โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แบช

ดัชนี แบช

แบช (bash: Bourne-again shell) เป็นเชลล์ยูนิกซ์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับโครงการกนู ชื่อเต็มของโปรแกรมล้อเลียนเชลล์อีกตัวคือ บอร์นเชลล์ (Bourne shell) แบชเขียนมาใช้แทนบอร์นเชลล์ซึ่งเขียนขึ้นสำหรับยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 โดย สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) เมื่อประมาณ..

8 ความสัมพันธ์: บอร์นเชลล์พอลิกล็อตการยกกำลังลินุกซ์ซีเชลล์เชลล์ยูนิกซ์เมทาโปรแกรมมิงเฮลโลเวิลด์

บอร์นเชลล์

อร์นเชลล์ (Bourne shell; อักษรย่อ: sh) เป็นโปรแกรมเชลล์มาตรฐานการในการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางบรรทัดคำสั่ง บนยูนิกซ์ เวอร์ชัน 7 โปรแกรมนี้แทนที่ Thomson shell ในยูนิกซ์รุ่นก่อนหน้านั้นซึ่งใช้ชื่อโปรแกรม sh เหมือนกัน ผู้ที่พัฒนาคือ สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) ที่ AT&T Bell Laboratories และออกเผยแพร่เมื่อ..

ใหม่!!: แบชและบอร์นเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

พอลิกล็อต

อลิกล็อต (polyglot) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือสคริปต์ที่เขียนขึ้นในรูปแบบที่ถูกต้องของภาษาโปรแกรมหลายภาษาด้วยรหัสต้นฉบับอันเดียวกัน ซึ่งโปรแกรมจะทำงานหรือให้ผลลัพธ์เหมือนกันจากการแปลด้วยคอมไพเลอร์หรืออินเทอร์พรีเตอร์ของภาษานั้นอย่างอิสระ โดยทั่วไปแล้วพอลิกล็อตเขียนขึ้นจากการผสานภาษาซี ซึ่งอนุญาตให้มีการจำกัดความ (define) วลีต่างๆ ได้ด้วยตัวประมวลผลก่อน (preprocessor) รวมกับภาษาสคริปต์อื่นๆ เช่น ภาษาลิสป์ ภาษาเพิร์ล หรือ sh เทคนิคที่ใช้เป็นปกติที่สุดสองอย่างสำหรับการสร้างโปรแกรมพอลิกล็อตคือ การใช้ประโยชน์จากอักขระแทนหมายเหตุ (comment) ที่แตกต่างกัน และการจำกัดความวลีด้วยการทำงานในภาษาอื่น และเทคนิคที่ใช้ได้ดีอีกอย่างหนึ่งคือ การพลิกแพลงไวยากรณ์ของภาษา จากตัวอย่างต่อไปนี้เป็นพอลิกล็อตที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานบน ภาษาซีแบบแอนซี (ANSI C) ภาษาพีเอชพี และ bash.

ใหม่!!: แบชและพอลิกล็อต · ดูเพิ่มเติม »

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ใหม่!!: แบชและการยกกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: แบชและลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเชลล์

ซีเชลล์ (Zsh หรือ Z Shell) เป็น เชลล์ยูนิกซ์ ที่สามารถใช้เป็นเชลล์ปฏิสัมพันธ์ และเป็นตัวแปลคำสั่งภาษาที่ทรงพลังสำหรับการเขียนเชลล์สคริปต์ ซีเชลล์เป็นส่วนขยายของบอร์นเชลล์ที่ได้รับการปรับปรุงเป็นอย่างมาก รวมถึงการเพิ่มฟังก์ชั่นบางประการของแบช เคเชล และทีซีเชล.

ใหม่!!: แบชและซีเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เชลล์ยูนิกซ์

ลล์ยูนิกซ์ (Unix shell) เป็นโปรแกรมเชลล์สำหรับรับคำสั่งคอมมานด์ไลน์บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ หรือระบบปฏิบัติการอื่นที่เหมือนยูนิกซ์ เช่น ลินุกซ์ เทียบได้กับโปรแกรม command.com หรือ cmd.exe บนไมโครซอฟท์วินโดวส์ บนยูนิกซ์ ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเลือกเชลล์ที่ต้องการใช้ได้ ซึ่งเชลล์แต่ละตัวจะมีรูปแบบคำสั่ง และ ขีดความสามารถแตกต่างกันออกไป เชลล์จะถูกเรียกใช้ได้หลายทางด้วยกันคือ.

ใหม่!!: แบชและเชลล์ยูนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมทาโปรแกรมมิง

มทาโปรแกรมมิง (metaprogramming) คือเทคนิคการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำงานโดยเขียนหรือจัดการโปรแกรมอื่น (หรือโปรแกรมของตัวเอง) เสมือนข้อมูลของโปรแกรม หรือสร้างงานบางส่วนขณะแปลโปรแกรมแล้วเติมเต็มงานที่เหลือขณะโปรแกรมทำงาน ในหลายกรณี เมทาโปรแกรมมิงช่วยให้โปรแกรมเมอร์สามารถประหยัดเวลาในการเขียนรหัสต้นฉบับที่เหมือนๆ กันจำนวนมากแทนที่จะเขียนทั้งหมดเองด้วยมือ อาจเรียกได้ว่าเป็นการทำงานแบบ "โปรแกรมที่เขียนโปรแกรม" ภาษาที่ใช้เขียน เมทาโปรแกรม (metaprogram) จะถูกเรียกว่าอภิภาษา (metalanguage) และภาษาที่ถูกโปรแกรมจัดการจะเรียกว่าภาษาจุดหมาย (object language) ความสามารถของภาษาที่เป็นอภิภาษาภายในภาษาเดียวกันได้ เรียกว่าสมบัติสะท้อนของภาษาโปรแกรม (reflection/reflexivity) ซึ่งสมบัติสะท้อนเป็นคุณลักษณะหนึ่งของภาษาที่จะนำไปสู่เมทาโปรแกรมมิงได้สะดวกยิ่งขึ้น เมทาโปรแกรมมิงมักจะมีแนวทางการเขียนหนึ่งในสองทาง ทางแรกคือการเปิดเผยโครงสร้างภายในของเอนจินขณะทำงานไปเป็นรหัสต้นฉบับผ่านทางเอพีไอ ทางที่สองคือการจัดการนิพจน์สตริงที่รวมคำสั่งไปเป็นรหัสต้นฉบับแบบพลวัต.

ใหม่!!: แบชและเมทาโปรแกรมมิง · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโลเวิลด์

ปรแกรมเฮลโลเวิลด์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า "Hello world" หรือ "Hello, world!"(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบน command-line interpreter (เชลล์) เพื่อทำการแสดงผลออกมา อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ก็มีความซับซ้อนอย่างน่าประหลาดใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเขียนโปรแกรมสำหรับส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เมื่อเขียนโปรแกรมในembedded system ช้อความจะถูกส่งมายังจอภาพผลึกเหลว ซึ่งตัวอุปกรณ์นั้นไม่ได้แสดงผลตัวอักษร แต่ตัวโปรแกรมง่ายๆ นี้ จะทำการสร้างสัญญาณ เช่นเดียวกับการเปิดLED บ้างที่เราอาจกล่าวได้ว่า "Hello world" เปรียบเสมือนการต้อนรับเราเข้าสู่โปรแกรมก็ได้ โปรแกรมเฮลโลเวิลด์โปรแกรมแรกเกิดขึ้น จากหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาซี แต่งโดยไบรอัน เคอร์นิงแฮน และ เดนนิส ริตชี ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) โดยตัวอย่างโปรแกรมมาจาก กระดาษจดข้อมูลของไบรอันขณะที่ทำงานที่ เบลล์แล็บ (Bell Laboratories) ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ตัวอย่างในหนังสือ พิมพ์ข้อความว่า "hello, world" (โดย ไม่มีตัวพิมพ์ใหญ่ และเครื่องหมายตกใจ ซึ่งได้เพิ่มมาในภายหลัง) โดยแสดงข้อความ: การเขียนคำนี้ มีการใช้งานโดยเขียนหลายแบบคือ ตัวอักษร H ใหญ่ และ h เล็ก ขณะเดียวกับ W ใหญ่ และ w เล็ก รวมถึงการเขียนเครื่องหมาย และแบบไม่มีเครื่องหมาย การเขียนชุดคำสั่งนี้ในขณะที่บางโปรแกรมสามารถใช้คำสั่งได้อย่างเรียบง่าย ในขณะที่บางโปรแกรมต้องใช้คำสั่งซับซ้อนในการแสดงผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ใช้GUI โปรแกรมเฮลโลเวิลด์มีประโยชน์ในการทดสอบว่าคอมไพเลอร์และส่วนต่างๆหลักของโปรแกรมทำงานได้ การรวบรวมคำสั่ง "hello world" ในภาษาโปรแกรมต่างๆ ถูกใช้ในการช่วยเรียน และการเปรียบเทียบการใช้งานของภาษาต่าง.

ใหม่!!: แบชและเฮลโลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

BashBash Shell

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »