื้นฐานของงานศิลปะยุคต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เรียกว่าแมนเนอริสม์ งานเขียนเส้นของจูลีโอเป็นงานที่เป็นที่นิยมของนักสะสม ซึ่งมาร์คานโตนิโอ ราอิมอนดินำไปแกะพิมพ์เป็นการทำให้เป็นการเผยแพร่งานแบบอิตาลีไปทั่วยุโรป.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจูลีโอ โรมาโน · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป อาร์ชิมโบลโด

ูเซปเป อาร์ชิมโบลโด (Giuseppe Arcimboldo หรือ Giuseppe Arcimboldi) (ค.ศ. 1527 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1593) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้เขียนภาพเหมือนแบบมีจินตนาการเช่นเขียนเป็นภาพที่ใช้ผลไม้, ผัก, ดอกไม้, ปลา และหนังสือ ที่จัดประกอบเข้าด้วยกันจนเป็นหน้าตาที่ทราบว่าเป็นภาพเหมือนของผู้ใ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจูเซปเป อาร์ชิมโบลโด · ดูเพิ่มเติม »

จีโรลาโม ซาโวนาโรลา

รลาโม ซาโวนาโรลา (Girolamo Savonarola) (21 กันยายน ค.ศ. 1452 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1498) จิโรลาโม ซาโวนาโรลาเป็นนักบวชลัทธิโดมินิกันชาวอิตาลีและผู้นำของฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและจีโรลาโม ซาโวนาโรลา · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมชาติวิทยา

ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ธรรมชาติวิทยา หรือ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หมายถึงคำรวมที่ใช้เรียกสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปัจจุบันมองว่าเป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเฉพาะชัดเจน นิยามเกือบทั้งหมดรวมถึงการศึกษาสิ่งมีชีวิต (เช่น ชีววิทยา รวมทั้งพฤกษศาสตร์และสัตววิทยา) นิยามอื่นได้ขยายเนื้อหารวมไปถึง บรรพชีวินวิทยา นิเวศวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีวเคมี รวมทั้งธรณีวิทยาและฟิสิกส์ หรือแม้แต่อุตุนิยมวิทยา บุคคลผู้สนใจในธรรมชาติวิทยาเรียกว่า "นักธรรมชาติวิทยา".

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและธรรมชาติวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธนูยาวอังกฤษ

นูยาวอังกฤษ ยาว 2 เมตร แรงต้าน (draw force) 470 นิวตัน ธนูยาวอังกฤษ หรือเรียก ธนูยาวเวลส์ เป็นธนูยาวสมัยกลางประเภททรงพลัง ยาวประมาณ 1.83 เมตร ซึ่งชาวอังกฤษและชาวเวลส์ใช้ในการล่าสัตว์และเป็นอาวุธในสงครามสมัยกลาง การใช้ธนูยาวของอังกฤษมีประสิทธิภาพต่อฝรั่งเศสระหว่างสงครามร้อยปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นของสงคราม ในยุทธการเครซี (ค.ศ. 1346) และปัวตีเย (ค.ศ. 1356) และที่มีชื่อเสียงที่สุดที่ยุทธการอาแฌงคูร์ต (ค.ศ. 1415) แต่เริ่มประสบความสำเร็จน้อยลงหลังจากนั้น พลธนูยาวได้รับความสูญเสียที่ยุทธการแวร์เนย (ค.ศ. 1424) และถูกตีแตกพ่ายที่ยุทธการพาเทย์ (ค.ศ. 1429) เมื่อถูกเข้าตีก่อนที่พวกเขาจะจัดตั้งตำแหน่งตั้งรับ คำว่า ธนูยาว "อังกฤษ" หรือ "เวลส์" เป็นคำสร้างใหม่เพื่อแยกแยะธนูเหล่านี้จากธนูยาวอื่น แม้ธนูยาวแบบเดียวกันนี้จะถูกใช้อย่างแพร่หลายในยุโรปเหนือและยุโรปตะวันตก แต่ที่จริงแล้ว ก้านธนูยิวส่วนมากถูกนำเข้าจากสเปนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา ธนูยาวที่เก่าแก่ที่สุดที่รู้จักมาจากอังกฤษ ซึ่งถูกพบที่แอสคอทท์ฮีท (Ashcott Heath) มณฑลซอมเมอร์เซ็ท ซึ่งมีอายุถึง 2665 ปีก่อนคริสตกาล แต่ไม่มีธนูยาวเหลือรอดในช่วงที่ธนูยาวใช้กันอย่างแพร่หลาย (ระหว่าง ค.ศ. 1250-1450) ซึ่งอาจเป็นเพราะ เป็นธรรมชาติของธนูที่จะอ่อนแอลง หัก และถูกเปลี่ยน มากกว่าที่จะส่งต่อกันรุ่นสู่รุ่น อย่างไรก็ตาม มีธนูยาวมากกว่า 130 คันเหลือรอดจากยุคเรเนซ็องส์ มีลูกศรกว่า 3,500 ดอก และธนูยาวทั้งคัน 137 คัน ถูกกู้ขึ้นจากเรือแมรีโรส เรือของกองทัพเรือในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ซึ่งจมในพอร์ตสมัธ ใน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและธนูยาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ทาสใกล้ตาย

ทาสใกล้ตาย (Dying Slave) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดยไมเคิล แอนเจโลประติมากรคนสำคัญชาวอิตาลีของสมัยเรอเนสซองซ์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ประติมากรรม “ทาสใกล้ตาย” สลักโดยไมเคิล แอนเจโล ราวระหว่างปี ค.ศ. 1513 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นประติมากรรมคู่กับประติมากรรม “ทาสหัวรั้น” (Rebellious Slave) ที่สร้างขึ้นประดับอนุสรณ์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 งานชิ้นนี้สลักจากหินอ่อน มีความสูง 2.28 เมตร ข้อมือซ้ายมัดได้กับด้านหลังของคอ และรอบอกมีแถบคาด นอกจากนั้นก็มีลิงที่แกะไว้บางส่วนเกาะอยู่ที่หน้าแข้งซ้าย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเกี่ยวพันกับโลก งานชิ้นนี้ได้รับอิทธิพลมาจาก งานประติมากรรมของประติมากรจากเกาะโรดส์ชื่อ “เลอาโคอันและบุตร” ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและทาสใกล้ตาย · ดูเพิ่มเติม »

ทาเวิร์น

ียนภายในทาเวิร์นโดยจิตรกรดัตช์เดิร์ค ฮาลส์ในปี ค.ศ. 1628 ที่เป็นภาพพจน์ของบรรยากาศภายในทาเวิร์นในยุโรป ทาเวิร์น (Tavern) ความหมายอย่างกว้างของทาเวิร์นคือสถานที่ประกอบธุรกิจที่บริการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอาหาร แต่ไม่มีบริการสำหรับเป็นที่พำนัก เช่นโรงเตี๊ยมที่ลูกค้าใช้เป็นที่พบปะสังสรรค์ คำว่า “tavern” มาจากภาษาละติน “taverna” และจากภาษากรีก “ταβέρνα” (taverna) ที่มึความหมายเดิมว่า “เพิง” (shed) “โรงทำงาน” (workshop) ความแตกต่างระหว่างทาเวิร์นกับโรงเตี๊ยม หรือ บาร์ หรือ ผับ (pub) ก็แล้วแต่ละท้องถิ่น บางท้องถิ่นก็อาจจะเป็นสถานที่เดียวกัน บางแห่งก็แยกจากกันตามใบอนุญาตที่ระบุข้อกำหนดของแต่ละสถานที่ประกอบธุรกิจทางกฎหมาย ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอังกฤษ ทาเวิร์นแยกจากโรงเอล (public ale house) ก็เพียงตรงที่ทาเวิร์นเป็นธุรกิจส่วนบุคคล และลูกค้าเป็น “แขก” แทนที่จะเป็นสาธารณชนทั่วไป ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วก็มิได้แตกต่างกันแต่อย่างใ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและทาเวิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล)

ทิพยทัศน์ของกางเขน (The Vision of the Cross) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเวิร์คช็อพของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1520 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1520 ผู้ที่เขียนอาจจะเป็นจานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟฟาเอลลิโน เดล โคลเล (Raffaellino del Colle) “ทิพยทัศน์ของกางเขน” เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในกรุงวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ทิพยทัศน์ของกางเขน” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพจักรพรรดิคอนแสตนตินก่อนที่ทรงเข้าต่อสู้ในยุทธการสะพานมิลเวียน (Battle of the Milvian Bridge) เมื่อวันที่28 ตุลาคม ค.ศ. 312 ตามตำนานจักรพรรดิคอนแสตนตินทรงเห็นกางเขนส่องสว่างอยู่บนฟ้า ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้มีพระราชดำรัส “สัญลักษณ์นี้นำมาซึ่งชัยชนะ” (In hoc signo vinces) ในจิตรกรรมชิ้นนี้จารึกเป็นภาษากรีกโบราณ “สัญลักษณ์นี้คือชัยชนะ” (Εν τούτῳ νίκα) ลักษณะภาพเป็นแบบแมนเนอริสม์ที่เต็มไปด้วยความสับสนยุ่งเหยิงที่ประกอบด้วยมังกร, คนแคระ, พระสันตะปาปาสององค์ และสัญลักษณ์อื่นๆ สัดส่วนของทหารก็ไม่ถูกต้องที่บางครั้งดูเตี้ยกว่าผู้ที่อยู่ใกลออกไป.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์

ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ (Tilman Riemenschneider) (ราว ค.ศ. 1460 - (7 กรกฎาคม ค.ศ. 1531) ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์เป็นประติมากรและช่างสลักไม้คนสำคัญชาวเยอรมัน ที่ทำงานอยู่ที่เวือร์ซบูร์ก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1483 รีเมนชไนเดอร์เป็นประติมากรผู้มีความสามารถระหว่างสมัยคาบเกี่ยวระหว่างสมัยกอธิคและสมัยฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

ข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน)

้ามทะเลแดง (ภาษาอังกฤษ: Crossing of the Red Sea (Bronzino)) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยบรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่อยู่ภายในวังเว็คคิโอในฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี บรอนซิโนเขียนภาพ “ข้ามทะเลแดง” เสร็จราวระหว่างปี ค.ศ. 1541 ถึงปี ค.ศ. 1542 ภาพเขียนอยู่บนผนังด้านซ้ายของชาเปลส่วนตัวของเอเลโอโนราแห่งโทเลโด (Eleonora of Toledo) บนชั้นสองของวัง ที่บรอนซิโนเขียนตกแต่งระหว่างปี ค.ศ. 1540 ถึงปี ค.ศ. 1545 ภาพเป็นฉากจากพระคัมภีร์ซึ่งตัวแบบมีขนาดใหญ่โต เมื่อมองดูใกล้ๆ จะมีความรู้สึกของความมโหฬารของร่างเสริมด้วยสีที่จัดสดใส ร่างตัวแบบเห็นได้ชัดว่าได้รับอิทธิพลจากไมเคิล แอนเจโลหรือจาโคโป ปอนตอร์โม และจากประติมากรรมสมัยโบราณโดยเฉพาะรูปชายที่ยืนอยู่ทางซ้ายเป็นภาพที่เขียนจากประติมากรรมสำริด “อิโดลิโน” (Idolino) ที่ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งฟลอเรนซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน) · ดูเพิ่มเติม »

ดอกจิกสี่แฉก

อกจิกสี่แฉกเหนือประตูทางตะวันตกของแอบบีครอยแลนด์เป็นภาพนูนจากฉากชีวิตของนักบุญกูธแล็ค (Saint Guthlac) ''สังเวยไอแซ็ค'' by ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี ดอกจิกสี่แฉก (Quatrefoil) ทางภาษาศาสตร์แปลว่า “สี่ใบ” ที่ใช้ในบริบทต่างๆ ของสิ่งที่มีสี่แฉกหรือสี่กลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดอกจิกสี่แฉก · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวิด (มีเกลันเจโล)

thumb ดาวิด เป็นประติมากรรมชิ้นเอกสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่มีเกลันเจโลสลักขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดาวิด (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 19

อะเมซิ่ง เรซ 19 (The Amazing Race 19) เป็นฤดูกาลที่ 19 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดิอะเมซิ่งเรซ 19 · ดูเพิ่มเติม »

ดีร์ก เบาตส์

ีร์ก เบาตส์ (Dirk Bouts; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพับภาพ จากหนังสือ Het Schilderboeck (ค.ศ. 1604) โดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) เบาตส์เกิดที่เมืองฮาร์เลมและทำงานส่วนใหญ่ที่เมืองเลอเฟิน มันเดอร์เขียนชีวประวัติของจิตรกรสองคน "ดีร์กแห่งฮาร์เลม" และ "ดีร์กแห่งเลอเฟิน" ซึ่งเป็นคนคนเดียวกัน ชีวิตเบื้องต้นไม่มีหลักฐานเท่าใดนัก แต่ดีร์ก เบาตส์ได้รับอิทธิพลจากยัน ฟัน ไอก์ และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน ซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ดีร์กศึกษาด้วย หลักฐานครั้งแรกเกี่ยวกับดีร์กพบครั้งแรกที่เลอเฟินเมื่อปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดีร์ก เบาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีฌง

ีฌง (Dijon) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโกต-ดอร์ในแคว้นบูร์กอญในประเทศฝรั่งเศส เมืองดีฌงเป็นอดีตเมืองของจังหวัดเบอร์กันดี ดีฌงเป็นที่ตั้งของมหาวิหารดีฌง ซึ่งเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ที่มีการผสมผสานของสถาปัตยกรรรมยุโรปอย่างหลากหลายในรอบหนึ่งพันปี ตั้งแต่สถาปัตยกรรมแบบกาเปเซียง สถาปัตยกรรมกอธิก และมาถึงยุคเรอเนสซองส์ และตัวอาคารบ้านเรือนในเขตเมืองปัจจุบันยังมีอายุราวช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 หรือก่อนหน้านั้น สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นแบบดิฌง ได้แก่ หลังคาเบอร์กันดี ที่ผลิตแผ่นหลังคาจากดินเผาเคลือบ หรือ แทร์ราคอตตา (terracotta) อันมีสีสันฉูดฉาด เช่น เขียว เหลือง ดำ ที่จัดเรียงบนหลังคาอย่างสวยงามตามแบบเรขาคณิต ประวัติศาสตร์ของดีฌงเริ่มจากการตั้งรกรากของชาวโรมันยุคโบราณ โดยชื่อเมืองว่า ดีวีโอ (Divio) ตั้งอยู่ระหว่างเส้นทางไปเมืองลียง และปารีส นอกจากนั้นยังเป็นที่ตั้งสำคัญของอาณาเขตปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีในระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึงช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยในช่วงนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด และเป็นอาณาจักรที่มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม การเรียนรู้ และวิทยาศาสตร์ ในปัจจุบันดิฌงมีจำนวนประชากร 151,576 คน (สำรวจเมื่อค.ศ. 2008) และ 250,516 คน รวมประชากรในเขตปริมณฑลด้วย (สำรวจเมื่อค.ศ. 2007) ดีฌง ยังเป็นแหล่งจัดงานอาหารนานาชาติประจำปี International and Gastronomic Fair ช่วงฤดูใบไม้ร่วงของแต่ละปี โดยถือเป็นหนึ่งในสิบงานที่สำคัญที่สุดในประเทศฝรั่งเศส โดยมีผู้จัดงานกว่า 500 ราย และผู้เข้าชมกว่า 200,000 รายในแต่ละปี นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่จัดเทศกาลดอกไม้นานาชาติ Florissimo ทุกๆ 3 ปี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดีฌง · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ด้านหน้าอาคาร

อนุสรณ์ด้านหน้าอาคารของมหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน โดยการ์โล มาแดร์โน ด้านหน้าอาคารสถานีดับเพลิงกลางของสำนักงานควบคุมเพลิงฮูสตันราวปี พ.ศ. 2457 โดยทั่วไปแล้ว ด้านหน้าอาคาร หรือ ฟะซาด (facade; façade) คือส่วนด้านนอกอาคารด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งมักจะอยู่ทางด้านหน้า คำว่า ฟะซาด มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า "ส่วนหน้า" หรือ "ใบหน้า" ในทางสถาปัตยกรรม ด้านหน้าอาคารคือมุมมองที่สำคัญที่สุดในการออกแบบเนื่องจากเป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบลักษณะส่วนที่เหลือของอาคาร และในทางวิศวกรรมศาสตร์แล้ว ด้านหน้าของอาคารก็ยังมีความสำคัญอย่างมากต่อการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งนี้ระเบียบและกฎหมายท้องถิ่นเกี่ยวกับผังเมืองในอดีตจำกัดหรือแม้กระทั่งไม่อนุญาตให้มีการออกแบบด้านหน้าอาคารแตกต่างไปจากที่กำหนดไว้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและด้านหน้าอาคาร · ดูเพิ่มเติม »

คฤหาสน์เบรกเกอส์

หาสน์เบรกเกอส์ (The Breakers) คือ คฤหาสน์ของตระกูลวันเดอร์บิลต์ ตั้งอยู่บนถนนโอเคอร์พอยต์ (Ochre Point Avenue) เมืองนิวพอร์ต รัฐโรดไอแลนด์ สหรัฐอเมริกา ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก บ้านหลังนี้เป็นสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติ สาธารณสมบัติในเขตประวัติศาสตร์ถนนเบลลีวู (Bellevue Avenue Historic District) ซึ่งได้รับการดูแลและบริหารโดยสมาคมอนุรักษ์แห่งเทศมณฑลนิวพอร์ต (Preservation Society of Newport County) ปัจจุบันเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ โดยมีผู้เยี่ยมชม 3 แสนคนต่อปี นิตยสารฟอบส์ยกให้เป็นบ้านที่สวยที่สุดหลังหนึ่งในสหรัฐอเมริกา คฤหาสน์เบรกเกอส์สร้างขึ้นเป็นบ้านพักร้อนของคอร์นีเลียส วันเดอร์บิลต์ที่สอง (Cornelius Vanderbilt II) ซึ่งเป็นหนึ่งในสมาชิกของครอบครัววันเดอร์บิลต์ที่ร่ำรวยของอเมริกา บ้านหลังนี้ได้รับการก่อสร้างในศิลปะเรอแนซ็องส์ ระหว่าง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคฤหาสน์เบรกเกอส์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คำพิพากษาของซาโลมอน (จอร์โจเน)

ำพิพากษาของซาโลมอน (The Judgement of Salomon) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี จอร์โจเนเขียนภาพ “คำพิพากษาของซาโลมอน” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1501 เป็นภาพที่มีเนื้อหาและขนาดใกล้เคียงกับภาพ “การพิสูจน์โดยไฟของโมเสส” ที่ก็เป็นงานสะสมของหอศิลป์อุฟฟิซิเช่นกัน ภาพ “คำพิพากษาของซาโลมอน” แสดงซาโลมอนกษัตริย์ของชาวยิวบนบัลลังก์พร้อมด้วยข้าราชสำนัก โดยมีสตรีสองคนอ้างสิทธิว่าเป็นแม่ที่แท้จริงชองเด็กที่นอนอยู่บนดิน และทูลขอให้พระองค์ตัดสิน คำพิพากษาของซาโลมอนทำให้ทราบว่าสตรีคนใดที่ไม่ใช่แม่ที่แท้จริง ภาพแบ่งครึ่งด้วยต้นโอ้คสูงใหญ่สองต้นที่แบ่งภูมิทัศน์ในฉากหลังเป็นสองส่วน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคำพิพากษาของซาโลมอน (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

คำสัตย์ปฏิญาณของพระสันตะปาปาลีโอที่สาม

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล คำสัตย์ปฏิญาณของพระสันตะปาปาลีโอที่สาม (ภาษาอังกฤษ: The Oath of Leo III) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเวิร์คช็อพของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่อาจจะเขียนระหว่างปี ค.ศ. 1516 - ค.ศ. 1517 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “การสวมมงกุฏของชาร์เลอมาญ” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเพลิงไหม้ในเมือง” (Stanza dell'incendio del Borgo) ในภาพสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ระหว่างการการพิจารณาคดีในศาลในวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 800 ที่ทรงเผชิญหน้ากับพระนัดดาของพระสันตะปาปาองค์ก่อนหน้านั้นเฮเดรียนที่ 1 ผู้กล่าวหาว่าพระองค์ประพฤติผิด กลุ่มบาทหลวงในที่ประชุมประกาศว่าไม่อาจจะตัดสินพระสันตะปาปาได้ พระสันตะปาปาลีโอจึงทรงตั้งคำสัตย์ปฏิญาณชำระมลทินด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคำสัตย์ปฏิญาณของพระสันตะปาปาลีโอที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

คิวปิดและไซคี

ประติมากรรมรูปคิวปิดและไซคี ''ไซคีและอมอร์'' หรืออีกชื่อ ไซคีขณะรับจูบแรกจากคิวปิด (''Psyche Receiving Cupid's First Kiss; ค.ศ.'' 1798) โดย François Gérard ผีเสื้อเหนือศีรษะของไซคีเป็นสัญลักษณ์ของความความบริสุทธิ์ก่อนการปลุกเร้าทางเพศDorothy Johnson, ''David to Delacroix: The Rise of Romantic Mythology'' (University of North Carolina Press, 2011), pp. 81–87. คิวปิดและไซคี (Cupid and Psyche) เป็นเรื่องจากนวนิยายละติน Metamorphoses หรืออีกชื่อหนึ่งว่า The Golden Ass เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 2 โดย แอพยูเลียส เนื้อหาว่าด้วยการเอาชนะอุปสรรคต่อความรักระหว่างไซคี (Ψυχή, "วิญญาณ" หรือ "ลมหายใจแห่งชีวิต") และคิวปิด (Cupido, "ความปรารถนา") หรืออมอร์ ("ความรัก", ตรงกับอีรอสของกรีก) และอยู่กินร่วมกันหลังสมรสในที่สุด แม้เรื่องเล่าโดยละเอียดของแอพยูเลียสจะเป็นชิ้นเดียวที่เหลือรอดจากยุคโบราณก็ตาม แต่อีรอสและไซคีปรากฏในศิลปะกรีกตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล องค์ประกอบทางลัทธิเพลได้ใหม่ของเนื้อเรื่องและการอ้างอิงถึงศาสนามิสเตอรีส์นำไปสู่การตีความอันหลากหลาย และถูกวิเคราะห์ว่าเป็นอุปมานิทัศน์ในรูปของนิทานพื้นบ้าน เทพนิยาย และตำนาน ตั้งแต่นวนิยายของแอพยูเลียสถูกค้นพบอีกครั้งในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เรื่องราวของคิวปิดและไซคี ถูกเล่าใหม่ในรูปแบบของกวีนิพนธ์ นาฏกรรม และอุปรากร และยังถูกแสดงในภาพวาด ประติมากรรม และแม้แต่กระดาษปิดฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคิวปิดและไซคี · ดูเพิ่มเติม »

คุณธรรมสามอย่าง (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล คุณธรรมสามอย่าง (ภาษาอังกฤษ: Cardinal and Theological Virtues) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่เขียนในปี ค.ศ. 1511 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1511 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพนี้ตั้งอยู่ภายใน “ห้องเซนยาทูรา” (Stanza della Segnatura) เป็นอุปมานิทัศน์ของคุณธรรมสามอย่างในภาพของสตรีสามคนและคิวปิดที่มีฉากหลังเป็นชนบท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคุณธรรมสามอย่าง (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

คตินิยมเส้นกั้นสี

ระเยซูเหลือง" ค.ศ. 1889, สีน้ำมันบนผ้าใบ คตินิยมเส้นกั้นสี (cloisonnism) เป็นลักษณะการเขียนภาพของลัทธิประทับใจยุคหลังที่เด่น (bold) และราบ (flat) แยกจากสิ่งแวดล้อมด้วยขอบสีเข้ม ๆ เป็นคำที่นักวิจารณ์เอดัวร์ ดูว์ฌาร์แด็ง (Édouard Dujardin) เริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและคตินิยมเส้นกั้นสี · ดูเพิ่มเติม »

ฆวน เด เอร์เรรา

ฆวน เด เอร์เรรา ฆวน เด เอร์เรรา (Juan de Herrera; พ.ศ. 2073 - พ.ศ. 2136) เป็นสถาปนิกและนักคณิตศาสตร์ชาวสเปน เอร์เรราเป็นสถาปนิกที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดในราชอาณาจักรสเปนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นผู้นำแนวทางการออกแบบของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาไปสู่จุดสูงสุดในสเปน ชื่อของเขาได้รับการนำไปเป็นชื่อเล่นของโบสถ์ซานโลเรนโซว่า "เอร์เรเรียโน" (Herreriano) รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เขาสร้างขึ้นได้รับการยอมรับว่าเป็นตัวแทนของยุคพระเจ้าเฟลิเปที่ 2 และบรรพบุรุษชาวออสเตรียของพระองค์ เอร์เรรามีความสนใจที่หลากหลายตามลักษณะของปราชญ์ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา หนึ่งในวิชาความรู้ที่เขามีความเชี่ยวชาญมากที่สุดคือ หลักการของรูปทรงและคณิตศาสตร์ (Geometry and Mathematics) เขาได้เข้าร่วมให้การสนับสนุนกองทัพของจักรพรรดิชาลส์ที่ 5 ในการทำสงครามกับเยอรมนี อาณาจักรฟลันเดอส์ และอิตาลี ฆวน เด เอร์เรรา จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยบายาโดลิดใน ค.ศ. 1548 เขาเริ่มทำงานในฐานะสถาปนิกใน ค.ศ. 1561 โดยทำงานในโครงการพระราชวังแห่งเมืองอารังฆูเอซ (Royal Palace of Aranjuez) ในการสร้างโบสถ์บายาโดลิด ในปี ค.ศ. 1563 เขาได้ทำงานร่วมกับฆวน เบาติสตา เด โตเลโด ค.ศ. 1562 นอกจากนี้เอร์เรราได้เขียนตำราเกี่ยวกับดาราศาสตร์ขึ้นเช่นกัน (Libro del saber de astronomía) หลังจากการเสียชีวิตของฆวน เบาติสตา ใน ค.ศ. 1567 เอร์เรราก็ได้เข้าทำการสานงานต่อในโครงการทั้งหมด หลายโครงการได้มีการปรับเปลี่ยนไปสู่รูปแบบที่เอร์เรรา นิยมชมชอบ และได้มีการทดลองสร้างรูปแบบใหม่ ๆ ที่เป็นแบบเรียบง่าย (sober style) แตกต่างจากสถาปัตยกรรมที่อยู่ในยุคนั้น ๆ โดยมีหลักการอยู่ที่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของเส้นนอนที่หนักแน่นและการใช้วัสดุแท้ (nude use of materials) ไม่มีการตกแต่งบนตัววัสดุ เขาได้ทำการออกแบบรูปด้านทางตะวันตกใหม่ทั้งหมด และได้คิคระบบหลังคาขึ้นใหม่ ซึ่งยังคงเป็นรูปแบบที่สถาปนิกชาวสเปนยังคงใช้มาทุกวันนี้ แผนผังของอาสนวิหารบายาโดลิดและหอจดหมายเหตุอินดีสได้รับการออกแบบโดยเอร์เรรา เขาเป็นสถาปนิกที่ออกแบบร่างของจัตุรัส1593.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฆวน เด เอร์เรรา · ดูเพิ่มเติม »

งานฝังประดับแบบคอสมาติ

งานฝังประดับแบบคอสมาติ หรือ ลายคอสมาติ หรือ งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม (Cosmatesque หรือ opus alexandrinum) เป็นลักษณะงานโมเสกบนพื้นที่เป็นลวดลายเรขาคณิตที่นิยมทำกันในยุคกลางในอิตาลี โดยเฉพาะในกรุงโรมและปริมณฑล ชื่อของลักษณะลวดลายมาจากชื่อ “คอสมาติ” ซึ่งเป็นตระกูลช่างหัตถกรรมหินอ่อนชั้นนำของกรุงโรมผู้สร้างงานในลักษณะดังกล่าว ลักษณะลวดลายเผยแพร่ไปทั่วยุโรปในการใช้ตกแต่งคริสต์ศาสนสถานระดับสูง เช่นในการตกแต่งแท่นบูชาเอกในแอบบีเวสต์มินสเตอร์ เป็นต้นที่ตกแต่งพื้นหินอ่อนเป็นลายคอสมาต.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและงานฝังประดับแบบคอสมาติ · ดูเพิ่มเติม »

งานสะสมชุดโจวีโอ

ระเบียงแรกของหอศิลป์อุฟฟิซิ ภาพเหมือนในชุด “งานสะสมชุดโจวีโอ” เป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ติดกับเพดานที่เป็นลวดลาย งานสะสมชุดโจวีโอ หรือ ภาพเหมือนชุดโจวีโอ (Giovio Series, Giovio Collection หรือ Giovio Portraits) เป็นภาพเหมือน 484 ภาพที่รวบรวมโดยนักประวัติศาสตร์ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักประวัติศาสตร์ปาโอโล โจวีโอ (ค.ศ. 1483-ค.ศ. 1552) เป็นภาพชุดที่ประกอบด้วยบุคคลสำคัญๆ ทางวรรณคดี, นักการปกครอง, รัฐบุรุษ และคนสำคัญอื่นๆ ที่เขียนจากตัวจริง โจวีโอตั้งใจจะสะสมเพื่อเป็นในเป็นหลักฐานของสารธารณะชนของบุคคลสำคัญ เดิมภาพเขียนชุดนี้เก็บรักษาไว้ในคฤหาสน์ที่สร้างเฉพาะในการเก็บสะสมภาพเขียนบนฝั่งทะเลสาบโคโม แม้ว่าภาพเดิมจะไม่มีเหลืออยู่แล้วแต่ชุดที่ก็อปปีสำหรับโคสิโมที่ 1 เดอ เมดิชิปัจจุบันตั้งแสดงอย่างถาวรอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเรนซ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและงานสะสมชุดโจวีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลบอร์เจีย

ตระกูลบอร์เจีย หรือ บอร์จา (House of Borgia) เป็นตระกูลหนึ่งในยุโรป มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่แคว้นบาเลนเซีย ประเทศสเปน และย้ายไปตั้งรกรากในอิตาลีจนกระทั่งเรืองอำนาจในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ตระกูลบอร์เจียเป็นผู้อุปภัมป์ศิลปะหลากหลายแขนง ทำให้ศิลปินหลายคนในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการได้สร้างผลงานโดดเด่นและมีชื่อเสียง ตระกูลบอร์เจียเริ่มมีบทบาททางด้านการเมืองและศาสนาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 การแสวงหาอำนาจทำให้ต้องเป็นศัตรูกับตระกูลอื่นๆ เช่น เมดิชิ สฟอร์ซา รวมทั้งนักบวชที่มีอิทธิพลมากในยุคนั้นอย่างจิโรลาโม ซาโวนาโรลา ชื่อเสียงของตระกูลบอร์เจียมักเป็นไปในทางไม่ดี เช่น การคบชู้ การลักขโมย การติดสินบน การสมสู่ร่วมสายโลหิต และการฆาตกรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและตระกูลบอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ตินโตเรตโต

“ทินโทเร็ตโต” (ค.ศ. 1588) โดย ทินโทเร็ตโต ทินโทเรตโต หรือ จาโคโป ทินโทเรตโต (Tintoretto หรือ Jacopo Comin หรือ Jacopo Tintoretto; 29 กันยายน ค.ศ. 1518 — 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1594) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนสซองซ์แบบเวนิสคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และอาจจะถือว่าเป็นจิตรกรคนสุดท้ายของเรอเนสซองซ์อิตาลี ทินโทเรตโตเติบโตในเวนิส ภาพวาดมากมายของเขาถูกแสดงลักษณะอย่างหนักแน่นโดยชีวิตและประเพณีต่างๆ ของราชินีแห่งทะเลอาเดรียติก จิตรกรได้ชื่อเล่นของเขาจากความสูงน้อยของเขาและจากการค้าของพ่อเขา เขาเป็นบุตรชายของคนย้อมผ้า และชื่อของเขาหมายถึง “คนย้อมผ้าน้อย” แต่ชื่อเล่นถ่อมตัวนี้เป็นนามแฝงซึ่งทำให้เขากลายเป็นมีชื่อเสียง เขามีแรงกระตุ้นที่สร้างสรรค์และวาดภาพใหญ่ๆ ทินโทเรตโตเป็นที่รู้จักกันในชื่อจาโคโป โรบัสติ (Jacopo Robusti) เมื่อยังหนุ่ม เพราะพ่อของทินโทเรตโตป้องกันประตูเมืองปาดัวจากทหารหลวงอย่างค่อนข้างจะไม่เหมือนใคร นามสกุลจริงของทินโทเรตโตคือ “Comin” ซึ่งเพิ่งพบโดยมิเกล ฟาโลเมียผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ปราโดที่มาดริดเมื่อเร็วๆ นี้ “Comin” มาจากคำว่า “cumin” ซึ่งเป็นชื่อของเครื่องเทศ ทินโทเรตโตได้ชื่อว่า “Il Furioso” จากความที่วาดภาพอย่างรวดเร็วและเต็มไปด้วยพลัง การใช้ช่องว่างและแสงสีทำให้ถือกันว่าทินโทเรตโตเป็นผู้นำทางศิลปะแบบบาโรก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและตินโตเรตโต · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ การสวมมงกุฏของพระแม่มารี ฉากแท่นบูชาโอดดิ (ภาษาอังกฤษ: Oddi altar) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกันที่วังวาติกันในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “ฉากแท่นบูชาโอดดิ” ระหว่างปี ค.ศ. 1502 ถึงปี ค.ศ. 1504 สำหรับเป็นแท่นบูชาของตระกูลโอดดิในวัดซานฟรานเชสโค อัล ปราโตในเปรูเจี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์

มุมที่สาม ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ (Isenheim Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส “ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์” ที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ระหว่างปี ค.ศ. 1512 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นงานชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและชิ้นเอกของกรึนวอลด์ที่เขียนสำหรับสำนักสงฆ์เซนต์แอนโทนีในอิเซนไฮม์ไม่ไกลจากโคลมาร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มีชื่อในการบำบัดโรคภัย นักบวชนิกายอันโตนินของสำนักสงฆ์มีชื่อเสียงในการรักษาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนังเช่น ergotism ที่อาการปรากฏในภาพเขียน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี

ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (Portinari-triptiek; Trittico Portinari; Portinari Altarpiece) เป็นบานพับภาพที่เขียนโดยฮือโค ฟัน เดอร์คุส จิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวดัตช์ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ฟัน เดอร์คุสเขียนภาพ "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี" ราวปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพการชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ เป็นงานที่ได้รับจ้างสำหรับวัดโรงพยาบาลซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์โดยนายธนาคารชาวอิตาลี ตอมมาโซ ปอร์ตีนารี ที่พำนักอยู่ที่เมืองบรูชเป็นเวลากว่าสี่สิบปีในฐานะผู้แทนของธนาคารเมดีชีของตระกูลเมดีชี ปอร์ตีนารีเองปรากฏในแผงซ้ายของฉากแท่นบูชากับลูกชายสองคน คือ อันโตนีโอและปีเจลโล ส่วนมารีอา ดี ฟรันเชสโก บารอนเชลลี (ภรรยา) กับมาร์การีตา (ลูกสาว) อยู่บนแผงขวา ทุกคนในภาพมีนักบุญผู้พิทักษ์ของแต่ละคน (ยกเว้นปีเจลโล) กล่าวคือ บนแผงซ้ายเป็นนักบุญทอมัสอัครสาวกถือหอกและนักบุญแอนโทนีอธิการถือกระดิ่ง บนแผงซ้ายนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาถือผอบน้ำมันหอม และนักบุญมาร์กาเรตแห่งแอนติออกถือหนังสือและมีมังกรที่เท้า แผงกลางประกอบด้วยคนเลี้ยงแกะสามคนคุกเข่าทำความเคารพพระบุตร ฟัน เดอร์คุสเขียนฉากบ้าน ๆ อย่างเป็นจริงเป็นจังและได้บรรยากาศ นอกจากนั้นในภาพก็มีเทวดาที่ลอยอยู่เหนือและที่คุกเข่ารอบพระแม่มารีและพระบุตรผู้ที่มิได้นอนในกองฟางแต่นอนอยู่กลางลานโดยมีรัศมีรอบ การเขียนที่มีลักษณะแปลกเช่นนี้อาจจะเขียนตามทิพยทัศน์ของนักบุญบริจิตแห่งสวีเดนก่อนที่จะเสียชีวิตที่บรรยายถึงการเห็นแสงสว่างส่องออกมาจากร่างของพระบุตร แจกันดอกไม้ ในฉากหลัง ฟัน เดอร์คุสเขียนฉากที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลัก กล่าวคือ บนแผงซ้ายฉากหลังเป็นภาพนักบุญโจเซฟพาพระแม่มารีผู้ทรงครรภ์เดินทางหนีไปอียิปต์; แผงกลางทางด้านขวาเป็นภาพเทวดาที่ประกาศข่าวการกำเนิดของพระเยซูแก่คนเลี้ยงแกะ และแผงขวาเป็นภาพการเดินทางของแมไจสามคนมายังเบทเลเฮม ด้านหน้าของภาพเป็นภาพนิ่งขนาดเล็กของแจกันดอกไม้สองแจกันและข้าวสาลีกำมือหนึ่ง (ซึ่งหมายถึงเบทเลเฮม "เมืองแห่งขนมปัง") ที่อาจจะเป็นนัยถึงศีลมหาสนิทหรือทุกขกิริยาของพระเยซู กำข้าวสาลีอาจจะหมายถึงพระกระยาหารมื้อสุดท้าย ที่พระเยซูแบ่งขนมปังกับอัครสาวก ดอกลิลลีสีส้มในแจกันเป็นสัญลักษณ์ของทุกขกิริยาของพระเยซูที่จะมาถึง ดอกไอริสสีขาวเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ ขณะที่ดอกไอริสสีม่วงและก้านดอกแอควิลีเจีย (Aquilegia caerulea) เป็นสัญลักษณ์ของความเศร้าเจ็ดอย่างของพระแม่มารี (Seven sorrows of the Virgin) ฉะนั้นภาพการกำเนิดนี้จึงเป็นภาพที่เป็นเหตุการณ์ที่จะนำมาซึ่งความตายของพระเยซูในที่สุด เมื่องานชิ้นนี้ไปถึงฟลอเรนซ์ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาเบรรา

ฉากแท่นบูชาเบรรา หรือ พระแม่มารีเบรรา หรือ พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ (ภาษาอังกฤษ: Holy Conversation; ภาษาอิตาลี: Pala di Brera หรือ Brera Madonna หรือ Brera Altarpiece หรือ Montefeltro Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราที่เมืองมิลานในประเทศอิตาลี “แท่นบูชาเบรรา” เป็นภาพที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1472 ถึงปี ค.ศ. 1474 ที่เขียนให้เฟเดอริโกที่ 2 แห่งมอนเตเฟลโตร (Federico II da Montefeltro) ดยุกแห่งเออร์บิโนเพื่อฉลองวันเกิดของลูกชาย กุยโดบาลโดแห่งมอนเตเฟลโตร บางหลักฐานกล่าวว่าเป็นการฉลองการได้รับชัยชนะต่อปราสาทในบริเวณมาเร็มม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและฉากแท่นบูชาเบรรา · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดร บอตตีเชลลี

ซานโดร บอตติเซลลี อเลสซานโดร ดี มาริอาโน ดี วานนี ฟิลิเปปิ หรือ ซานโดร บอตติเชลลี หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า บอตติเชลลี (Alessandro di Mariano di Vanni Filipepi หรือ Sandro Botticelli เรียกย่อว่า Il Botticello; 1 มีนาคม ค.ศ. 1444 (พ.ศ. 1987/88) - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1510(พ.ศ. 2053) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีแห่งตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้น เพียงไม่ถึงร้อยปึต่อมาวิธีการเขียนตระกูลนี้ (ภายใต้การอุปถัมภ์ของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ) ก็ถูกจัดโดยจอร์โจ วาซารีให้เป็น “ยุคทอง” ในบทนำของหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ของชีวประวัติของบอตติเชลลี ชื่อเสียงของบอตติเชลลีได้รับความเสียหายหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาบอตติเชลลีก็ได้รับความนับถือว่าเป็นจิตรกรฝีมือดีของสมัยเรอเนสซองซ์ตอนต้นของอิตาลีหรือสมัยที่เรียกกันในภาษาอิตาลีว่า “ควัตโตรเชนโต” ผลงานที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของงานเขียนแบบฟลอเรนซ์ก็ได้แก่ “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและซันโดร บอตตีเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ซากรากอนแวร์ซาซีโอเน

ซากรากอนแวร์ซาซีโอเน (Sacra conversazione; Holy Conversation/Sacred Conversation) การสนทนาอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นชื่อศิลปะศาสนาคริสต์แบบหนึ่ง ที่เป็นที่นิยมกันในประเทศอิตาลีซึ่งองค์ประกอบของภาพจะมีแม่พระและพระกุมาร ท่ามกลางเหล่าเซนต์ ลักษณะองค์ประกอบที่ว่านี้เริ่มวาดกันในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่มาแทนบานพับภาพที่องค์ประกอบมีส่วนสัมพันธ์แบบทัศนียภาพกับช่องว่างภายในภาพ ตัวอย่างงานชิ้นแรก ๆ ที่ใช้การเขียนลักษณะนี้ก็ได้แก่งานของปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา หรืองานของฟราอันเจลีโก หรือฟีลิปโป ลิปปี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและซากรากอนแวร์ซาซีโอเน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก

น์ตี ดัชชี และแกรนด์ดัชชีลักเซมเบิร์ก (County, Duchy and Grand Duchy of Luxembourg) ภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ของ ลักเซมเบิร์ก เป็นมณฑลของโรมันเบลจิคาพรีมา หลังจากการรุกรานของกลุ่มชนเจอร์มานิคจากทางตะวันออกลักเซมเบิร์กก็กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงก์และต่อมาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงค์กลาง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติของไม้กางเขนแท้

ูบทความหลักที่ สัตยกางเขน ประวัติของสัตยกางเขน หรือ ตำนานของสัตยกางเขน หรือ (Legend of the True Cross หรือ History of the True Cross) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี “ตำนานของสัตยกางเขน” เป็นงานที่สันนิษฐานกันว่าเขียนก่อนปี ค.ศ. 1447 และเสร็จราวปี ค.ศ. 1466 สำหรับวัดซานฟรานเชสโก, อเรซโซในประเทศอิตาลี เป็นงานเขียนชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและถือกันว่าดีที่สุดของเปียโร และเป็นงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของงานเขียนในสมัยเรอเนซองส์ตอนต้น เนื้อหาของภาพมาจากตำนานที่เป็นที่นิยมกันมากที่ปรากฏในหนังสือ “ตำนานทอง” เกี่ยวกับประวัติของนักบุญที่เขียนโดยจาโคบัส เด โวราจิเน (Jacobus da Varagine) ในคริสต์ศตวรรที่ 13th เป็นเรื่องประวัติความเป็นมาของสัตยกางเขน (True Cross)-ที่เชื่อกันว่าเป็นไม้จากสวนอีเด็นที่นำมาใช้ทำกางเขนที่ใช้ในการตรึงกางเขนของพระเยซู งานชิ้นนี้แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญในการเขียนแบบทัศนียภาพและการใช้สี และในใช้เรขาคณิตในการวางภาพ และการสร้างภาพซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของงานของเปียโตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประวัติของไม้กางเขนแท้ · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรมคลาสสิก

ลโอคารีส งานก็อปปีจากประติมากรรมสัมริดของกรีกที่สร้างราวปี 330-320 ก่อนคริสต์ศักราช, พิพิธภัณฑ์วาติกัน ประติมากรรมคลาสสิก (Classical sculpture) หมายถึงลักษณะของประติมากรรมตั้งแต่ของกรีกโบราณและของโรมันโบราณและของประชากรในภูมิภาคต่างๆ ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีซและโรมันภายใต้การปกครองของสองมหาอำนาจนี้ตั้งแต่ราว 500 ก่อนคริสต์ศักราชจนถึงการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประติมากรรมคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรมเฉพาะหัว

ัณฑ์กลิพโทเท็ค, มิวนิค ประติมากรรมเฉพาะหัว (Herma หรือ herm หรือ herme) คือประติมากรรมเฉพาะส่วนหัว แต่บางครั้งก็อาจจะมีลำตัว ที่จะตั้งอยู่บนแท่งหินสี่เหลี่ยมเกลี้ยงๆ ที่บางครั้งตรงระดับที่เหมาะสมตอนล่างก็อาจจะแกะสลักเป็นอวัยวะเพศชายก็ได้ ลักษณะประติมากรรมชนิดนี้เริ่มทำกันในกรีกโบราณและนำมาประยุกต์ใช้โดยโรมัน และมารื้อฟื้นกันอีกครั้งในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในรูปของรูปลักษณ์บนเสาเทิร์ม และ ประติมากรรมแอ็ทลาส ในสมัยกรีกโบราณประติมากรรมเฉพาะหัวใช้เป็นสิ่งป้องกันความชั่วร้ายที่มักจะตั้งตรงทางแพร่ง, พรมแดนของประเทศ หรือ เขตแดนป้องกัน ก่อนหน้าที่จะกลายมาเป็นสิ่งที่พิทักษ์พ่อค้าและนักเดินทางเฮอร์มีสเป็นเทพเจ้าที่เป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่เกี่ยวข้องกับการเจริญพันธุ์, การมีโชค, เส้นทาง และ เขตแดน ชื่อของเทพเฮอร์มีสมาจากคำว่า “herma” (พหูพจน์ “hermai”) ที่หมายถึงเสาสี่เหลี่ยมที่ทำด้วยหิน, ดินเหนียว หรือ สัมริด ที่มีประติมากรรมครึ่งตัวของหัวของเฮอร์มีสที่มักจะมีหนวด อยู่บนหัวเสาและอวัยวะเพศชายที่ฐาน เสาเฮอร์มาใช้เป็นเครื่องหมายบนถนน หรือ เขตแดน ในเอเธนส์ก็จะมีการตั้งประติมากรรมเฉพาะหัวไว้หน้าบ้านเพื่อขจัดภัยที่จะเข้ามาในบ้านและนำความโชคดีมาให้เจ้าของ อวัยวะเพศชายบนเสาก็จะได้รับการถู การรดด้วยน้ำมันมะกอกเพื่อให้โชคดี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประติมากรรมเฉพาะหัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์

ปราสาทม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ (Château de Menthon-Saint-Bernard) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่เมืองม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ในจังหวัดโอต-ซาวัวในแคว้นโรนาลป์ในประเทศฝรั่งเศส ปราสาทม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ตั้งเด่นอยู่บนเนินที่สูง 200 เมตร หอที่ทำด้วยหินตั้งเด่นเหนือทะเลสาบอานซี, อุทยานอนุรักษ์ร็อกเดอแชร์และม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ ปราสาทได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปราสาทม็องตง-แซ็ง-แบร์นาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทโบราณแห่งเกาะอีเยอ

ปราสาทโบราณแห่งเกาะอีเยอ (Vieux-château de l'Île d'Yeu) เป็นซากปราสาทที่ตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกในจังหวัดว็องเด แคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส โอลีวีเยที่ 4 แห่งกลีซง นักสร้างปราสาทคนสำคัญเป็นผู้สร้างปราสาทแห่งเกาะอีเยอเพื่อใช้ในการป้องกันชาวเกาะจากการถูกรุกรานโดยชาวต่างประเทศ ครั้งที่เกาะถูกยึดครองนานที่สุดก็เมื่อโรเบิร์ต โนลส์ โจรสลัดมีชื่อของอังกฤษเข้ามาบุกยึดปราสาทในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปราสาทโบราณแห่งเกาะอีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทไฮเดิลแบร์ค

ปราสาทไฮเดิลแบร์ค มุมมองจากทิศเหนือ ปราสาทไฮเดิลแบร์ค (Heidelberger Schloss) เป็นปราสาทเก่าในเมืองไฮเดิลแบร์ค ประเทศเยอรมนี เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างจากยุคเรอแนซ็องส์ที่สำคัญที่สุดในตอนเหนือของเทือกเขาแอลป์ ไม่ปรากฎหลักฐานว่าปราสาทแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อใด แต่ปราสาทหลังนี้ได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปราสาทไฮเดิลแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ปลายสมัยโบราณ

ราณตอนปลาย (Late Antiquity) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ในการบรรยายช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากยุคโบราณคลาสสิกไปเป็นยุคกลางทั้งบนแผ่นดินใหญ่ยุโรปและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ของเขตของสมัยยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ แต่นักประวัติศาสตร์คนสำคัญปีเตอร์ บราวน์เสนอว่าเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึง ที่ 8 โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเทียบได้กับช่วงเวลาตั้งแต่การสิ้นสุดของวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ค.ศ. 235-ค.ศ. 284) ของจักรวรรดิโรมัน ไปจนถึงการจัดระบบบริหารของจักรวรรดิโรมันตะวันออกภายใต้การนำของจักรพรรดิเฮราคลิอัส และการพิชิตดินแดนโดยมุสลิมในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันประสบกับความเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ทั้งทางด้านสังคม, วัฒนธรรม และ ระบบการปกครองที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนผู้ทรงเป็นผู้เริ่มการแบ่งจักรวรรดิออกเป็นสองส่วนคือจักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตกที่ปกครองโดยพระจักรพรรดิหลายพระองค์ เริ่มด้วยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เมื่อจักรวรรดิถูกเปลี่ยนเป็นจักรวรรดิคริสเตียน และการก่อตั้งคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง การโยกย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนเจอร์มานิคต่อมาก็บั่นทอนเสถียรภาพของจักรวรรดิยิ่งขึ้นไปอีก ที่ในที่สุดก็นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี ค.ศ. 476 และมาแทนที่ด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ของชนเจอร์มานิค หรือ “ระบอบพระมหากษัตริย์ของอนารยชน” ผลก็คือการผสานระหว่างวัฒนธรรมกรีก-โรมัน เจอร์มานิค และ คริสเตียนที่กลายมาเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมของยุโรปตะวันตก การสูญเสียประชากร, ความรู้ทางเทคโนโลยี และ มาตรฐานความเป็นอยู่ของยุโรปตะวันตกในยุคนี้เป็นลักษณะของสถานภาพที่เรียกว่า “การล่มสลายของสังคม” (Societal collapse) โดยนักเขียนตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยามาจนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ จากความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นและการขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของยุโรปตะวันตกในช่วงนี้โดยเฉพาะ ในช่วงระหว่างการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกมาจนถึงยุคกลาง ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ยุคมืด” ที่มาแทนที่ด้วยคำว่า “ยุคโบราณตอนปลาย”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปลายสมัยโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ปากนรกภูมิ

ปากนรกภูมิ (Hellmouth หรือ Mouth of Hell) คือทางเข้าสู่ขุมนรกที่เป็นภาพปากที่อ้ากว้างของยักษาตัวใหญ่ ซึ่งเป็นภาพพจน์ที่เริ่มเขียนกันขึ้นเป็นครั้งแรกในศิลปะแองโกล-แซ็กซอน และต่อมาก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรป และเป็นภาพที่นิยมวาดเป็นองค์ประกอบของภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” และ “ลงสู่ขุมนรก” (Harrowing of Hell) จนกระทั่งมาถึงปลายยุคกลาง และบางครั้งก็เลยมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและหลังจากนั้น การเขียน “ปากนรกภูมิ” มาฟื้นฟูกันอีกครั้งในภาพพิมพ์สมัยนิยม (Popular print) หลังการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เมื่อรูปลักษณ์ของผู้ที่เป็นศัตรูจะเป็นผู้ที่กำลังจะถูกกลืนหายเข้าไปในปาก งานชิ้นสำคัญในสมัยหลังเป็นงานเขียนสองชิ้นของเอลเกรโกที่เขียนราวปี ค.ศ. 1578 หรือการ์ตูนล้อการเมืองที่เป็นภาพของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 นำหน้ากองทัพไปสู่ความหายนะในปากนรก การละครของยุคกลางมักจะใช้ปากนรกภูมิเป็นฉาก หรือ เครื่องชัก เพื่อที่จะสร้างความหวั่นกลัวให้แก่ผู้ชม ในการสร้างภาพพจน์อันสยดสยองของทางเข้าสู่ขุมนรก ลักษณะที่สร้างก็มักจะเป็นทางเข้าปราสาทโบราณที่มีเชิงเทิน โดยเพราะเมื่อต้องการที่จะเปรียบเทียบกับสวรรค์ งานชิ้นโบราณที่สุดของปากนรกภูมิที่เป็นปากสัตว์เท่าที่ทราบโดยนักประวัติศาสตร์ศิลป์ชาวอเมริกันเมเยอร์ ชาพิโรเป็นงานสลักงาช้างที่สลักขึ้นราว ค.ศ. 800 (พิพิธภัณฑ์วิคตอเรียและอัลเบิร์ต, ลอนดอน) ชาพิโรกล่าวว่างานส่วนใหญ่ที่สร้างก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 12 เป็นงานที่ทำในอังกฤษ ชาพิโรสันนิษฐานว่ารูปลักษณ์ดังกล่าวอาจจะมาจากตำนานปรัมปรา “แครคเดอะดูม” ของเพกัน ที่เป็นปากของหมาป่ายักษ์เฟนเรียร์ ผู้ถูกสังหารโดยวิดาร์ ผู้ใช้สัญลักษณ์ของไครสต์บนกางเขนกอสฟอร์ธ และจากงานศิลปะแองโกล-สแกนดิเนเวียชิ้นอื่นๆ ในการผสานกลืนเข้ากับไวกิงที่ถือคริสต์ศาสนาของประชาชนทางตอนเหนือของอังกฤษ สถาบันศาสนาก็ดูเหมือนพร้อมที่จะยอมรับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในประเพณีนิยมของท้องถิ่นเข้ามาผสานกับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในคริสต์ศาสนาโดยมิได้ทำการขัดขวาง เช่นในการใช้หินสลักสำหรับที่หมายหลุมศพแบบไวกิงเป็นต้น ที่กล่าวถึงในวรรณกรรม “เบวูล์ฟ” ในหนังสือแองโกล-แซ็กซอน “Vercelli Homilies” (4:46-8) กล่าวถึงความเกี่ยวข้องระหว่างซาตานกับมังกรที่กลืนผู้ที่ชั่วร้าย: “...

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปากนรกภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส (บอตติเชลลี)

ปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส หรือ ปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส (Last Miracle and the Death of St.) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนในเยอรมนี ภาพ “ปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส” ที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1505 เป็นภาพในภาพชุดสี่ภาพของชีวิตและงานของนักบุญเซโนเบียส (ค.ศ. 337-ค.ศ. 417) ผู้เป็นพระสังฆราชองค์แรกของฟลอเรนซ์ ภาพนี้แบ่งเป็นสี่ตอนเริ่มจากทางซ้ายสุดของภาพเมื่อเด็กถูกเกวียนชนขณะที่กำลังเล่น ตอนที่สองแม่ของเด็กผู้เป็นแม่หม้ายร้องครวญครางนำร่างอันปราศจากชีวิตของลูกมาหาดีคอนของนักบุญเซโนเบียส เด็กฟื้นขึ้นมาได้จากการที่นักบุญเซโนเบียสสวดมนต์ภาวนาทางด้านขวาสุดของภาพเป็นภาพของนักบุญเซโนเบียสเมื่ออายุมากแล้วนอนให้พรแก่ผู้มาสวดมนต์อยู่รองเตียงที่นอนตาย “ประวัติของนักบุญเซโนเบียส” เป็นงานชิ้นสุดท้ายที่ทราบของบอตติเชลลี ภาพอีกสามภาพในชุดนี้ก็ได้แก่.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปาฏิหาริย์สุดท้ายและความตายของนักบุญเซโนเบียส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล อุชเชลโล

"ภาพเหมือนสตรี" (ค.ศ. 1450) โดย ปาโอโล อุชเชลโลที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ปาโอโล อุชเชลโล (Paolo Uccello; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Paolo di Dono; ค.ศ. 1397 - 10 ธันวาคม ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และเป็นจิตรกรในบรรดาจิตรกรคนแรก ๆ ที่ใช้ทฤษฎีการเขียนแบบทัศนียภาพ จอร์โจ วาซารี กล่าวใน "ชีวิตศิลปิน" ถึงปาโอโล อุชเชลโลว่าเป็นจิตรกรผู้มีความสนใจอย่างมุ่งมั่นในการเขียนแบบทัศนียภาพและจะนั่งศึกษาเพื่อจะเข้าใจการใช้จุดลับตาหรือจุดอันตรธาน (Vanishing point) อุชเชลโลใช้ทัศนียภาพเพื่อทำให้ภาพมีความลึกในการบรรจุเนื้อหาแทนที่จะต้องเขียนต้องเขียนภาพเป็นชุดหรือต่อเนื่องเป็นฉากๆ อย่างเช่นจิตรกรร่วมสมัย "ยุทธการซานโรมาโน" เป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงที่สุดของปาโอโล อุชเชลโล ซึ่งเดิมสันนิษฐานว่าเป็นภาพ "ศึกซานอีจิดิโอ..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปาโอโล อุชเชลโล · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล เวโรเนเซ

ปาโอโล เวโรเนเซ (Paolo Veronese) หรือ ปาโอโล กาลยารี (Paolo Cagliari; ค.ศ. 1528 - 19 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีที่ทำงานอยู่ในเวนิสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานชิ้นสำคัญของเวโรเนเซก็ได้แก่ "งานแต่งงานที่เคนา" และ "งานเลี้ยงที่บ้านของลีวาย" (The Feast in the House of Levi) เวโรเนเซใช้ชื่อ "ปาโอโล กาลยารี" และมารู้จักกันว่า "ปาโอโล เวโรเนเซ" ตามชื่อเมืองเกิดที่เวโรนาในประเทศอิตาลี เวโรเนเซ, ทิเชียน และตินโตเรตโต เป็นจิตรกรคนสำคัญสามคนของเวนิสในปลายสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เวโรเนเซมีชื่อเสียงในการใช้สีและการเขียนตกแต่งแบบลวงตาทั้งในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานเขียนสำคัญของเวโรเนเซเป็นงานเขียนที่เต็มไปด้วยนาฏกรรมและการใช้สีแบบจริตนิยม (mannerist) เต็มไปด้วยฉากสถาปัตยกรรมและขบวนที่หรูหรา งานเขียนชิ้นใหญ่ของงานเลี้ยงฉลองในคัมภีร์ไบเบิลที่เขียนสำหรับหอฉัน (refectory) ของสำนักสงฆ์ในเวนิสและเวโรนาเป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่ควรจะกล่าวถึง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปาโอโล เวโรเนเซ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ (มีเกลันเจโล)

''ปีเอตะ'' ผลงานของมีเกลันเจโล ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร นครรัฐวาติกัน ปีเอตะ (1498–1499) เป็น งานประติมากรรมสลักสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ทำขึ้นโดย มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี และตั้งอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตร ที่นครรัฐวาติกัน โดยเป็นงานชิ้นแรกที่ถูกทำขึ้นโดยศิลปินในหัวเรื่องนี้ รูปสลักถูกสั่งทำให้กับพระคาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสที่ชื่อว่า Jean de Bilhères ซึ่งเคยเป็นตัวแทนในกรุงโรม งานประติมากรรมถูกทำขึ้นจากหินอ่อนคาราร่า (Carrara marble) เพื่อเป็นอนุสรณ์สำหรับงานศพของพระคาร์ดินัล ทว่าถูกย้ายไปยังที่อยู่ปัจจุบันซึ่งอยู่ที่โบสถ์น้อยแห่งแรกทางด้านขวาของทางเข้ามหาวิหาร ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเป็นผลงานชิ้นเดียวที่มีเกลันเจโลได้ลงชื่อไว้ ผลงานอันโด่งดังชิ้นนี้ แสดงร่างกายของพระเยซู บนตักของมารีย์ ผู้เป็นมารดา หลังจากการตรึงที่กางเขน หัวเรื่องนี้กำเนิดที่ทางเหนือ และเป็นที่นิยมในประเทศฝรั่งเศสในขณะนั้น ทว่ายังไม่เป็นที่รู้จักในประเทศอิตาลี การตีความ ปีเอตะ ของมีเกลันเจโล นับเป็นเรื่องใหม่ในงานประติมากรรมของอิตาลี โดยถูกนับว่าเป็นงานชิ้นสำคัญที่คงความสมดุลระหว่างอุดมคติของความงามในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและธรรมชาตินิยม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอตะ (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ ปีเอตะ ปีเอตะ (ภาษาอังกฤษ: Pietà) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันภาพสุดท้ายที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอแสดงภาพอัคคาเดเมียที่เวนิสในประเทศอิตาลี “ปีเอตะ” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอตะ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอนซา

ปีเอนซา (Pienza) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดซีเอนาในแคว้นตอสคานาในประเทศอิตาลี ปีเอนซาตั้งอยู่ในวัลดอร์ชา (Val d'Orcia) ทางตอนกลางของอิตาลีระหว่างเมืองมอนเตปุลชาโนกับมอนตัลชีโน เป็นเมืองสัญลักษณ์ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาหรือ "touchstone of Renaissance urbanism" ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอนซา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร ดี โกซีโม

ปียโร ดิ โคสิโม (ภาษาอังกฤษ: Piero di Cosimo) (2 มกราคม ค.ศ. 1462 - 12 เมษายน ค.ศ. 1522) เป็นจิตรกรรมสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน เปียโร ดิ โคสิโมเกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1462 ที่ ฟลอเรนซ์ ในประเทศอิตาลี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1522 เปียโรเป็นลูกของช่างทองและฝึกงานภายใต้โคสิโม โรสเสลิ (Cosimo Rosseli) ผู้ที่เปียโรได้รับนาม และเป็นผู้ช่วยในการวาดภาพที่ชาเปล ในปี ค.ศ. 1481 เปียโรเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอโร ดี โกซีโม · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา

ระเยซูคืนชีพ” (Resurrection) รายละเอียดจากภาพประวัติของสัตยกางเขน พระเยซูคืนชีพ เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา (ภาษาอังกฤษ: Piero della Francesca) (ราว ค.ศ. 1412 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง นอกจากจะเป็นจิตรกรแล้ว เปียโร เดลลา ฟรานเชสกาก็ยังเป็นนักคณิตศาสตร์และนักเรขาคณิต ลักษณะของภาพเขียนจะสงบและการใช้รูปเรขาคณิตโดยเฉพาะการเขียนแบบทัศนียภาพและการเขียนภาพลึกบนผนังแบนเรียบ (foreshortening) งานส่วนใหญ่ของเดลลา ฟรานเชสกาอยู่ที่เมืองอเรซโซในแคว้นทัสเคนี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร โลเรนเซตตี

ปีเอโตร โลเรนเซตตี (Pietro Lorenzetti หรือ Pietro Laurati) (ราว ค.ศ. 1280 - ค.ศ. 1348) เป็นจิตรกรสมัยกอธิคชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนนาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมแผง ปีเอโตร โลเรนเซตตีเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1280 ที่ เซียนนา ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตด้วยกาฬโรคเช่นเดียวกับอัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติน้องชายที่เป็นจิตรกรเช่นกันเมื่อปี ค.ศ. 1348 ที่เซียนนา ปีเอโตรเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ปีเอโตรมีผลงานราวระหว่าง ปี ค.ศ. 1306 ถึงปี ค.ศ. 1345.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอโตร โลเรนเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร เปรูจีโน

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1497–1500) เปียโตร เปรูจิโน (Pietro Perugino; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Pietro Vannucci, ค.ศ. 1446 - ค.ศ. 1524) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและปีเอโตร เปรูจีโน · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมดาว

ป้อมบูร์แตงจ์ (Bourtange), โกรนนิงเก็น, เนเธอร์แลนด์ บูรณะให้เหมือนในปี ค.ศ. 1750 ป้อมดาว (Star fort หรือ trace italienne) คือระบบป้อมปราการที่วิวัฒนาการขึ้นระหว่างสมัยที่การใช้ดินปืนในการต่อสู้โดยการใช้ปืนใหญ่ที่เริ่มแพร่หลายมากขึ้น ที่เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 ในอิตาลี รูปทรงป้อมที่สร้างกันในยุคกลางไม่สามารถทนทานต่อการถูกโจมตีด้วยปืนใหญ่ได้ แรงระเบิดของปืนใหญ่สามารถทำลายกำแพงดิ่งได้อย่างง่ายดาย ขณะที่ป้อมดาวใช้กำแพงราบและเป็นโครงสร้างที่ใช้ระบบมุขป้อม (bastion) สามเหลี่ยม ที่ยื่นซ้อนกันออกมาซ้อนกันเป็นชั้นๆ ที่เป็นการช่วยป้องกันซึ่งกันและกัน และคูรอบป้อม ต่อมาป้อมดาวก็วิวัฒนาการมาใช้โครงสร้างเช่นระบบป้องกันแบบสามเหลี่ยม (ravelin), การสร้างเสริมส่วนบนของกำแพง (crownwork) และเพิ่มป้อมที่เป็นอิสระจากตัวป้อมหลัก เพื่อเพิ่มความซับซ้อนให้แก่โครงสร้างเพิ่มขึ้น ป้อมดาววิวัฒนาการต่อมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นการตอบโต้การรุกรานของฝรั่งเศสในคาบสมุทรอิตาลี ฝ่ายฝรั่งเศสมีอาวุธปืนใหญ่แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพพอที่จะทำลายป้อมปราการที่สร้างตามแบบโบราณในยุคกลางได้อย่างง่ายดาย เพื่อเป็นการโต้ตอบความรุนแรงของการทำลายของอาวุธใหม่กำแพงป้องกันก็ถูกสร้างให้เตี้ยลงแต่หนาขึ้น ตัวกำแพงสร้างด้วยวัสดุการก่อสร้างหลายอย่างแต่มักจะเป็นดินและอิฐ เพราะอิฐจะไม่แตกกระจายเมื่อถูกโจมตีโดยปืนใหญ่เช่นหิน องค์ประกอบที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ในการก่อสร้างป้อมดาวคือการใช้มุขป้อมที่กลายมาเป็นลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของป้อมปราการแบบใหม่ การวิวัฒนาการมาเป็นรูปดาวที่บางครั้งก็จะซ้อนกันหลายชั้นทำให้สามารถต้านทานจากการถูกโจมตีโดยปืนใหญ่ได้ ไมเคิล แอนเจโลใช้ลักษณะป้อมดาวในการออกแบบแนวป้องกันที่ทำด้วยดิน (defensive earthworks) ของฟลอเรนซ์ ที่มาได้รับการปรับปรุงในคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยบัลดัสซาเร เปรูซซิ (Baldassare Peruzzi) และ วินเช็นโซ สคามอซซิ (Vincenzo Scamozzi) ป้อมดาวเผยแพร่จากอิตาลีในคริสต์ทศวรรษ 1530 และ 1540 และใช้กันมากในทวีปยุโรปเป็นเวลาราวสามร้อยปีหลังจากนั้น สถาปนิก/วิศวกรอิตาเลียนเป็นที่ต้องการตัวไปทั่วยุโรปในการสร้างป้อมแบบใหม่นี้ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 เม็นโน ฟาน โคฮูร์น (Menno van Coehoorn) และเซบาสเตียง เลอ เพรส์เทรอ เดอ โวบองผู้เป็นสถาปนิกทางสถาปัตยกรรมทางทหารในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ยิ่งยกลักษณะการออกแบบป้อมดาวขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการทุกสิ่งทุกอย่าง จนทำให้กลายเป็นระบบการป้องกันอันซับซ้อนเท่าที่สามารถทำกันได้ ระบบป้อมรูปดาววิวัฒนาการมาจากการวางผังเมืองของเมืองในอุดมคติของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา: “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาถูกสะกดด้วยผังเมืองแบบหนึ่งเป็นเวลาร้อยห้าสิบปี—ตั้งแต่ฟิลาเรเตจนถึงสคามอซซิ—ที่ต่างก็มีความประทับใจในแผนอันเป็นอุดมคติ: รูปร่างของเมืองที่ว่านี้คือรูปดาว” ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 การวิวัฒนาการลูกระเบิดแบบใหม่ที่มีพลังสูงขึ้นแบบที่เรียกว่าexplosive shell ทำให้สถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการต้องเปลี่ยนแปลงไปอีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและป้อมดาว · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญลอว์เรนซ์รับของมีค่าจากพระสันตะปาปา

นักบุญลอว์เรนซ์รับของมีค่าจากพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: St. Lawrence Receiving the Treasures of the Church) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยฟราอันเจลิโคผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี “นักบุญลอว์เรนซ์รับของมีค่าจากพระสันตะปาปา” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1447 ถึงปี ค.ศ. 1450 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ชาเปลนิคโคลิเนที่พิพิธภัณฑ์วาติกันในกรุงโรมในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญลอว์เรนซ์รับของมีค่าจากพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)

นักบุญจอร์จและมังกร (ภาษาอังกฤษ: Saint George and the Dragon) เป็นจิตรกรรมตู้ (cabinet painting) ซึ่งเป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในประเทศสหรัฐอเมริกา ราฟาเอลเขียนภาพ “นักบุญจอร์จและมังกร” ระหว่างปี ค.ศ. 1504 ถึงปี ค.ศ. 1506 ภาพนี้และภาพ “นักบุญจอร์จ” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส และ “นักบุญไมเคิล” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส มีความคล้ายคลึงกันสองประการ ประการแรกคือหัวเรื่องซึ่งทั้งสามภาพเป็นเรื่องของอัศวินหนุ่มที่ต่อสู่กับมังกร ประการที่สองคือลักษณะการเขียน ทั้งสามภาพจัดอยู่ในภาพเขียนสมัยฟลอเรนซ์ของราฟาเอลที่ได้รับอิทธิพลบางอย่างจากช่างเขียนแบบเออร์บิโนที่ทำงานอยู่ในหรือมีภาพเขียนในฟลอเรนซ์ในขณะนั้น แต่อิทธิพลส่วนใหญ่ของสามภาพนี้มาจากภาพเขียน “ยุทธการอันเกียริ” โดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ที่พาลัซโซเวคคิโอ (Palazzo Vecchio) ซึ่งเป็นตัวอย่างของฉากการต่อสู้ในยุทธการ (สภาพของภาพเขียนเสื่อมลงอย่างรวดเร็วและในปัจจุบันไม่มีเหลือไห้เห็นแล้ว เพราะดา วินชีทดลองใช้วิธีการเขียนใหม่แต่ไม่ได้ผล) อิทธิพลอื่นก็เป็นภาพเขียนเฟล็มมิช --โดยเฉพาะภาพเขียนโดย เฮียโรนิมัส บอส ราฟาเอลใช้แสงสว่างจัดและลักษณะอัปลักษณ์ของสัตว์ในภาพที่เป็นลักษณะเด่นของงานเขียนของบอส -- ซึ่งทำให้เห็นว่างานจากทางเหนือของยุโรปยังมีอิทธิพลต่องานเขียนบริเวณเออร์บิโน ภาพเขียนนี้แสดงถึงอิทธิพลต่างๆ ที่ราฟาเอลได้ศึกษาและรับมา ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงปัญหาทางการเขียนภาพซึ่งราฟาเอลยังประสพอยู่และมาแก้ไขและวิวัฒนาการในภาพต่างๆ ที่เขียนขึ้นต่อมา ภาพเขียนนี้เดิมเป็นงานเขียนชิ้นเอกของงานสะสมของปิแอร์ โครซาท์ ซึ่งขายผ่านเดนนิส ดิเดโรท์ (Denis Diderot) ให้แก่ พระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1772 ภาพเขียนตั้งแสดงอยู่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กราวร้อยห้าสิบปี และเป็นภาพที่นิยมที่สุดภาพหนึ่งในบรรดางานสะสมของพระเจ้าซาร์ แต่ในเดือนมีนาคมปี ค.ศ. 1931 บอลเชวิค (Bolsheviks) ขายภาพเขียนให้แก่แอนดรูว์ เมลลอน (Andrew Mellon) ผู้มอบให้แก่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา)

นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันโตเนลโล ดา เมสสินาจิตรกรคนสำคัญสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในอังกฤษ อันโตเนลโล ดา เมสสินาเขียนภาพ “นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา” ระหว่างปี ค.ศ. 1474 ถึงปี ค.ศ. 1475 ระหว่างที่ไปพำนักอยู่ในเวนิสที่อาจจะเป็นภาพของอันโตนิโอ พาสคาลิโน left ภาพนี้เป็นภาพเขียนที่มีขนาดเล็กเป็นภาพของนักบุญเจอโรมกำลังทำงานอยู่ในห้องที่ไม่มีผนังและเพดานก็ดูจะมีลักษณะของประตูชัยซึ่งอาจจะเป็นลักษณะของคริสต์ศาสนสถานแบบอารากอน ภาพนี้ก็เช่นเดียวกับภาพอื่นของเมสสินาที่เต็มไปด้วยรายละเอียดที่คล้ายกับศิลปะเฟล็มมิชที่รวมทั้งหนังสือ สัตว์ สิ่งของที่เขียนอย่างละเอียดและตรงตามความจริงที่เห็นได้ด้วยการมองด้วยตา (optical truth) แสงในภาพนี้ตัดกันพอดีตรงส่วนบนและมือของนักบุญ สิ่งที่น่าสังเกตอีกอย่างหนึ่งคือภูมิทัศน์เมดิเตอเรเนียนนอกหน้าต่างสองด้านของห้อง สัตว์ในภาพก็มี ไก่ฟ้าและนกยูงตรงด้านหน้าของภาพ และแมวและสิงห์โตในเงาด้านขวาของ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมในป่า

ูบทความหลักที่ นักบุญเจอโรม นักบุญเจอโรมในป่า (St.) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่เขียนราวปี ค.ศ. 1480 ในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกัน, โรมในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญเจอโรมในป่า · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเซบาสเตียน (ราฟาเอล)

นักบุญเซบาสเตียน (ภาษาอังกฤษ: St. Sebastian) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่อัคคาดิเมียคาร์รารา, เบอร์กาโมในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “นักบุญเซบาสเตียน” ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึงปี ค.ศ. 1502 เป็นงานเขียนอีกมุมหนึ่งของการวางแบบแบบเปรูจิโน และใช้สีที่ใสที่เป็นลักษณะของฟรานเชสโค ฟรังเคียที่ผสมผสานกันในลักษณะที่ทราบได้ว่าเป็นงานของราฟาเอล ความสามารถในการวางองค์ประกอบของภาพที่ชัดเจนและสมดุลกลายมาเป็นเอกลักษณ์ของงานของราฟาเอลรวมทั้งการทำให้ภาพมีความรู้สึกสงบราบรื่น ในรูปนักบุญเซบาสเตียนถือศรซึ่งเป็นสัญลักษณ์ในการมรณะสักขีของพระองค์ระหว่างนิ้วมือที่เพรียวงาม ทรงสวมเสื้อคลุมสีแดงและเสื้อปักทองพร้อมด้วยผมยาวประบ่าที่จัดไว้ ไม่มีสิ่งใดในภาพที่แสดงถึงความทารุณที่จะมาถึง ลักษณะนี้เป็นเอกลักษณ์ของงานที่ไม่ลงชื่อที่ได้รับการบ่งว่าเป็นงานสมัยแรกๆของราฟาเอล การใช้เครื่องตกแต่งที่สวยงามและอารมณ์คำนึงทำให้นึกถึงงานของเปรูจิโน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญเซบาสเตียน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเซโนเบียสรับศีลล้างบาป (บอตตีเชลลี)

นักบุญเซโนเบียสรับศีลจุ่มและการได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระสังฆราช หรือ นักบุญเซโนเบียสรับศีลจุ่ม (Baptism of St.) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน ภาพ “นักบุญเซโนเบียสรับศีลจุ่ม” ที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1505 เป็นภาพในภาพชุดสี่ภาพของชีวิตและงานของนักบุญเซโนเบียส (ค.ศ. 337-ค.ศ. 417) ผู้เป็นพระสังฆราชองค์แรกของฟลอเรนซ์ ในภาพแรกนักบุญเซโนเบียสปรากฏสามครั้ง ครั้งแรกทางด้านซ้ายของเมื่อปฏิเสธไม่รับเจ้าสาวที่บิดามารดาจัดหาให้ และเดินก้มหน้าคิดออกไป ฉากที่สองเป็นฉากรับที่นักบุญเซโนเบียสและมารดารับศีลจุ่ม และทางขวาของภาพเมื่อได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระสังฆราช “ประวัติของนักบุญเซโนเบียส” เป็นงานชิ้นสุดท้ายที่ทราบของบอตติเชลลี ภาพอีกสามภาพในชุดนี้ก็ได้แก่.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักบุญเซโนเบียสรับศีลล้างบาป (บอตตีเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

นักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน)

นักปรัชญาสามคน (The Three Philosophers, I tre filosofi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนาในประเทศออสเตรีย ภาพ “นักปรัชญาสามคน” เขียนเสร็จราวระหว่างปี ค.ศ. 1505 ถึงปี ค.ศ. 1509 ให้แก่ขุนนางชาวเวนิสชื่อทัดดิโอ คอนตารินิ ภาพ “นักปรัชญาสามคน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จเพียงปีเดียวก่อนที่จอร์โจเนจะเสียชีวิตและเป็นภาพเขียนภาพหนึ่งในบรรดาภาพเขียนสุดท้ายที่เขียน ที่เป็นภาพของนักปรัชญาสามคนที่มีอายุต่างกันและต่างเชื้อชาติกันที่ตามดาวเพื่อจะหาพระเยซูผู้ที่เพิ่งมาประสูติ แต่บุคคลสามคนนี้มาจากคนละสมัย ชายหนุ่มเป็นสัญลักษณ์ของยุคเรอเนซองส์ ชายกลางคนมาจากอาราเบีย ชายสูงอายุเป็นสัญลักษณ์ของยุคกลาง ทั้งสามคนยืน/นั่งอยู่ในป่าที่มีฉากหลังเป็นเมือง ชื่อของภาพมาจากบทเขียนของมาร์คันโตนิโอ มิคิเอลผู้เห็นภาพเขียนนี้ในคฤหาสน์ในเวนิส แต่ที่เห็นได้ชัดคือชายสามคนนี้เป็นอุปมานิทัศน์ ชายหนุ่มที่นั่งอยู่ดูเหมือนจะนั่งสังเกตถ้ำและดูจะพยายามวัดด้วยอุปกรณ์สักอย่าง นักวิชาการบางท่านก็ตีความหมายว่าไม่ใช้แมไจสามคนที่มองไปยังถ้ำที่เกิดของพระเยซู แต่เป็นสัญลักษณ์ของความคิดสามปรัชญา: ยุคเรอเนซองส์คือชายหนุ่ม, อาราเบียคือชายกลางคน และยุคกลางคือชายสูงอายุ แต่นักวิชาการผู้อื่นกล่าวว่าเป็นอุปมานิทัศน์ของอายุสามระดับของมนุษ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

นาร์ซิสซัสหลงเงา

นาร์ซิสซัสหลงเงา (Narcissus) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โบราณแห่งชาติในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1597 ถึงปี ค.ศ. 1599 การระบุว่าเป็นภาพที่เขียนโดยคาราวัจโจจริงหรือไม่เป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอย่างยืดยาวจนกระทั่งบัดนี้และยังคงมีคำถามที่ยังหาคำตอบไม่ได้จากนักวิชาการอีกหลายประการ หลักฐานว่าใครเป็นผู้เขียนไม่มีปรากฏในด้านเอกสารร่วมสมัยฉะนั้นการสันนิษฐานผู้เขียนจึงต้องสรุปเอาจากลักษณะงานเขียน ทฤษฎีที่ว่าคาราวัจโจเป็นผู้เขียนภาพอาจจะได้รับการสนับสนุนจากใบทะเบียนการส่งออกจากปี ค.ศ. 1645 ที่กล่าวถึง “นาร์ซิสซัส” โดยคาราวัจโจที่ขนาดสัดส่วนคล้ายคลึงกับภาพนี้ แม้ว่าจะไม่ทราบแน่นอนจากเอกสารว่าเป็นภาพนี้จริง แต่ผู้เชี่ยวชาญหลายคนต่างก็ยอมรับความเกี่ยวข้องระหว่างเอกสารและภาพเขียนภาพนี้ และยอมรับคุณภาพของภาพ การวิจัยลักษณะการเขียนซึ่งทำระหว่างการบูรณะภาพเมื่อไม่นานมานี้เปรียบเทียบกับลักษณะการเขียนภาพเขียนอื่นๆ ของคาราวัจโจ ประกอบกับการใช้เท็คนิคในการตีความหมายใหม่ของหัวเรื่องในการเขียนภาพของคาราวัจโจทำให้เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นภาพที่วาดโดยคาราวัจโจ ในเรื่องการวาดแบบใหม่ควรจะกล่าวถึงการวางรูปซ้อนจากกึ่งกลางซึ่ง—คล้ายกับไพ่ที่แบ่งเป็นสองตอนจากกลางใบไพ่—โดยมีขอบสระแบ่งกลางภาพ งานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1597 ถึงปี ค.ศ. 1599 ของคาราวัจโจยังเป็นงานในสมัยที่ยังวิวัฒนาการเท็คนิคการเขียนของตนเองซึ่งยังไม่ลงตัว และยังเป็นระยะที่คาราวัจโจพยายามหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจดี เป็นระยะเวลาที่ยังแสวงหาความมีมนต์ขลังของบรรยากาศ, ความความระทึกใจ และการพินิจภายใน (introspection) ของภาพ นอกจากนี้ภาพนี้ก็ยังแสดงอิทธิพลจากการเขียนแบบลอมบาร์ดของโมเร็ตโต ดา เบรสเชีย (Moretto da Brescia)และจิโอวานนิ จิโรลาโม ซาโวลโด (Giovanni Girolamo Savoldo) นอกจากนั้นคาราวัจโจก็ยังทดลองการใช้แสงและเงาด้วยวิธีต่างๆ ภาพเขียนจากสมัยเดียวกันนี้ก็ได้แก่ “คนเล่นลูท”, “แมรี แม็กดาเลนเศร้า” และที่สำคัญที่สุดคือ “นักบุญแคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” และ “มาร์ธาและแมรี แม็กดาเลน” ซึ่งสะท้อนให้เห็นความละม้ายคล้ายคลึงกันในลักษณะการเขียนของกันและกัน ภาพนี้เป็นหนึ่งในสองภาพเท่านั้นที่คาราวัจโจเขียนเกี่ยวกับเทพจากปรัมปราวิทยา เรื่องของนาร์ซิสซัสเป็นเรื่องที่เล่าโดยกวีโอวิดในหนังสือ “มหากาพย์เมตะมอร์ฟอร์ซิส” ว่าเป็นชายหนุ่มที่หน้าตาสะสวยผู้หลงรักเงาของตนเอง ซึ่งเป็นเรื่องที่เป็นที่รู้จักกันดีในบรรดาผู้สะสมเช่นคาร์ดินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเตและนายธนาคารวินเช็นโซ จุสติเนียนิ (Vincenzo Giustiniani) ซึ่งเป็นกลุ่มสังคมในแวดวงของคาราวัจโจ นอกจากนั้นเรื่องนาร์ซิสซัสก็คงจะเป็นที่ต้องใจของคาราวัจโจเองหรืออาจจะเป็นหัวเรื่องที่เหมาะกับผู้อุปถัมภ์ผู้มีการศึกษาเช่นเดล มอนเตหรือจุสติเนียนิตามเหตุผลที่อธิบายโดยนักปรัชญาเรอเนซองส์ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ: “the inventor of painting...was Narcissus...What is painting but the act of embracing by means of art the surface of the pool?” ภาพเขียนสื่อบรรยากาศทางอารมณ์ที่หดหู่ (brooding melancholy) โดยนาร์ซิสซัสล็อกตัวเป็นวงกลมกับเงาของตนเองในน้ำล้อมกลางภาพ รอบตัวเป็นเงามืดรอบข้างที่ทำให้เน้นว่าความเป็นจริงภายในภาพมีแต่เพียงการจ้องดูเงาของตัวเองของนาร์ซิสซัสเท่านั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักวิจารณ์วรรณกรรมโทมมัสโซ สติเกลียนิ (Tommaso Stigliani) อธิบายความมีมนต์ขลังของนาร์ซิสซัสว่าเป็นการ “แสดงอย่างเห็นได้ชัดถึงความไม่มีความสุขของผู้ที่รักสิ่งของของตัวเองมากเกินไป”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนาร์ซิสซัสหลงเงา · ดูเพิ่มเติม »

นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี

นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ ดี แบร์นาโด เดย์ มาเกียเวลลี (Niccolò di Bernardo dei Machiavelli; 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1469 - 21 มิถุนายน ค.ศ. 1527) เป็นนักปรัชญา นักเขียน และนักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลี นับเป็นหนึ่งในบิดาแห่งรัฐศาสตร์ยุคใหม่ มีชีวิตอยู่ในยุคเรอเนซองส์ ซึ่งเขาเป็นนักวิชาการ นักปรัชญาการเมือง นักดนตรี กวี นักเขียนบทละคร แต่ที่สำคัญคือเขาเป็นอาสาสมัครสาธารณกิจแห่งสาธารณรัฐฟลอเรนไทน์ เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนิกโกเลาะ มาเกียเวลลี · ดูเพิ่มเติม »

นิมิตของอัศวิน (ราฟาเอล)

มโนทัศน์ของอัศวิน (ภาษาอังกฤษ: Vision of a Knight หรือ The Dream of Scipio หรือ Allegory) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงลอนดอนในอังกฤษ ราฟาเอลเขียนภาพ “มโนทัศน์ของอัศวิน” ราวปี ค.ศ. 1504 เป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่เขียนด้วยสีฝุ่นผสมไข่บนไม้พ็อพพลา อาจจะเป็นภาพคู่กับแผงเทพสามองค์ที่ปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์ของวังชองตีย์ (Château de Chantilly) แก่นความคิดของภาพเป็นที่โต้เถียงกัน บ้างก็ว่าเป็นภาพอัศวินนอนหลับคือนายพลโรมันสคิปิโอ อาฟริคานัส (Scipio Africanus) (236 - 184 ก.ค.ศ.) ผู้นอนฝันว่าจะต้องเลือกระหว่าง “คุณธรรม” ที่ด้านหลังเป็นเขาสูงและ “ความสำราญ” ที่แต่งตัวอย่างรุ่ยร่าย แต่สตรีสองคนในภาพมิได้มีแสดงความแก่งแย่งกันในตัวอัศวิน แต่สตรีทั้งสองอาจจะเป็นสัญลักษณ์แทนคุณสมบัติที่เป็นอุดมคติของความเป็นอัศวินที่ประกอบด้วย: หนังสือ, ดาบ และดอกไม้ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนความเป็นผู้มีการศึกษา, ความเป็นทหาร และความรักซึ่งเป็นคุณลักษณะต่างๆ ที่อัศวินควรจะเป็นเจ้าของ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนิมิตของอัศวิน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นิคโคโล เดลอาร์คา

นิคโคโล เดลอาร์คา (ภาษาอังกฤษ: Niccolò dell’Arca หรือ Niccolò da Ragusa หรือ Niccolò da Bari หรือ Niccolò d'Antonio d'Apulia) (ราว ค.ศ. 1435 - ค.ศ. 2 มีนาคม ค.ศ. 1494) เป็นประติมากรสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เดลอาร์คาเกิดเมื่อวันที่ ราว ค.ศ. 1435 อาจจะที่เมืองอพูเลียหรืออาจจะที่เมืองบารีในประเทศอิตาลี และอาจจะใช้เวลาระยะหนึ่งในดาลเมเชีย (Dalmatia) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1494 ชื่อสกุล “dell’Arca” มาจากงานชิ้นหนึ่งที่ทำชื่อ “Arca di San Domenico” (หีบแห่งซานโดเม็นนิโค) ซึ่งเป็นอนุสรณ์ของนักบุญโดมินิคที่ตั้งอยู่ภายในชาเปลโดมินิคที่บาซิลิกาซานโดเม็นนิโค (Basilica of San Domenico) ที่โบโลนยา ซี กนูดีกล่าวว่าเดลอาร์คาได้รับการฝึกโดยประติมากรจากดาลเมเชียชื่อจอร์จิโอ เซเบนิโค (Giorgio da Sebenico) นักประวัติศาสตร์ศิลปะบางคนสันนิษฐานว่ามีเชื้อสายมาจากชนชาวสลาฟ นักประวัติศาสตร์ศิลปะสันนิษฐานว่างานสลักที่มีลักษณะออกไปทางเบอร์กันดีเบอร์กันดีอาจจะเป็นที่เดลอาร์คามีส่วนร่วมในการสร้างประตูชัยแห่งคาสเตลนูโอโว (Castel Nuovo) ที่ เนเปิลส์ ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1450 (ที่อาจจะรู้จักกับกุยล์เล็ม ซาเกรรา (Guillem Sagrera) ประติมากรจากแคว้นคาเทโลเนียผู้อาจจะมามีอิทธิพลต่อเดลอาร์คาต่อมา) แต่นักประวัติศาสตร์ศิลปะคนอื่นไม่เห็นด้วยกับการมีประสบการณ์ที่เนเปิลส์ และอ้างว่าเดลอาร์คาเดินทางไปฝรั่งเศสในปลายคริสต์ทศวรรษ 1460 และได้รับการฝึกฝนเพิ่มเติมที่เซียนนาและได้รับอิทธิพลจากงานของจาโคโป เดลลา เควอร์เซีย (Jacopo della Quercia) และ โดนาเทลโล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนิคโคโล เดลอาร์คา · ดูเพิ่มเติม »

นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส

นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus Torinensis, Mikołaj Kopernik มีกอไว กอแปร์ญิก; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 – 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ผู้คิดค้นแบบจำลองระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางสมบูรณ์ ซึ่งดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ มิใช่โลกLinton (2004, pp.) อย่างไรก็ดี โคเปอร์นิคัสมิใช่ผู้แรกที่เสนอระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางในบางรูปแบบ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนหนึ่ง ชื่อ อริสตาซูสแห่งซามอส ได้เสนอแนวคิดดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลแล้ว กระนั้น มีหลักฐานน้อยมากว่าเขาเคยพัฒนาความคิดของเขาไกลเกินแบบร่างง่าย ๆ เท่านั้น (Dreyer, 1953,. การตีพิมพ์หนังสือ De revolutionibus orbium coelestium (ว่าด้วยการปฏิวัติของทรงกลมฟ้า) ของโคเปอร์นิคัส ก่อนหน้าที่เขาเสียชีวิตไม่นาน ถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นการเริ่มต้นการปฏิวัติโคเปอร์นิคัสและมีส่วนสำคัญต่อความรุ่งเรืองของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นตามมา ทฤษฎีระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางอธิบายกลไกของระบบสุริยะในเชิงคณิตศาสตร์ มิใช่ด้วยคำของอริสโตเติล โคเปอร์นิคัสเป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาแห่งสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นทั้งนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักนิติศาสตร์ที่สำเร็จดุษฎีบัณฑิตในวิกฎหมาย นักฟิสิกส์ ผู้รู้สี่ภาษา นักวิชาการคลาสสิก นักแปล ศิลปิน สงฆ์คาทอลิก ผู้ว่าราชการ นักการทูตและนักเศรษฐศาสตร.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำพุเตรวี

น้ำพุเตรวี น้ำพุเตรวียามค่ำ น้ำพุเตรวี (Fontana di Trevi) เป็นน้ำพุที่ตั้งอยู่ที่เขตเตรวีในกรุงโรมในประเทศอิตาลี เป็นน้ำพุที่มีความสูง 25.9 เมตร (85 ฟุต) และกว้าง 19.8 เมตร (65 ฟุต) และน้ำพุแบบบาโรกที่ใหญ่ที่สุดในกรุงโรม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและน้ำพุเตรวี · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมันวอลนัต

วดน้ำมันวอลนัต น้ำมันวอลนัต (Walnut oil) น้ำมันวอลนัตคือน้ำมันที่กลั่นจากวอลนัตเปอร์เซีย (Juglans regia).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและน้ำมันวอลนัต · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)

แม่พระมหาการุณย์ (Madonna della Misericordia) เป็นงานเขียนชิ้นแรก ๆ ของปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา จิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ Pinacoteca Comunale ที่เมืองซานเซพอลโคร ประเทศอิตาลี แผงกลางเป็นลักษณะภาพ “แม่พระมหาการุณย์” ที่นิยมเขียนกันในอิตาลี ในปี ค.ศ. 1445 Compagnia della Misericordia ซึ่งเป็นคณะภราดาฆราวาสของซานเซปอลโกรว่าจ้างปีเอโรเขียนบานพับภาพ ลักษณะที่นิยมสำหรับการเขียนบานพับภาพในสมัยนั้นมักจะเป็นการใช้สีสรรค์ที่จัด (precious colours) และฉากหลังเป็นทอง เขาไม่พอใจที่สัญญาจำกัดเวลาให้เขียนเสร็จภายในเพราะมีงานอื่นที่กำลังยุ่งอยู่ เขาโรจึงไม่ได้เขียนเสร็จจนอีกสิบเจ็ดปีต่อมาในปี ค.ศ. 1462 แผงที่เก่าที่สองแผงทางด้านซ้ายของแผงหลักเป็นภาพนักบุญเซบาสเตียนและนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา แผงนักบุญเซบาสเตียนมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับภาพเปลือยที่เขียนโดยมาซัชโช ปีเอโรมาเขียนจั่ว (tympanum) รอบแผงภายหลัง รวมทั้งภาพการตรึงพระเยซูที่กางเขนเหนือแผงกลาง และนักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย ทูตสวรรค์ แม่พระรับสาร และนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีรอบด้านข้าง มาในปี ค.ศ. 1450 ปีเอโรก็เขียนภาพนักบุญอันดรูว์และนักบุญแบร์นาร์ดีโนแห่งซีเอนา เสร็จ บนฐานฉากแท่นบูชาประกอบด้วยฉากห้าฉากจากชีวิตของพระเยซูที่ส่วนใหญ่โดยผู้ช่วย ส่วนสุดท้ายที่เขียนคือแผงกลางซึ่งเป็นภาพ “แม่พระมหาการุณย์” ซึ่งเป็นภาพพระแม่มารีแสดงพระกรุณาโดยการกางฉลองพระองค์คลุมผู้อยู่ภายใต้การพิทักษ์ของพระองค์ ปีเอโรมีปัญหาในการวางภาพบนที่บนฉากหลังที่เป็นสีทองล้วน ๆ เขาโรจึงขอให้ผู้จ้างอนุญาตให้วางรูปสมาชิกของคณะภราดาที่คุกเข่าภายในช่องในเสื้อคลุมที่กางออกไปของพระแม่มารีย์ ช่องว่างนี้จึงคล้ายมุขรอบด้านทำพิธีของโบสถ์ แต่องค์พระแม่มารีย์ก็ยังมีขนาดใหญ่กว่าที่ไม่ได้สัดส่วนกับผู้ที่อยู่ภายใต้เสื้อคลุม ซึ่งเป็นลักษณะการวาดภาพของสมัยกลางที่ให้ความสำคัญต่อบุคคลสำคัญในภาพโดยวาดใหญ่กว่าคนอื่นๆ ในภาพ แต่ลักษณะการวาดรูปคนของปีเอโรมีอิทธิพลมาจากมาซัชโชและมีความลึกที่มีอิทธิพลมาจากฟีลิปโป บรูเนลเลสกี เป็นลักษณะของศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อัลดัส ฮักซลีย์บรรยายภาพ “แม่พระมหาการุณย์” ของปีเอโรว่าเป็นภาพเขียนที่สวยที่สุดในโลก ซึ่งเป็นคกล่าวที่เชื่อกันว่าทำให้ทหารอังกฤษที่จำได้เลี่ยงการทิ้งระเบิดที่เมืองซานเซพอลโครระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสาร

“แม่พระรับสาร” รูปเคารพจากมาเซโดเนีย แม่พระรับสาร (Annunciation, Annunciation of Mary, Annunciation of the Lady หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary) หมายถึง เหตุการณ์ที่ที่พระแม่มารีย์รับสารจากทูตสวรรค์กาเบรียลว่านางจะตั้งครรภ์พระบุตรพระเป็นเจ้า เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดเมื่อไร ไม่ทราบได้ แต่เมื่อมีการฉลองวันการประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคมของทุกปี ก็มีผู้ริเริ่มจัดการฉลองเหตุการณ์แม่พระรับสารนี้ขึ้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เรียกว่า "วันแม่พระรับสาร" (Annunciation of the Lady's Day) โดยนับถอยหลังจากวันคริสต์มาสขึ้นไปเก้าเดือน นอกจากนี้ เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดที่ไหนก็ไม่มีใครทราบได้ ทว่าฝ่ายออร์ทอดอกซ์เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเรธ ประเทศอิสราเอล ที่ "โบสถ์ออร์ทอดอกซ์แม่พระรับสาร" (Orthodox Church of the Annunciation) ส่วนฝ่ายโรมันคาทอลิกก็เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเรธนั้น และเกิดที่ "โบสถ์แม่พระรับสาร" (Church of the Annunciation).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระรับสาร · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสาร (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับสาร แม่พระรับสาร (ภาษาอังกฤษ: Annunciation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ตั้งอยู่ที่วัดซานซาลวาดอร์แห่งเวนิสในประเทศอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “แม่พระรับสาร” ระหว่างปี ค.ศ. 1559 ถึงปี ค.ศ. 1564.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระรับสาร (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสาร (ดา วินชี)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับสาร แม่พระรับสาร (ภาษาอังกฤษ: Annunciation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เลโอนาร์โดเขียนภาพ “แม่พระรับสาร” ระหว่างปี ค.ศ. 1472 ถึงปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพเหตุการณ์เทวดาเกเบรียลต่อพระแม่มารีย์ว่าจะทรงให้กำเนิดแก่พระเยซู เป็นฉากที่ดา วินชีตั้งในลานในสวนในวิลลาที่ฟลอเรนซ์ เทวดาถือดอกลิลลิ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ของพระแม่มารี กล่าวกันว่าปีกที่วาดดาวิชิวาดจากปีกของนกที่กำลังบิน แต่ปีกถูกวาดให้ยาวขึ้นโดยจิตรกรรุ่นต่อมา เมื่อหอศิลป์อุฟฟิซิได้ภาพมาในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระรับสาร (ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล

แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล (Annunciazione di Cestello) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลี จิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟีซีที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1489 ถึง ค.ศ. 1490 ภาพนี้เป็นงานจ้างของคอนแวนต์เชสเตลโลในฟลอเรนซ์ (ปัจจุบันคือโบสถ์ซันตามาเรียมัดดาเลนาแห่งปัซซี (Santa Maria Maddalena de'Pazzi)) บอตตีเชลลีสามารถใช้ทัศนมิติในการมองลึกเข้าไปในโครงสร้างของห้องข้ามพื้นกระเบื้องตามแนวเส้นที่แคบลง ออกไปยังภูมิทัศน์ภายนอก ท่าทางที่อ่อนไหวอย่างมีชีวิตจิตใจของทั้งพระแม่มารีย์ขัดกับช่องไดนามิค (spatial dynamics) ที่ดึงสายตาไปยังฉากหลัง ลักษณะสามเหลี่ยมเริ่มจากชายเสื้อของทูตสวรรค์กาเบรียลต่อไปยังมือที่ยกขึ้น ขึ้นไปยังพระหัตถ์ของพระแม่มารีย์ที่ยกขึ้นขวางพระอุระ เครื่องทรงของทูตสวรรค์ที่จีบพับเป็นลอนใหญ่ทำให้มีความรู้สึกว่าเหมือนจะเพิ่งบินลงมา ทูตสวรรค์เกเบรียลคุกเข่าต่อหน้าพระแม่มารีย์เผยอปากพร้อมที่จะแจ้งสารที่เขียนเป็นภาษาละตินที่เขียนไว้บนกรอบเดิมว่า “พระจิตเจ้าจะเสด็จลงมาเหนือท่านและพระอานุภาพของพระผู้สูงสุดจะแผ่เงาปกคลุมท่าน” (ลูกา 1:35).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระซอลลี

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีซอลลิ (ภาษาอังกฤษ: Solly Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ หอศิลป์ในกรุงเบอร์ลินในประเทศเยอรมนี ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีซอลลิ” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1504 “พระแม่มารีซอลลิ” เป็นงานเขียนหนึ่งในชิ้นแรกๆ ที่ราฟาเอลเขียนที่ยังเห็นอิทธิพลของเปียโตร เปรูจิโนผู้เป็นครูอย่างเห็นได้ชัด สิ่งสองสิ่งจากภาพนี้ที่จะพบในงานต่อๆ มาของราฟาเอลคือพระแม่มารีอ่านหนังสือเช่นในภาพ “พระแม่มารีและพระบุตร” ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะนอร์ตันไซมอน, “พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล”, “พระแม่มารีโคลอนนา” และ “พระแม่มารีคาร์เดลลิโน” และเช่นเดียวกับภาพสุดท้ายคือนก “พระแม่มารีซอลลิ” ตั้งชื่อตามเจ้าของเดิมนายธนาคารอังกฤษเอ็ดเวิร์ด ซอลล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระซอลลี · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมาร

แม่พระและพระกุมาร (Madonna and Child; Madonna col Bambino) เป็นรูปเคารพที่สำคัญที่สุดรูปหนึ่งในศาสนาคริสต์ เป็นรูปของพระนางมารีย์พรหมจารี (ซึ่งชาวคาทอลิกเรียกว่าแม่พระ) และพระกุมารเยซู (พระเยซูเมื่อทรงพระเยาว์) “แม่พระและพระกุมาร” โดย ฟิลลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระและพระกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมารกับทูตสวรรค์ (บอตตีเชลลี)

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีและพระบุตรและเทวดา (ภาษาอังกฤษ: Madonna and Child with an Angel) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่สเปนดาเล เดกลิ อินโนเชนติในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “พระแม่มารีและพระบุตรและเทวดา” ระหว่างปี ค.ศ. 1465 ถึงปี ค.ศ. 1467 ภาพนี้ยังเป็นภาพที่ยังสมบูรณ์เต็มตัวเพราะเป็นงานที่บอตติเชลลีเขียนขณะที่ยังทำงานอยู่ในเวิร์คช็อพของครู -- ฟิลลิปโป ลิปปี --อยู่ ภาพเขียนได้รับแรงบันดาลใจจากงาน “พระแม่มารี” ของลิปปีในอุฟฟิซิ แทนที่จะเป็นภูมิทัศน์บอตติเชลลีใช้ซุ้มโค้งของสถาปัตยกรรมแทนที่ซึ่งกลายเป็นกรอบรอบพระเศียรของพระแม่มารีและพระบุตรซึ่งเป็นการเน้นความสำคัญของทั้งสองพระองค์ใน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระและพระกุมารกับทูตสวรรค์ (บอตตีเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมารและทูตสวรรค์สององค์ (บอตตีเชลลี)

แม่พระและพระกุมารและทูตสวรรค์สององค์ (Madonna and Child and Two Angels) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลี จิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์คาปิโตลิเนในเนเปิลส์ในประเทศอิตาลี ภาพ “แม่พระและพระกุมารและทูตสวรรค์สององค์” ที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลีราวระหว่างปี ค.ศ. 1468 ถึงปี ค.ศ. 1469 เป็นภาพที่เดิมเชื่อกันว่าเขียนโดยฟีลิปปีโน ลิปปีผู้เป็นครูของบอตตีเชลลี จากการศึกษารายละเอียดสันนิษฐานว่าเป็นภาพที่เขียนในช่วงเดียวกับภาพ “ความอดทน”.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระและพระกุมารและทูตสวรรค์สององค์ (บอตตีเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก (ภาษาอิตาลี: Madonna del Granduca) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่วังพิตติที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ราฟาเอลอาจจะเขียนภาพ “แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก” ราวปี ค.ศ. 1505 หลังจากที่มาถึงฟลอเรนซ์ อิทธิพลที่ได้รับจากเลโอนาร์โด ดา วินชีเห็นได้ชัดในภาพนี้ในการใช้เทคนิคการเขียนแบบสีม่านหมอก (sfumato) ภาพเขียนเป็นของเฟอร์ดินานด์ที่ 3, แกรนด์ดยุกแห่งทัสเคนี (Ferdinand III, Grand Duke of Tuscany) ที่ภาพตั้งชื่อตาม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระแห่งแกรนด์ดยุก · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระเปซาโร

ระแม่มารีเปซาโร (ภาษาอิตาลี: Pala Pesaro หรือ Madonna di Ca' Pesaro; ภาษาอังกฤษ: Pesaro Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันอยู่ที่บาซิลิกาซานตามาเรีย กลอริโอซา เดอิ ฟราริที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “พระแม่มารีเปซาโร” ระหว่างปี ค.ศ. 1519 ถึงปี ค.ศ. 1526 สำหรับชาเปลของตระกูลเปซาโรที่ซื้อจากบาซิลิกาซานตามาเรีย กลอริโอซา เดอิ ฟราริ (Santa Maria Gloriosa dei Frari) ในปี ค.ศ. 1518 โดยได้รับจ้างจากจาโคโป เปซาโร (Jacopo Pesaro) จาโคโปเป็นบาทหลวงของพาฟอส (Paphos) ในไซปรัส และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองเรือของพระสันตะปาปาโดยสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแม่พระเปซาโร · ดูเพิ่มเติม »

แอสโมเดียส

แอสโมเดียส (Asmodeus) หรือ แอสโมไดออส (Ασμοδαίος) หรือ แอชมีดาย (אַשְמְדּאָי) คือราชาแห่งเหล่ามาร"Asmodeus" in The New Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแอสโมเดียส · ดูเพิ่มเติม »

แอดการ์ เดอกา

“ภาพเหมือน” (ราวปี ค.ศ. 1854) โดย แอดการ์ เดอกา แอดการ์ เดอกา (Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่ากอร์ดอนและฟอร์จ,..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแอดการ์ เดอกา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นตอสคานา

ตอสคานา (Toscana) หรือ ทัสกานี (Tuscany) เป็นแคว้นหนึ่งของประเทศอิตาลี มีเมืองฟลอเรนซ์ (ฟีเรนเซ) เป็นเมืองหลัก มีเนื้อที่ทั้งหมด 22,990 ตารางกิโลเมตร และมีผู้คนอาศัยอยู่ 3.6 ล้านคน แคว้นตอสคานามีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม (เนื่องจากเป็นที่กำเนิดของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา) สถาปัตยกรรม ศาสนา วัฒนธรรม และอุตสาหกรรม (เนื่องจากมีโรงงานผลิตเสื้อผ้า เสื้อนุ่งห่ม เครื่องหนังจำนวนมาก) ของประเทศอิตาลี แคว้นแห่งนี้เองที่เป็นที่ตั้งของหอเอนเมืองปิซาอันโด่งดัง นอกจากนี้ แคว้นตอสคานายังขึ้นชื่อว่ามีทิวทัศน์งดงามมาก และมีไวน์รสชาติดีเยี่ยม ภาษาอิตาลีที่พูดกันในแคว้นตอสคานาเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการพูดแบบชาวอิตาลีโดยแท้จริงและยอมรับให้เป็นสำเนียงราชการ สำหรับชื่อแคว้น ชาวอิตาลีเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ตอสคานา" แต่ภาษาอังกฤษเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ทัสกานี" ในภาษาอื่น ๆ ก็มีชื่อเรียกต่างกันไปอีก เช่น ภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า Toscane ในภาษาละตินเรียกว่า Toscia เป็นต้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแคว้นตอสคานา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา

อมีเลีย-โรมัญญา (Emilia-Romagna) เป็นแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี มีเนื้อที่ทั้งหมด 22,446 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 4.4 ล้านคน เมืองหลักของแคว้นคือโบโลญญา เอมีเลีย-โรมัญญาเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่มั่งคั่งที่สุดและได้รับการพัฒนามากที่สุดในยุโรป โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากรสูงเป็นอันดับที่ 3 ในอิตาลี.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์ลามาดแลน

โบสถ์ลามาดแลน (L'église de la Madeleine) มีชื่อเรียกเต็มว่า โบสถ์นักบุญมารีย์ชาวมักดาลา (L'église Sainte-Marie-Madeleine) เรียกกันอย่างลำลองในฝรั่งเศสว่า มาดแลน เป็นโบสถ์สำคัญในคริสตจักรนิกายโรมันคาทอลิก ในสังกัดอัครมุขมณฑลปารีส ที่สร้างอุทิศแก่นักบุญมารีย์ชาวมักดาลา ถือเป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 8 ติดกับจัตุรัสเดอลากงกอร์ด ทางด้านทิศใต้ ทิศตะวันออกติดกับจัตุรัสว็องโดม และทิศตะวันตกติดกับโบสถ์แซ็ง-โอกุสแต็ง ตัวอาคารเป็นแบบเทวสถานโรมันทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ประกอบไปด้วยเสาโรมันสูง 20 เมตร จำนวน 52 ต้น โดยนำแบบมาจากแมซงกาเร อันเป็นเทวสถานยุคโรมันที่สมบูรณ์ที่สุด ที่หลงเหลือจนถึงปัจจุบัน หน้าจั่วเป็นรูปปั้นนูนสูงฝีมือของเลอแมร์ บอกเล่าเรื่องราวของการพิพากษาครั้งสุดท้าย ประตูโบสถ์ทำจากทองแดงสลักนูนต่ำเรื่องราวของบัญญัติสิบประการ ภายในประกอบไปด้วยทางเดินกลาง ด้านบนมีโดม จำนวน 3 โดม ไม่มีแขนกางเขน อันเป็นแบบวิหารโรมันทั่วไป ด้านในตกแต่งประดับประดาแบบห้องอาบน้ำตามสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และเหนือแท่นบูชามีรูปปั้นนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาขึ้นสวรรค์ ด้านบนเป็นภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังบอกเล่าประวัติของศาสนาคริสต์ ''แมซงกาเร'' ณ เมืองนีม ภายในโบสถ์ หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในปารีส หมวดหมู่:โบสถ์คริสต์ในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโบสถ์ลามาดแลน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยบรันกัชชี

ปลบรันคาชชิ (Brancacci Chapel, Capella dei Brancacci) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยมาซาชิโอ ที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิ ที่เขียนให้แก่พ่อค้าไหมเฟลิเช บรันคาชชิหลานของเปียโตร บรันคาชชิผู้สร้างชาเปล ความงามของงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลนี้ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ชาเปลซิสตินแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น” ใน และเป็นงานเขียนที่มีอิทธิพลมากที่สุดชิ้นหนึ่งของสมัยที่ว่านี้ เปียโตร บรันคาชชิสร้างชาเปลนี้ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโบสถ์น้อยบรันกัชชี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

โกซีโม รอสเซลลี

ม รอซเซลิ (Cosimo Rosselli) (ค.ศ. 1439 - ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและฉากแท่นบูชา รอซเซลิทำงานส่วนใหญ่ในฟลอเรนซ์ โคสิโม รอซเซลิเกิดในปี ค.ศ. 1439 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เมื่ออายุได้สิบสี่ปีรอซเซลิก็ไปเป็นลูกศิษย์ของเนริ ดิ บิชชิ (Neri di Bicci) และในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโกซีโม รอสเซลลี · ดูเพิ่มเติม »

โกซีโม ตูรา

ม ทูรา (Cosimo Tura หรือ Il Cosmè หรือ Cosmè Tura) (ราว ค.ศ. 1430 - ค.ศ. 1495) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์ราราของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโกซีโม ตูรา · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก (Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg (ค.ศ. 1398 – 3 ก.พ. ค.ศ. 1468) ช่างเหล็กและนักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ในช่วงราวคริสศตวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และแท่นพิมพ์แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำไวน์ กูเตนแบร์กได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป กูเตนแบร์กเกิดที่เมืองไมนซ์ ในประเทศเยอรมนี โดยเป็นบุตรชายของพ่อค้าชื่อ Friele Gensfleisch zur Laden ซึ่งต่อมาได้รับเอาชื่อ "zum Gutenberg" ซึ่งเป็นชื่อของบริเวณที่ครอบครัวของเขาย้ายเข้าไปอยู่อาศัย มาใช้เป็นนามสกุล หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1941 หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโยฮันน์ กูเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมีโอและจูเลียต (พ.ศ. 2511)

รมีโอและจูเลียต เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโรมีโอและจูเลียต (พ.ศ. 2511) · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต กัมปิน

แผ่นภาพ "Flemalle" ส่วนหนึ่ง งานที่มักจะสันนิษฐานว่าเขียนโดยกัมปิน บานภาพนี้เป็นบานทางขวาของบานพับภาพเวิร์ล (Werl triptych) ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1438 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานปราโด ประเทศสเปน โรเบิร์ต กัมปิน (Robert Campin; ราว ค.ศ. 1375 - 26 เมษายน ค.ศ. 1444) เป็นจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมแผงและบานพับภาพ สันนิษฐานกันว่าโรเบิร์ต กัมปิน เป็นคนคนเดียวกับจิตรกรที่เรียกกันว่า "ครูบาแห่งเฟลมาล" (Master of Flémalle) ประวัติของกัมปินมีเนื้อหาค่อนข้างสมบูรณ์เมื่อเทียบกับชีวิตของคนในยุคนั้น แต่ไม่มีงานชิ้นใดที่กล่าวได้แน่นอนว่าเป็นของกัมปิน ขณะที่งานส่วนใหญ่กล่าวกันว่าเป็นงานของผู้เรียกกันว่า "ครูบาแห่งเฟลมาล" ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกตามภาพเขียน.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโรเบิร์ต กัมปิน · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ กอสตา

ลอเรนโซ คอสตา (Lorenzo Costa) (ค.ศ. 1460 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1535) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ลอเรนโซ คอสตาเกิดในปี ค.ศ. 1460 ที่เมืองเฟอร์ราราในประเทศอิตาลีแต่ย้ายไปอยู่โบโลนยาเมื่ออายุยี่สิบกว่าๆ และเป็นผู้มีอิทธิพลต่อตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนา แต่จิตรกรหลายคนที่ทำงานอยู่ทั้งในเฟอร์ราราและโบโลนยาถือว่าลอเรนโซ คอสตาเป็นผลผลิตของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์รารา มีการกล่าวอ้างว่าคอสตาได้รับการฝึกหัดจากโคสิโม ตูรา (Cosimo Tura) ในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโลเรนโซ กอสตา · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ กีแบร์ตี

ลเรนโซ กีแบร์ตี บน "ประตูสวรรค์" (Gates of Paradise) ที่หอศีลจุ่มซานจิโอวานนี (Battistero di San Giovanni) ที่ฟลอเรนซ์ งานของโลเรนโซ กีแบร์ตี ที่ชนะการประกวดเมื่อปี ค.ศ. 1401 ซึ่งยังเป็นฉากแบบยุคกลาง แต่รูปนี้ไม่มีบน "ประตูสวรรค์" เมื่อสร้าง "ประตูสวรรค์" ประตูที่เห็นในปัจจุบันเป็นประตูที่ทำเลียนแบบของจริง พระเจ้าสร้างอาดัมและอีฟบานภาพจาก "ประตูสวรรค์" โลเรนโซ กีแบร์ตี (Lorenzo Ghiberti; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Lorenzo di Bartolo; ค.ศ. 1378 - 1 ธันวาคม ค.ศ. 1455) เป็นประติมากรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์ตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางประติมากรรม งานโลหะ และจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโลเรนโซ กีแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ เด เมดีชี

ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ (Lorenzo de’ Medici หรือ Lorenzo il Magnifico; Lorenzo the Magnificent) (1 มกราคม ค.ศ. 1449 – 9 เมษายน ค.ศ. 1492) เป็นรัฐบุรุษคนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญในทางการปกครอง นอกจากนั้นลอเรนโซ เดอ เมดิชิยังเป็นเป็นนักการทูต, ผู้อุปถัมภ์ผู้มีปัญญา, ศิลปิน, และกวี ลอเรนโซ เดอ เมดิชิมีชีวิตอยู่ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของสมัยเรอเนซองส์ หลังจากลอเรนโซ เดอ เมดิชิเสียชีวิตยุคทองของเรอเนซองส์ก็สิ้นสุดลง ความสัมพันธ์ที่เปราะบางระหว่างแคว้นต่างๆของอิตาลีที่ลอเรนโซพยายามยึดไว้ก็แตกหักลง เพียงสองปีหลังจากลอเรนโซเสียชีวิตฝรั่งเศสก็รุกรานอิตาลีระหว่างปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโลเรนโซ เด เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

โอเทลโล (วรรณกรรม)

อเทลโล (Othello, the Moor of Venice) เป็นนาฏกรรมอังกฤษที่มีชื่อเสียง ซึ่งประพันธ์โดยนักเขียนอังกฤษ นามว่า วิลเลียม เชกสเปียร์นำแสดงครั้งแรกวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโอเทลโล (วรรณกรรม) · ดูเพิ่มเติม »

โจวัน ฟรันเชสโก เปนนี

ันฟรันเชสโก เปนนี (Gianfrancesco Penni) หรือ โจวัน ฟรันเชสโก (Giovan Francesco; ค.ศ. 1488/ค.ศ. 1528-ค.ศ. 1528) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จันฟรันเชสโก เปนนีเป็นลูกศิษย์ของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของอิตาลีในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา จันฟรันเชสโกเกิดในเมืองฟลอเรนซ์ในครอบครัวช่างทอผ้า และเข้าทำงานกับราฟาเอลตั้งแต่ยังอายุไม่มาก มีผลงานร่วมกับราฟาเอลหลายชิ้นรวมทั้งในห้องราฟาเอลภายในพระราชวังวาติกัน และงานจิตรกรรมฝาผนังที่วิลลาฟาร์เนซินา (Villa Farnesina) ทั้งสองงานเป็นงานในกรุงโรม ไฮน์ริช วูลฟ์ฟลินนักวิจารณ์ศิลปะชาวสวิสและนักเขียนคนอื่น ๆ ยกให้ฟรันเชสโกเป็นผู้เขียนคนเดียวทั้งหมดจากภาพร่างที่เขียนไว้โดยราฟาเอล แต่นักเขียนเมื่อไม่นานมานี้เชื่อว่าราฟาเอลเป็นผู้เขียนงานส่วนใหญ่เอง หลังจากราฟาเอลเสียชีวิตอย่างกะทันหันฟรันเชสโกทำงานร่วมกับจูลีโอ โรมาโน (Giulio Romano) ในการเขียนในห้องชุดราฟาเอลจนเสร็จเช่น "โถงคอนสแตนติน", "พระเยซูแปรรูป", "อัสสัมชัญและการสวมมงกุฏของพระแม่มารี" (ค.ศ. 1525) ในมอนเตลูเชและในวังเต (Palazzo Te) ที่มันโตวา นอกจากนั้นฟรันเชสโกก็ยังออกแบบพรมทอแขวนผนังสำหรับฉาก "ชีวิตของพระเยซู" สำหรับสมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ที่ใช้ตกแต่งใน "ห้องคอนซิสโตโร" (Sala del Concistoro) ในพระราชวังพระสันตะปาปาในวาติกัน ในปี ค.ศ. 1526 ฟรันเชสโกก็ย้ายออกจากโรมไปสมทบกับจูลีโอ โรมาโนที่ย้ายไปมานทัวใน ค.ศ. 1524 ตามคำกล่าวของวาซารี ฟรันเชสโกไม่ได้รับการต้อนรับอย่างดีจากจูลีโอ ในที่สุดก็เดินทางไปลอมบาร์ดี โรม และในที่สุดก็เนเปิลส์ซึ่งเขาไปเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1528 ในบรรดาลูกศิษย์ก็มีเลโอนาร์โด ดา ปิสโตยา (Leonardo da Pistoia).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโจวัน ฟรันเชสโก เปนนี · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี บอกกัชโช

วันนี บอกกัชโช (Giovanni Boccaccio) (ค.ศ. 1313 – 21 ธันวาคม ค.ศ. 1375) เป็นนักเขียน กวี และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ผู้เป็นนักประพันธ์งานสำคัญหลายชิ้นที่รวมทั้ง “ตำนานสิบราตรี” (Decameron) และ “On Famous Women” รายละเอียดเกี่ยวกับการกำเนิดของบอกกัชโชไม่เป็นที่ทราบกันเท่าใดนัก บางหลักฐานก็ว่าเกิดที่ปารีส จากแม่ที่เป็นชาวปารีสBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโจวันนี บอกกัชโช · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา

thumb โจวานนี เปียร์ลุยจี ปาเลสตรินา (Giovanni Pierluigi da Palestrina; 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1525 หรือ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1594) คีตกวีชาวอิตาเลียนในช่วงปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ปาเลสตรินาเกิดที่เมืองปาเลสตรินา เป็นเมืองเล็กๆ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากโรม และอยู่ในอาณาจักรพระสันตะปาปา เริ่มงานจากการเป็นนักร้องเสียงประสานในโบสถ์ และได้เริ่มฝึกหัดออร์แกนและเรียบเรียงดนตรีสวด ผลงานประพันธ์ของปาเลสตรินาเป็นที่ประทับใจสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 3 ที่ทรงเคยเป็นบิชอปแห่งปาเลสตรินา จึงทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นผู้อำนวยการดนตรี เขาได้ผลิตผลงานเพลงด้านศาสนาออกมาเป็นจำนวนหลายร้อยชิ้น ปาเลสตรินาเสียชีวิตในวันที่ 2 กุมภาพัน..1594 ด้วยอาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ ที่กรุงโรม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี เบลลีนี

“การนำพระเยซูเข้าวัด” (Presentation in the Temple) โดย จิโอวานนี เบลลินี (ราว ค.ศ. 1499-1500), พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย จิโอวานนี เบลลินี (Giovanni Bellini) (ค.ศ. 1430 - ค.ศ. 1516) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เบลลินีเป็นครอบครัวจิตรกรจากเวนิส จิโอวานนี เบลลินีเป็นลูกของจาคโคโป เบลลินี เป็นน้องชายของ เจ็นทิลี เบลลินี และเป็นน้องเขยของอันเดรีย มานเทนยา (Andrea Mantegna) จิโอวานนี เบลลินีมีชื่อว่าเป็นผู้ปฏิวัติการเขียนภาพแบบเวนิสในการออกไปทางแบบที่ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน (sensuous) และเป็นสีสรรค์ (colouristic) เบลลินีใช้สีน้ำมันที่ใสและแห้งช้าซึ่งเมื่อแห้งทำให้มีภาพมีสีเข้มขึ้น เหลือบ และเป็นเงาที่ละเอียด การใช้สีที่ sumptuous และ ภูมิทัศน์ที่มีบรรยากาศมีผลต่อการอิทธิพลต่อการเขียนภาพแบบเวนิสโดยเฉพาะต่อจอร์จิโอเนและทิเทียน ผู้เป็นลูกศิษย์ของเบลลินีเอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโจวันนี เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

โดนาเตลโล

รูปปั้นโดนาเตลโลที่ฟลอเรนซ์ โดนาเตลโล หรือ โดนาโต ดี นิกโกเลาะ ดี เบตโต บาร์ดี (Donatello หรือ Donato di Niccolò di Betto Bardi; ค.ศ. 1386 - 13 ธันวาคม ค.ศ. 1466) ศิลปินชาวอิตาลีในด้านงานปั้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดนาเตลโล · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย · ดูเพิ่มเติม »

โซโฟนิสบา อังกิสโซลา

ซโฟนิสบา อังกิสโซลา (Sofonisba Anguissola) (ราว ค.ศ. 1532 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและโซโฟนิสบา อังกิสโซลา · ดูเพิ่มเติม »

ไอราวัณ

อราวัณ (아이라완; Irawan) เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญในกรานาโด้ เอสปาด้า ซึ่งเป็นเกมออนไลน์จากประเทศเกาหลี โดยไอราวัณเป็นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้กับศัตรู และถือเป็นตัวละครเกมออนไลน์ที่นักเล่นเกมออนไลน์ชาวไทยรู้จักกันมากที่สุดในปัจจุบันในฐานะของนักมวยไทย ซึ่งไอราวัณเป็นตัวละครที่ได้รับการเปิดตัวในประเทศไทยครั้งแรกวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและไอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทัน (เทพปกรณัม)

ปโปแคมปัส ที่น้ำพุเทรวี กรุงโรม ประเทศอิตาลี ไทรทัน (Triton) เป็นเทพองค์หนึ่งในเทพปกรณัมกรีก โดยเป็นโอรสของโพไซดอน เจ้าสมุทร กับแอมฟิไทรที มารดาแห่งท้องทะเล ไทรทันเป็นผู้แจ้งข่าวแห่งท้องทะเล มีร่างกายเป็นเงือก คือ กายท่อนบนเป็นอย่างกายมนุษย์ท่อนบนทั่ว ๆ ไป ส่วนท่อนล่างเป็นหางปลา อาวุธประจำกายของไทรทันคือตรีศูลเช่นเดียวกับบิดา แต่มักปรากฏในศิลปกรรมต่าง ๆ ว่าถือสังข์ซึ่งเมื่อใช้เป่าดั่งแตรแล้วมีอำนาจบันดาลให้เกิดคลื่นลมในทะเลหรือให้ท้องทะเลสงบลงได้ ว่ากันว่าสังข์ของไทรทันนี้มีเสียงประหลาดชอบกล เมื่อเป่าอย่างแรงแล้วจะบังเกิดเป็นพลยักษ์เตรียมพร้อมประจัน ซึ่งเชื่อว่าเป็นจินตนาการถึงเสียงคำรามของสัตว์ป่า ตามหนังสือ "เทวกำเนิด" ของเฮซิออด กวีชาวกรีก ว่า ไทรทันนั้นพำนักอยู่กับบิดา ณ สุวรรณปราสาทซึ่งประดิษฐานอยู่ใต้สมุทร ในขณะที่ตำนานของชาวอาโกนอตส์ว่า ไทรทันอยู่ตำหนักที่ชายฝั่งของประเทศลิเบีย และเมื่อพวกตนได้แล่นเรือไปถึงฝั่งทะเลเลสเซอร์ซีตส์ ก็ได้ใช้ใบต่อไปถึงทะเลสาบไทรทันนิส ณ ที่นั้นปรากฏว่าไทรทันซึ่งเป็นเทพประจำถิ่นได้มาชี้ทางให้สามารถผ่านทะเลเมดิเทอร์เรเนียนได้ ไทรทันเป็นบิดาของเทพีพัลลัส และเป็นบิดาบุญธรรมของเทพีอะทีนา ต่อมาเทพีทั้งสองเกิดทะเลาะเบาะแว้งและเข้าต่อสู้กัน สุดท้าย เทพีอะทีนาประหารเทพีพัลลัสได้ นอกจากนี้ บางทีก็มีการกล่าวว่าไทรทันเป็นบิดาของสกิลลาซึ่งเกิดแค่เทพีลาเมีย และยังเชื่อว่าไทรทันเป็นผู้ครอบครองโคตรเพชรแห่งสมุทรที่ชื่อ "ไทรทันส์" ด้วย อนึ่ง ไทรทันยังปรากฏตัวในเทพปกรณัมและมหากาพย์ของโรมันอีกหลายเรื่อง โดยในมหากาพย์อีนีด มิเซนุส ผู้บรรเลงสังข์ประจำตัวเอนีแอส เหิมเกริมบังอาจขอประลองเป่าสังข์กับเทพไทรทัน ไทรทันจึงจับเขาทุ่มดิ่งลงมหาสมุทรถึงแก่ความตาย สำหรับชาวโรมันแล้ว นิยมทำรูปปั้นไทรทันไว้คู่กับบ่อน้ำพุ เซ็กส์ทุส พรอเพรอทีอุส กวีโรมัน พรรณนาถึงบ่อน้ำพุที่ประดับด้วยรูปปั้นไทรทันว่า อุดมไปด้วย "ศัพทสำเนียงของกระแสน้ำที่พวยพุ่งตรงออกมาจากโอษฐ์แห่งไทรทันนั้นซ่านกระเซ็นไปรอบ ๆ บ่อ " สมัยต่อมายังมีการบัญญัติศัพท์สำหรับเรียกอมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายเงือกว่า "ไทรทันเนส" (Tritones) ซึ่งคำนี้อาจหมายถึงที่มีเพศผู้หรือเพศเมียก็ได้ ซึ่งปรากฏการบรรยายลักษณะของอมุนษย์ดังกล่าวไว้ในบันทึกของโพซาเนียส นักผจญภัย ว่า "เหล่าไทรทันเนสมีรูปพรรณดังต่อไปนี้ บนศีรษะของพวกมันมีขนคล้ายกับศีรษะของกบในหนอง ที่คล้ายไม่ใช่แต่สีสันเท่านั้น แต่การที่สามารถแยกขนเส้นหนึ่งออกจากเส้นได้ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน ร่างกายส่วนที่เหลือเป็นแต่ตะปุ่มตะป่ำประดุจปลาฉลาม มีหงอนและจมูกอย่างของมนุษย์อยู่เบื้องล่างหูของพวกมัน แต่ส่วนปากนั้นกว้างใหญ่ และมีฟันแหลมคมอย่างของสัตว์ดุร้าย ดวงตานั้นเล่าข้าพเจ้าก็เห็นเป็นสีฟ้า นอกจากนี้ พวกมันยังมีมือ มีนิ้ว และมีเล็บสัณฐานดั่งเปลือกของทากทะเล ถัดจากแผ่นอกและช่วงท้อง แทนที่จะเป็นขาเยี่ยงคนเรา กลับปรากฏเป็นหางดั่งปลาโลมา" ต่อมาหลังยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นต้นมา มีหลายสิ่งหลายอย่างได้รับการขนานนามตามชื่อของไทรทัน ในจำนวนนั้นได้แก่ พระจันทร์ไทรทัน พระจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของดาวพระเกตุหรือดาวเนปจูน การตั้งชื่อนี้เป็นเชิงสัญลักษณ์ ด้วยเนปจูนนั้นเป็นอีกชื่อหนึ่งของโพไซดอน บิดาของไทรทัน บทร้อยกรองซอนเนตของวิลเลียม เวิดส์เวิร์ท ชื่อ "เดอะเวิลด์อิสทูมัชวิทอัส" (The world is too much with us) รำพันถึงความจำเจอันน่าเบื่อของโลกสมัยใหม่ โดยปรารถนาซึ่ง ชื่อของไทรทันยังได้รับการนำไปตั้งให้แก่เครื่องกลอย่าง เครื่องจักรไทรทันของฟอร์ด และรถบรรทุกแบบมีกระบะรุ่นไทรทันของมิตซูบิชิ และตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของหอยสังข์แตรตามอย่างในเทพปกรณัมที่ไทรทันได้เป่า ว่า Charonia tritonis นอกจากนี้ เมื่อ ค.ศ. 1989 ไทรทันยังได้รับการดัดแปลงเป็นตัวละครหลักในการ์ตูนของวอลต์ดิสนีย์เรื่อง Little Mermaid โดยเป็นเจ้าสมุทรผู้ปกครองดินแดนใต้สมุทร "แอตแลนทิคา".

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและไทรทัน (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

เบน โจนสัน

ภาพวาด เบนจามิน โจนสัน โดย Abraham Blyenberch ในปี 1617 เบนจามิน โจนสัน (Benjamin Jonson; 11 มิถุนายน ค.ศ. 1572 - 6 สิงหาคม ค.ศ. 1637) เป็นนักเขียนบทละคร กวี และนักแสดงชาวอังกฤษในยุคเรเนสซองส์ ร่วมสมัยเดียวกันกับ วิลเลียม เชกสเปียร์ มีชื่อเสียงจากบทละครเชิงล้อเลียน ที่โดดเด่นเช่นเรื่อง Volpone, The Alchemist และ Bartholomew Fair หมวดหมู่:นักเขียนชาวอังกฤษ หมวดหมู่:กวีชาวอังกฤษ หมวดหมู่:นักเขียนบทละครชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเบน โจนสัน · ดูเพิ่มเติม »

เบนอซโซ กอซโซลี

นนอซโซ กอซโซลิ (Benozzo Gozzoli ชื่อเมื่อแรกเกิด: Benozzo di Lese, ราว ค.ศ. 1421 - ค.ศ. 1497) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีจากฟลอเรนซ์ ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง งานของกอซโซลิที่สุดคือจิตรกรรมฝาผนังภายในวังเมดิชิ (Palazzo Medici) ซึ่งแสดงขบวนที่หรูหราที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและมีอิทธิพลจากศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเบนอซโซ กอซโซลี · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงไหม้ในเมือง (โรมาโน)

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล เพลิงไหม้ในเมือง (ภาษาอังกฤษ: The Fire in the Borgo) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่ร่างโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ผู้ที่น่าจะเป็นผู้เขียนภาพนี้คือจุยลิโอ โรมาโน ที่อาจจะเขียนราวปี ค.ศ. 1514 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1514 “เพลิงไหม้ในเมือง” เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพตั้งอยู่ภายใน“ห้องเพลิงไหม้ในเมือง” (Stanza dell'incendio del Borgo) ภาพ “เพลิงไหม้ในเมือง” วาดจาก “หนังสือพระสันตะปาปา” (Liber Pontificalis) ที่เป็นคำบรรยายของเพลิงไหม้ที่เกิดขึ้นในแขวงหนึ่ง (Borgo) ของกรุงโรมในปี ค.ศ. 847 ตามตำนานสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 ทรงทำให้ไฟสงบโดยการประทานพร ชายหนุ่มที่แบกชายแก่บนหลังทางมุมซ้ายของภาพสะท้อนหัวเรื่องของตำนานคลาสสิกของเอเนียส (Aeneas) แบกอันคิซิส (Anchises) หนีเพลิงไหม้ที่ทรอย ซึ่งมีความหมายเป็นนัยว่าโรมคือกรุงทรอยใหม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเพลิงไหม้ในเมือง (โรมาโน) · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา

อร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา (Perseus Freeing Andromeda) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรชาวเฟลมิชคนสำคัญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะแห่งเบอร์ลินในประเทศเยอรมนี รือเบินส์เขียนภาพ "เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา" เสร็จในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะไรเชอเนา

รเชอเนา (Reichenau) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบคอนสแตนซ์ในประเทศเยอรมนี ประมาณพิกัดภูมิศาสตร์ ตัวเกาะตั้งอยู่ระหว่างกนาเดินเซและอุนเทอร์เซเกือบทางตะวันตกของเมืองคอนสแตนซ์ เกาะติดต่อกับแผ่นดินใหญ่ด้วยทาง (causeway) ที่สร้างเสร็จในปี..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเกาะไรเชอเนา · ดูเพิ่มเติม »

เก็บภาษี (มาซาชิโอ)

ก็บภาษี (Tribute Money) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยมาซาชิโอจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนราวคริสต์ทศวรรษ 1420 ภายในชาเปลบรันคาชชิ, ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนในเมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี งานชิ้นนี้ถือกันว่าเป็นงานชิ้นที่ดีที่สุดชิ้หนึ่งของมาซาชิโอและเป็นงานชิ้นสำคัญของการวิวัฒนาการของศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีGardner, p. 599-600.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเก็บภาษี (มาซาชิโอ) · ดูเพิ่มเติม »

เกเลน

วาดเกเลนในศตวรรษที่ 18 โดยเกออร์ก เพาล์ บัสช์ เกเลน (Galen; Γαληνός, Galēnos; Claudius Galenus; ค.ศ. 129 - ประมาณ ค.ศ. 200 หรือ 216) แห่งเพอร์กามอน เป็นแพทย์ชาวกรีกซึ่งมีอิทธิพลต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์ของตะวันตกมาเป็นเวลานานกว่าพันปี ชื่อหน้า "Claudius" ซึ่งไม่ได้ระบุเอาไว้ในเอกสารภาษากรีก ปรากฏอยู่ในเอกสารในยุคฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเกเลน · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมสมัยกลาง

ัชกรรมสมัยกลาง เป็นยุคทางเภสัชกรรมในสมัยกลางของยุโรป ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกต่ออนารยชนเผ่าเยอรมันนั้น บริเวณประเทศอิตาลีได้แปรสภาพกลายเป็นสนามรบจากการุกรานของศัตรูและการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางผิวหนัง ประชากรล้มตายเป็นจำนวนมาก นับเป็นสถานการณ์อันไม่ส่งเสริมต่อการใฝ่หาความรู้ใหม่ของนักวิทยาศาสตร์หรือนักปราชญ์ทั่วไป ประชากรส่วนมากหันไปพึ่งบทบาททางศาสนาเป็นการทดแทน จนทำให้นักบวชของคริสต์ศาสนามีบทบาททางการรักษาโดยฝาแฝด Damian ซึ่งเป็นนักบวชชาวอาหรับได้รับบาดเจ็บจากการถูกทำร้ายในสงครามกลางเมืองสมัยจักรพรรดิไดโอคลีเชียนในราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 พวกเขาจึงหันไปอัปถัมภ์ผู้ป่วยด้วยความรู้ทางการแพทย์และเภสัชกรรมในหลายเมืองทั่วศาสนาจักร ในภายหลังได้มีนักบวชคนอื่นๆมาร่วมช่วยเหลืออีกด้วย อย่างไรก็ดีฝาแฝด Damian ก็ยังคงเป็นตัวแทนของเภสัชกรที่คุ้มครองผู้ป่วยยิ่งกว่าการบริการ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเภสัชกรรมสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เมดีชี

ตระกูลเมดีชี (Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

เลออน บัตติสตา อัลแบร์ตี

ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ (Leon Battista Alberti) (18 กุมภาพันธ์พ.ศ. 1947 – 25 เมษายน พ.ศ. 2015) เป็นผู้รู้รอบด้าน ผู้เป็นปราชญ์ สถาปนิก นักเขียน กวี นักภาษาศาสตร์ นักปรัชญา นักถอดรหัส ชาวอิตาลี ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งใน ผู้ที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาของศิลปวิทยาการในยุคเรอเนซอง.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเลออน บัตติสตา อัลแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)

"เลิฟสตอรี" (Love Story) เป็นเพลงของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ เพลงเขียนโดยสวิฟต์ และผลิตโดยนาธาน แชปแมน ร่วมกับสวิฟต์ เพลงออกจำหน่ายในวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์) · ดูเพิ่มเติม »

เลขอักษร

ลขอักษรบนอนุสรณ์ใกล้กับวัดที่โดลานีในสาธารณรัฐเช็กที่แสดงปี ค.ศ. 1629 เลขอักษร (Chronogram) คือประโยคหรือคำจารึกที่ตัวอักษรบางตัวเมื่อมารวมเข้าด้วยกันแล้วกลายเป็นเลขของปีใดปีหนึ่งโดยเฉพาะ คำว่า “Chronogram” แปลว่า “การเขียนเวลา” ที่มาจากภาษากรีกสองคำรวมกัน คำแรก “Chrono” แปลว่า “เวลา” และ “gramma” ที่แปลว่า “อักษร” การเขียน “เลขอักษรบริสุทธิ์” (pure chronogram) แต่ละคำจะมีอักษรตัวหนึ่งที่เป็นตัวเลข แต่การเขียน “เลขอักษรธรรมชาติ” (natural chronogram) จะแสดงตัวเลขของปีตามลำดับที่ถูกต้อง เช่น AMORE MATVRITAS.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเลขอักษร · ดูเพิ่มเติม »

เหล็กกล้า

นเหล็ก สายเคเบิลที่ทำจากเหล็กกล้า เหล็กกล้า (steel) คือ เหล็ก (สัญลักษณ์ทางเคมี: Fe) ที่ผ่านกรรมวิธีเพิ่มสารอื่นๆเข้าไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กให้ดีขึ้น เป็นโลหะผสมที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็กที่มีปริมาณคาร์บอนอยู่ระหว่าง 0.2 – 2.04% โดยน้ำหนักขึ้นกับคุณภาพ คาร์บอนเป็นวัสดุผสมที่ลดต้นทุนของเหล็กแต่ก็มีการใช้ธาตุอื่นๆ เช่น แมงกานีส โครเมียม วานาเดียม และทังสเตน คาร์บอนและธาตุอื่นๆเป็นตัวทำให้แข็ง การเปลี่ยนปริมาณธาตุที่ผสมในโลหะผสมที่พบในเหล็กกล้า มีส่วนในการควบคุมคุณภาพทั้งด้านความแข็ง การรีดเป็นแผ่นได้ และความตึงของเหล็กกล้าที่ได้ เหล็กกล้าที่มีคาร์บอนมากขึ้นจะแข็งแกร่งและมีความแข็งมากกว่าเหล็ก แต่จะเปราะ ค่าสูงสุดในการละลายของคาร์บอนในเหล็กเป็น 2.14% โดยน้ำหนัก เกิดขึ้นที่อุณหภูมิ 1149 องศาเซลเซียสในการอบใช้อุณหภูมิประมาณ950 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นที่สูงกว่านี้หรือหรืออุณหภูมิต่ำกว่านี้จะเกิดลักษณะเป็นซีเมนต์ โลหะผสมที่มีคาร์บอนมากจะเป็นเหล็กที่มีความแข็งมาก เพราะมีจุดหลอมเหลวต่ำ และมีความแข็ง เหล็กกล้าต่างจากเหล็กบริสุทธิ์ที่มีอะตอมของธาตุอื่นน้อยมาก แต่มีกากแร่ 1-3% โดยน้ำหนักในรูปของอนุภาคอยู่ในทิศทางหนึ่ง ซึ่งมีความทนทานกว่าเหล็กกล้า และโค้งงอง่ายกว่าแบ่งเป็น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเหล็กกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

Aberdeen Bestiary) (folio 4v) การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “หนังสือกำหนดเทศกาล” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400 เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร (Illuminated manuscript) หรือหนังสือตัวเขียนสีวิจิตร คือเอกสารตัวเขียนที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็นจุลจิตรกรรม ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทางศาสนาอิสลาม งานเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำในไอร์แลนด์, อิตาลี และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ โรมันและ กรีกที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามอาราม เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันมาจากยุคกลางแม้ว่าการสร้างเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะทำกันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื้อหาของงานส่วนใหญ่ในสมัยแรก ๆ จะเป็นงานศาสนา แต่ต่อมาโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เริ่มมีงานทางโลกเพิ่มขึ้น และเกือบทั้งหมดจะทำเป็นหนังสือแต่ก็มีบ้างที่เป็นม้วนหรือเป็นแผ่นเดียวเขียนบนหนัง (อาจจะเป็นหนังลูกวัว, แกะ, หรือแพะ) ที่มีคุณภาพดี หลังปลายยุคกลางวัสดุที่ใช้เขียนก็เปลี่ยนมาเป็นกระดาษ เมื่อวิวัฒนาการพิมพ์เพิ่งเริ่มใหม่ๆ ผู้พิมพ์ก็อาจจะทิ้งช่องว่างไว้สำหรับพยัญชนะตัวแรก, ขอบ หรือ ภายเขียนย่อส่วนแต่การพิมพ์ทำให้ ศิลปะการทำเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเสื่อมความนิยมลง แต่ก็ทำกันต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่น้อยลงมากและทำสำหรับผู้มีฐานะดีจริงๆ เท่านั้น นอกจากเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะเป็นตัวอย่างของสิ่งที่หลงเหลือมาจากยุคกลางแล้วก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมที่มาจากยุคกลางด้วย และบางครั้งก็เป็นจิตรกรรมอย่างเดียวที่เหลืออยู่จากยุคนั้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เอลเกรโก

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1604) โดยเอลเกรโก โดเมนิคอส เทโอโทโคพูลอส (Δομήνικος Θεοτοκόπουλος; Doménicos Theotokópoulos; ค.ศ. 1541 7 เมษายน ค.ศ. 1614) หรือที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ เอลเกรโก (El Greco; "ชาวกรีก") เป็นจิตรกร ประติมากร และสถาปนิกสมัยเรอเนซองซ์คนสำคัญของประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เอลเกรโกมักจะลงนามในภาพเขียนด้วยชื่อเต็มเป็นภาษากรีก เอลเกรโกเกิดที่เกาะครีตซึ่งในสมัยนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเวนิสและเป็นศูนย์กลางของศิลปะไบแซนไทน์ยุคปลาย เอลเกรโกได้รับการฝึกฝนลักษณะศิลปะไบแซนไทน์ก่อนที่เดินทางไปเวนิสเมื่ออายุ 26 ปึเช่นเดียวกับศิลปินชาวกรีกคนอื่น ๆJ.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเอลเกรโก · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์คิวลีส

อร์คิวลีสและสิงห์โตเนเมียน (รายละเอียด), บนถาดเงินจากคริสต์ศตวรรษที่ 6 เฮอร์คิวลีสและหลานชายหนุ่ม (eromenos) ไอโอลอส (Iolaus) งานโมเสกร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษจากอันซิโอ นิมฟเฟอุม, โรม บรอนซ์โรมันพบใกล้โรงละครปอมเปย์ในปี ค.ศ. 1864 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกัน “เฮอร์คิวลีสและไฮดราเลิร์นเนียน (Lernaean Hydra) ” โดย อันโตนิโอ พอลลาอูโล (Antonio Pollaiuolo) เฮอร์คิวลีส (Hercules) เป็นชื่อโรมันของเทพเจ้ากรีก ชื่อ เฮราคลีส (Heracles) เฮอร์คิวลีส เป็นลูกของเทพซุส และ อัลค์เมนา (มนุษย์) เฮอร์คิวลีส มีภรรยาสองคน: เทพีเมการา (Megara) และ เทพีไดอะไนรา (Deianeira).

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์เมทิคา

อร์เมทิคาเป็นวรรณคดีโบราณของอียิปต์ เชื่อกันว่าเขียนขึ้นโดยเทพเจ้าธอธซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ไฮโรกลิฟ ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้าองค์นี้เป็นองค์เดียวกับเทพเฮอร์มีสของตน จึงเรียกงานเขียนของเทพธอธว่าเฮอร์เมท.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเฮอร์เมทิคา · ดูเพิ่มเติม »

เจนตีเล เบลลีนี

็นทิเล เบลลินี (ภาษาอังกฤษ: Gentile Bellini) (ค.ศ. 1429 - ค.ศ. 1507) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน เจ็นทิเล เบลลินีเกิดราว..1429 ที่ เวนิส, ประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเจนตีเล เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

เข็มขัดพรหมจรรย์

็มขัดพรหมจรรย์ (chastity belt) เป็นชื่อเรียกเครื่องประแจโลหะสำหรับนุ่งห่ม ออกแบบขึ้นเพื่อขังบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ของผู้สวมไว้มิให้ถูกย่ำกราย มีความมุ่งประสงค์จะป้องกันผู้สวมมิให้ร่วมประเวณีหรือถูกชำเรา บางประเภทยังมีอุปกรณ์เสริมเพื่อกันมิให้ผู้สวมสำเร็จความใคร่ของตัวด้วย เข็มขัดนี้ใช้ได้กับทั้งชายและหญิง ตามเรื่องร่ำลือสมัยใหม่ ว่ากันว่า ในยุคสงครามครูเสด มีการใช้เข็มขัดพรหมจรรย์เพื่อป้องกันเหตุต่าง ๆ อันอาจเกิดขึ้นเพราะความใคร่ในกามคุณ เช่น เมื่ออัศวินไปราชการสงคราม ภริยาของเขาจะสวมเข็มขัดพรหมจรรย์เพื่อรักษาตนเองให้ซื่อตรงต่อสามี กล่าวคือ เพื่อป้องกันมิให้ตนเองได้ร่วมเพศกับผู้ใดอันจะเป็นการนอกใจสามี อย่างไรก็ดี ไม่ปรากฏพยานหลักฐานอันชวนเชื่อว่า เข็ดขัดพรหมจรรย์เกิดขึ้นก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 15 นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า มีการใช้เข็มขัดพรหมจรรย์กันเป็นที่ประจักษ์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มากกว่าจะเป็นสมัยมัชฌิมยุคที่เกิดสงครามครูเสดนั้น อนึ่ง กล่าวกันว่า ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เข็มขัดพรหมจรรย์ยังบุผ้านวมเป็นซับใน เพื่อป้องกันมิให้แผ่นเหล็กอันใหญ่โตนั้นถูกเนื้อต้องหนังผู้สวม แต่นวมเหล่านี้ต้องเปลี่ยนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยเหตุนี้ ในทางปฏิบัติแล้ว จึงไม่สมควรใช้เข็มขัดต่อเนื่องยาวนาน การใช้ต่อเนื่องยาวนานเช่นกล่าวนั้นก่อให้อวัยวะเพศถูกเสียดสีขัดถูจนกลายเป็นแผล ติดเชื้อ เกิดภาวะพิษเหตุติดเชื้อ และถึงตายได้.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเข็มขัดพรหมจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

เปียโร ดิ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ

ปียโร ดิ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ (Piero di Lorenzo de' Medici; Piero the Unfortunate) (1 มกราคม ค.ศ. 1472 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1503) เปียโรมีตำแหน่งเป็นแกรนด์มาสเตอร์ของเมืองฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1492 จนกระทั่งต้องลี้ภัยในปี ค.ศ. 1494 เปียโรเป็นบุตรคนโตของลอเรนโซ เดอ เมดิชิรัฐบุรุษคนสำคัญของฟลอเรนซ์ของยุคเรอเนซองส์กับภรรยาคนแรกคลาริเช ออร์สินิ เปียโรเป็นพี่ของสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 เปียโรได้รับการศึกษาและการฝึกให้เป็นประมุขของตระกูลเมดิชิและผู้ปกครองฟลอเรนซ์ต่อจากบิดาจากนักการศึกษาคนสำคัญเช่นอันเจโล โพลิซิอาโน แต่เปียโรขาดคุณลักษณะที่ไม่เหมาะกับการเป็นผู้นำ เปียโรรับหน้าที่เป็นผู้นำของฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 1492 หลังจากช่วงระยะเวลาอันสั้นที่สงบ ระบบที่สร้างไว้โดยลอเรนโซก็เริ่มเสื่อมโทรมลงเพียงภายในสองปีหลังจากที่เสียชีวิต เมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 ทรงตัดสินพระทัยข้ามภูเขาแอลป์พร้อมกับกองทัพเพื่อลงไปยึดเนเปิลส์ที่ทรงอ้างสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ เมื่อมาถึงฟลอเรนซ์เปียโรก็มิได้ต่อสู้และยอมตามข้อเรียกร้องทุกอย่างของชาร์ล.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเปียโร ดิ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ · ดูเพิ่มเติม »

เปตราก

วาดเปตรากในจินตนาการ ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1304 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1374) หรือที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า เปตราก เป็นกวีและนักวิชาการชาวอิตาลี หนึ่งในบรรดานักวิชาการในช่วงแรกๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นที่รู้จักยกย่องในฐานะ "บิดาแห่งมนุษยนิยม" จากงานของเปตรากและส่วนประกอบอื่นๆ Pietro Bembo ได้สร้างรูปแบบของภาษาอิตาลีในปัจจุบันขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 เปตรากได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดประดิษฐ์ซอนเน็ต งานกวีนิพนธ์ซอนเน็ตของเขาได้รับยกย่องและเป็นที่รู้จักทั่วไปในยุโรปตลอดยุคเรอเนซองส์ ซึ่งได้กลายเป็นแบบมาตรฐานสำหรับงานกวีนิพนธ์ในยุคต่อม.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเปตราก · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เน็กซ์ท็อปโมเดล (รายการโทรทัศน์ประเทศกรีซ)

น็กซ์ท็อปโมเดล (Next Top Model) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหาสุดยอดนางแบบของประเทศกรีซ โดยได้ซื้อลิขสิทธิ์มาจากรายการอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ออกอากาศผ่านทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ANT1 ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเน็กซ์ท็อปโมเดล (รายการโทรทัศน์ประเทศกรีซ) · ดูเพิ่มเติม »

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ. 1825 ถึง พ.ศ. 2349 ต่อมาได้ถูกผนวกอาณาจักรเข้ากับราชอาณาจักรซิซิลี และกลายเป็นเมืองหลวงของ Kingdom of Two Sicilies จนกระทั่งอาณาจักรต่าง ๆ บนคาบสมุทรถูกผนวกรวมเป็นประเทศอิตาลีเมื่อ พ.ศ. 2404 ซึ่งหลังสงคราม Neapolitan ฝ่ายเนเปิลส์ก็ได้สนับสนุนการรวมประเทศนี้อย่างเต็มที่ ภายในอาณาเขตการปกครองของเนเปิลส์มีประชากรประมาณ 1 ล้านคน แต่จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ระบุว่าเขตมหานครของเนเปิลส์มีประชากรมากเป็นอันดับสอง (รองจากมหานครมิลาน ซึ่ง Svimez Data ระบุว่ามีผู้อยู่อาศัย 4,434,136 คน ขณะที่สถาบัน Censis ระบุว่ามี 4,996,084 คน)) หรือสาม (ตามข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา มีผู้อยู่อาศัย 3.1 ล้านคน) ของอิตาลี นอกจากนี้ยังเป็นมหานครที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในอิตาลี เนเปิลส์ถูกจัดให้เป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งมากเป็นอันดับสี่ในอิตาลี รองจากมิลาน โรม และตูริน และถูกจัดให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยเป็นอันดับที่ 91 ของโลกโดยวัดจากกำลังซื้อของประชากร และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ที่ 43,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเหนือกว่าเศรษฐกิจของบูดาเปสต์และซูริก ท่าเรือเนเปิลส์เป็นท่าเรือที่มีความสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป (มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากท่าเรือฮ่องกง) เมื่อไม่นานมานี้เศรษฐกิจของเนเปิลส์ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และอัตราการว่างงานของประชากรในเมืองและบริเวณโดยรอบก็ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2542 กระนั้นก็ยังคงเต็มไปด้วยการทุจริตทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นแหล่งตลาดมืดที่เฟื่องฟู ในตัวเมืองเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทขนาดใหญ่สัญชาติอิตาลีหลายแห่ง เช่น MSC-Cruises และเป็นที่ตั้งของ Center Rai of Naples (สื่อ) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2501 ขณะที่ในเขตบัญโญลีเป็นที่ตั้งของสำนักงานขนาดใหญ่ขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ และยังมี SRM institution for economic research และบริษัทและศูนย์การศึกษา OPE ที่ตั้งอยู่ในตัวเมืองเช่นกัน เนเปิลส์เป็นสมาชิกเต็มของเครือข่าย Eurocities นอกจากนี้ ยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์กลางของ Acp/Ue และได้รับการยกย่องจาก Creative Cities Network ในสังกัดขององค์การยูเนสโกให้เป็นเมืองแห่งวรรณกรรม ในเขตโปซิลลีโปของเมืองเป็นที่ตั้งของ Vill Rosebery ซึ่งเป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการหนึ่งในสามแห่งของประธานาธิบดีอิตาลี ในศตวรรษที่ 20 เนเปิลส์ตกอยู่ภายใต้การปกครองของลัทธิฟาสซิสต์ และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองก็เป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดในอิตาลี ภายหลังสงครามสงบได้มีการบูรณะเมืองซึ่งได้ขยายตัวเมืองออกไปยังพื้นที่รอบนอก ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ได้มีการสร้างย่านธุรกิจ (เชนโตรดีเรซีโอนาเล) ที่มีอาคารระฟ้าและโครงสร้างพื้นฐานแบบ TGV ในโรม รวมถึงการขยายเส้นทางรถไฟใต้ดินที่จะครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งของภูมิภาค และเนเปิลส์จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม International Astronautical Congress ใน พ.ศ. 2555 และ Universal Forum of Cultures ใน พ.ศ. 2556 เนเปิลส์เป็นเมืองที่เริ่มมีการทำพิซซาขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในขณะนั้นจะใช้การทอดก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นการอบในภายหลัง นอกจากนี้วัฒนธรรม Neapolitan ยังมีอิทธิพลด้านดนตรีอย่างแพร่หลาย อย่างเช่นการประดิษฐ์ Romantic guitar และแมนโดลิน รวมทั้งอุปรากรและเพลงท้องถิ่น บุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ของเนเปิลส์คือนักบุญ Januarius ผู้ปกป้องคุ้มครองเมือง ส่วนตัวละครจากเรื่องแต่งที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์คือ พูลชิเนลลา และไซเรน สิ่งมีชีวิตจากมหากาพย์โอดิสซีของกรีก.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและ20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2985 เชกสเปียร์

ดาวเคราะห์น้อย 2985 เชกสเปียร์ เป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กที่อยู่ในแถบหลัก ค้นพบโดย เอ็ดเวิร์ด โบเวลล์ ในปี ค.ศ. 1983 ตั้งชื่อตามนามสกุลของ วิลเลียม เชกสเปียร์ นักเขียนบทละครและกวีในยุคเรอเนซองส์ของประเทศอังกฤษ หมวดหมู่:ดาวเคราะห์น้อย.

ใหม่!!: สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและ2985 เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Early RenaissanceRenaissanceThe Renaissanceยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นยุคเรอเนสซองส์ยุคเรอเนสซองซ์ยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้นยุคเรอเนซองส์ยุคเรอเนซองซ์ยุคเรเนสซองส์ศิลปะยุคเรอเนซองส์ศิลปะเรอเนสซองซ์ศิลปะเรอเนซองส์ฟื้นฟูศิลปวิทยาเรอนาซองเรอเนสซองซ์เรอเนซองส์เรเนซ็องส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »