โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แขวงจำปาศักดิ์

ดัชนี แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

69 ความสัมพันธ์: บ้านหินลาดบ้านห้วยแซพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชพระอาจารย์ดี ฉนฺโนพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ภาษายรุภาษาละเว็นมิสยูนิเวิร์สลาวมณฑลเทศาภิบาลรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาวรายชื่อเมืองในประเทศลาวรายชื่อเขตการปกครองวัดวิชุลวัดดอนธาตุสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)สามเหลี่ยมมรกตสุขพร วงศ์เชียงคำสถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)อำเภอบุณฑริกอำเภอชนบทอำเภอพิบูลมังสาหารอำเภอสิรินธรอำเภอธาราบริวัตรอำเภอนาจะหลวยอำเภอน้ำยืนอำเภอโขงเจียมอินโดจีนของฝรั่งเศสองค์การบริหารส่วนตำบลแตลผาส้วมจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดปัจจันตคิรีเขตรจังหวัดนครจัมปาศักดิ์จำปาศักดิ์จำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม)ธันวา สุริยจักรถนนสถิตนิมานการทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอนทำเนียบหัวเมืองคำไต สีพันดอนประเทศลาวปราสาทอุ้มเมืองปลาหลดจุดปากช่อง...ปากเซนครโฮจิมินห์น้ำตกคอนพะเพ็งแขวงบอลิคำไซแขวงสุวรรณเขตแขวงอัตตะปือแขวงของประเทศลาวแขวงคำม่วนแขวงเซกองแปลก พิบูลสงครามโพนทองเมืองชนะสมบูรณ์เมืองของประเทศลาวเมืองปากช่อง (ประเทศลาว)เมืองปากเซเมืองโขงเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เขตการปกครองของประเทศลาวISO 3166-2:LA ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »

บ้านหินลาด

้านหินลาด เป็นหมู่บ้านชาวประมง อยู๋ในเมืองมูนละปะโมก แขวงจำปาศักดิ์ ภาคใต้ของประเทศลาว ใกล้ชายแดนประเทศกัมพู.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และบ้านหินลาด · ดูเพิ่มเติม »

บ้านห้วยแซ

ห้วยแซ เป็นบ้านในเมืองปากเซ แขวงจำปาศักดิ์ ทางตอนใต้ของประเทศลาว ห้วยแซตั้งอยู่ทางตะวันออกของถนนในปากเซตะวันออกของบ้านห้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และบ้านห้วยแซ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช

'''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุของพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (ท้าวฝ่ายหน้า หรือ เจ้าหน้า) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ลำดับที่ 3 ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เรียกกันทั่วไปในเอกสารต่างๆ ว่า "พระวิไชยราชขัติยวงศา") เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ ลำดับที่ 3 (พ.ศ. 2335 - 2354).

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจารย์ดี ฉนฺโน

ระอาจารย์ดี ฉนฺโน หรือ หลวงปู่ดี ฉนฺโน เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ลูกศิษย์องค์สำคัญของ พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และ พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ท่านเป็นผู้มีอุปนิสัยใจคอหนักแน่น เด็ดเดียว เก่งในด้านวิปัสสนากรรมฐาน ชำนาญด้านกสิณและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เป็นนักเทศนาโวหาร เป็นผู้มีวิชาคาถาอาคมเก่งกล้า เป็นนักอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังชำนาญในด้านช่างไม้ ช่างก่อสร้าง ช่างปั้นดินเผา งานแกะสลัก และงานเขียนภาพ อีกทั้งยังมีความรู้ด้านยาสมุนไพร ถือได้ว่าท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการช่างและแพทย์แผนโบราณอีกด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระอาจารย์ดี ฉนฺโน · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม จันทร์ ฉายา สิริจนฺโท เป็นพระภิกษุฝ่ายเถรวาท คณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี อดีตเจ้าคณะใหญ่เมืองนครจำปาศักดิ์ เจ้าคณะมณฑลอีสาน มณฑลจันทบุรี มณฑลราชบุรี และมณฑลกรุงเทพ อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ และวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ท่านเป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษาสมัยใหม่ ทั้งในฝ่ายสงฆ์และฝ่ายฆราวาสในภาคอีสาน ท่านเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนอุบลวิทยาคมที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร จังหวัดอุบลราชธานี และเป็นผู้สอนธรรมะให้แก่พระเถระองค์สำคัญในธรรมยุติกนิกายหลายรูปรวมถึงพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ใหญ่แห่งพระกรรมฐานสายวัดป่าด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)

ระครูวิเวกพุทธกิจ หรือ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2402 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ท่านเป็นอาจารย์ของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นผู้มีอัธยาศัยน้อมไปในทางสมถะวิปัสสนา มีความเพียรเป็นเลิศ มีความสงบเสงี่ยม กิริยามารยาทเรียบร้อย สุขุม พูดน้อย และพอใจแนะนำสั่งสอนผู้อื่นในทางนั้นด้วย เป็นผู้ใฝ่ใจในธุดงควัตรหนักแน่นในพระธรรมวินัย ชอบวิเวกและไม่ติดถิ่นที่อยู่ เดินธุดงค์ไปหาสถานที่เจริญสมณธรรมตามชายป่าดงพงไพรภูเขาต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายรุ

ษายรุ อยู่ในภาษากลุ่มบะห์นาริก มีผู้พูดในแขวงเซกองและแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว มีคำยืมจากภาษาลาวมาก ระบบน้ำเสียงไม่เด่นชัดว่ามีนัยสำคัญทางภาษาศาสตร์หรือไม่ มีเสียงพยัญชนะต้น 30 เสียง เสียงตัวสะกด 17 เสียง เสียงสระ 24 เสียง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และภาษายรุ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละเว็น

ษาละเว็น (Laven) หรือภาษาโลเว็น ภาษาโบโลเว็น ภาษาบอริเว็น ภาษายะรู มีผู้พูด 40,519 คน (พ.ศ. 2538) บริเวณที่ราบสูงบอละเวน แขวงจำปาศักดิ์และแขวงอัตตะปือ ลาวตะวันออกเฉียงใต้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และภาษาละเว็น · ดูเพิ่มเติม »

มิสยูนิเวิร์สลาว

มิสยูนิเวิร์สลาว (ມີສຢູນີເວີຣສລາວ; Miss Universe Laos) เป็นการประกวดนางงามระดับประเทศของประเทศลาว จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2017 ปัจจุบันดำเนินการจัดประกวดโดยบริษัท มิสลาว จำกัด (Miss Lao Co., Ltd.) ซึ่งผู้ชนะการประกวดจะต้องเป็นตัวแทนของประเทศเข้าร่วมการประกวดนางงามจักรวาล.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และมิสยูนิเวิร์สลาว · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองในประเทศลาว

แผนที่ของประเทศลาว นี่คือรายการของเมืองในประเทศลาวซึ่งเป็นประเทศในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และรายชื่อเมืองในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดวิชุล

ระธาตุหมากโม วัดวิชุล พระประธานในพระอุโบสถวัดวิชุล วัดวิชุนหรือวัดวิซุน เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองหลวงพระบาง สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2058 ในรัชสมัยพระเจ้าวิชุลราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง พอมาถึงปี พ.ศ. 2343 พวกโจรธงดำภายใต้การบังคับบัญชาของพวกฮ่อ ได้เข้ามาโจมตี จนวัดถูกทำลายไปส่วนหนึ่ง จนมาถึง..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และวัดวิชุล · ดูเพิ่มเติม »

วัดดอนธาตุ

วันดอนธาตุ หรือ วัดเกาะแก้วพระนอนคอนสวรรค์วิเวกพุทธกิจศาสนา เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2481 โดย พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และ พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 143 วันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และวัดดอนธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช สังฆมนตรี รองประธานสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เป็นต้น.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมมรกต

มเหลี่ยมมรกต หรือ ช่องบก (Emerald Triangle) เป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างชายแดนไทย ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ประมาณ 12 ตารางกิโลเมตร สำหรับพื้นที่ส่วนที่อยู่ในประเทศไทยคือ พื้นที่ในอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ในเขตประเทศลาวคือเมืองมูลประโมกข์ แขวงจำปาศักดิ์ ส่วนพื้นที่ในประเทศกัมพูชาคือเมืองจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร สามเหลี่ยมมรกตตั้งชื่อเลียนแบบสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นพื้นที่รอยต่อของไทย ลาว และพม่า ในภาคเหนือ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสามเหลี่ยมมรกต · ดูเพิ่มเติม »

สุขพร วงศ์เชียงคำ

ร วงศ์เชียงคำ เกิดวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 1992 ที่ประเทศลาว เป็นนักฟุตบอลร่างเล็ก ผู้ซึ่งเล่นในตำแหน่งกองกลาง และเขาย้ายไปเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลจังหวัดพิษณุโลก ในไทยลีกดิวิชั่น 1 ก่อน สโมสร กัลฟ์ สระบุรี ได้มีการทาบทามไปเล่น หลังจากนั้นลีกบ้านเกิดสนใจ ติดต่อและบันลุข้อตกลงเลยกลับมาเล่นให้ลีกบ้านเกิดตัวเอง ล้านช้าง ยูไนเต็ด และเขาเป็นสมาชิกคนหนึ่งของฟุตบอลทีมชาติลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสุขพร วงศ์เชียงคำ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว

นีโทรทัศน์แห่งชาติลาว (ສະຖານີໂທລະພາບແຫ່ງຊາດລາວ, ชื่อย่อ: ທຊລ) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติในการกำกับของรัฐบาลลาว นับเป็นสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศภาคพื้นดินเพียงแห่งเดียวในประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบุณฑริก

ณฑริก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี ประชากรส่วนมากทำอาชีพเกษตรกรรม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอบุณฑริก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชนบท

นบท เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น "เมืองเก่าที่ถูกลืม" ก่อตั้งราว..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอชนบท · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิบูลมังสาหาร

ูลมังสาหาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร เดินทางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอพิบูลมังสาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิรินธร

รินธร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นส่วนตะวันออกสุดของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอสิรินธร พ.ศ. 2534 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2535 อำเภอสิรินธรยังเป็นที่ตั้งของเขื่อนสิรินธรและจุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก ช่องการค้าชายแดนไทย-ลาวด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธาราบริวัตร

อำเภอธาราบริวัตร (ស្រុកថាឡាបរិវ៉ាត់; รูปปริวรรตอักษรไทย: สฺรุกถาฬาบริวาต่, Thala Barivat District) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสตึงแตรง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา ตามผลการสำรวจสำมะโนครัวประชากรในกัมพูชาเมื่อปี พ.ศ. 2542 ปรากฏว่าอำเภอนี้มีประชากร 21,577 คน ชื่อ "ธาราบริวัตร" เป็นชื่อภาษาไทยที่ตั้งด้วยคำในภาษาสันสกฤต แปลว่า แม่น้ำที่ไหลวน มีที่มาจากที่ตั้งของตัวอำเภอธาราบริวัตร ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำโขงไหลวนเป็นวังน้ำวน ชื่ออำเภอธาราบริวัตรที่ประเทศกัมพูชาใช้ในปัจจุบันนี้ เป็นการเขียนตามเสียงภาษาไทยด้วยอักขรวิธีภาษาเขมร "ថាឡាបរិវ៉ាត់" (รูปปริวรรตอักษรไทย: ถาฬาบริวาต่; คำอ่าน: ทา-ลา-บอ-ริ-วัด) ทำให้บางแห่งมีการเขียนทับศัพท์ด้วยอักษรไทยว่า "ถาลาปริวัต" หรือ "ถาลาบริวัต" เช่น ในวงวิชาการด้านศิลปะของไทย เรียกชื่อศิลปะเขมรที่มีอายุอยู่ในช่วงประมาณ..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอธาราบริวัตร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาจะหลวย

นาจะหลวย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอนาจะหลวย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอน้ำยืน

น้ำยืน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอน้ำยืน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโขงเจียม

งเจียม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศไทย โดยมีชื่อเดิมว่า อำเภอบ้านด่าน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอโขงเจียม · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลแตล

องค์การบริหารส่วนตำบลแตล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่งตั้งอยู่ในเขตอำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และองค์การบริหารส่วนตำบลแตล · ดูเพิ่มเติม »

ผาส้วม

ผาส้วม เป็นอุทยานแหล่งท่องเที่ยว อยู่ในเมืองปากเซ แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ห่างจากปากเซไปทางเหนือประมาณ 30 กิโลเมตร มีน้ำตกผาส้วมที่ได้ชื่อว่าไนแอการาแห่งเอเซี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และผาส้วม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัจจันตคิรีเขตร

ังหวัดปัจจันตคิรีเขตร หรือบางเอกสารจะเรียกว่า ปัตจันตคีรีเขตร์ บ้าง ประจันต์คิรีเขตต์บ้าง เป็นเมืองเดิมของราชอาณาจักรขอม (เขมร) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นเมืองหน้าด่านทางชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีความสำคัญเทียบเท่าจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด ในอดีต มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะกง เขตจังหวัดเกาะกงในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ดินแดนจังหวัดนี้ตกเป็นของฝรั่งเศสพร้อมกับหัวเมืองฝั่งขวาแม่น้ำโขง คือ แขวงไชยบุรีและแขวงจำปาศักดิ์ เมื่อ..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดปัจจันตคิรีเขตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครจัมปาศักดิ์

ังหวัดนครจัมปาศักดิ์ เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่การปกครองเมืองจำปาศักดิ์ ซึ่งเดิมขึ้นอยู่กับมณฑลอุบลราชธานีในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2447 ขึ้นเป็นจังหวัด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนดังกล่าวให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งปกครองประเทศลาวในขณะนั้น ภายหลังเมื่อประเทศลาวได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสแล้ว พื้นที่ดังกล่าวจึงได้ยกขึ้นเป็นแขวงจำปาศักดิ์ของลาวในปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของจังหวัดนี้ยังกินอาณาบริเวณพื้นที่ส่วนหนึ่งของจังหวัดสตึงแตรง และพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพระวิหาร ในประเทศกัมพูชาในปัจจุบันนี้ด้วย กรมศิลปากรได้กำหนดให้จังหวัดจัมปาศักดิ์ใช้ตราประจำจังหวัดเป็นรูปปราสาทวัดภู อันเป็นโบราณสถานสำคัญของเมืองจำปาศักดิ์ อย่างไรก็ตาม ในหนังสือตราประจำจังหวัดของกรมศิลปากร พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2542 ไม่ได้ลงพิมพ์รูปตราดังกล่าวไว้ด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม)

ำปาศักดิ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ธันวา สุริยจักร

ันวา สุริยจักร (เกิด 30 ธันวาคม พ.ศ. 2534) ชื่อเล่น ธัน หรือ ทัน นักแสดงสังกัดช่อง 7 เป็นนักแสดงในสังกัดที่มีสัญชาติลาวที่มีเชื้อสายไทย-เวียดนาม-จีน และฝรั่งเศส มีบทบาทจากภาพยนตร์เรื่อง ฮักนะ'สารคาม และเลิฟซัมเมอร์ รักตะลอน ออนเดอะบี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และธันวา สุริยจักร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสถิตนิมานการ

นนสถิตนิมานการ หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217 สายวารินชำราบ–ช่องเม็ก เริ่มจากเขตเทศบาลเมืองวารินชำราบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จากนั้นผ่านอำเภอสว่างวีระวงศ์ อำเภอพิบูลมังสาหาร สุดท้ายผ่านอำเภอสิรินธร แล้วไปสิ้นสุดที่ด่านช่องเม็ก ตำบลช่องเม็ก อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทางได้ 86.067 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย ถนนสถิตนิมานการเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายวาริน-พิบูล-ช่องเม็ก" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และถนนสถิตนิมานการ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอน

| ทางรถไฟสายดอนเดด-ดอนคอน (Don Det–Don Khon Railway) เป็นทางรถไฟรางแคบระยะสั้น และเป็นทางรถไฟขนถ่ายสินค้าข้ามฝั่งน้ำ (Portage railway) เพื่อเชื่อมการเดินทางข้ามแม่น้ำโขงจากเกาะดอนเดด (ດອນເດດ) กับเกาะดอนคอน (ດອນຄອນ) ซึ่งสองเกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของสี่พันดอน (ສີ່ພັນດອນ) หรือศรีทันดร ที่มีความหมายว่าสี่พันเกาะ ตั้งทางตอนใต้ของประเทศลาว ซึ่งปัจจุบันเกาะดอนเดดและดอนคอนนั้นขึ้นกับเมืองโขง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และทางรถไฟสายดอนเดด–ดอนคอน · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

คำไต สีพันดอน

ำไต สีพันดอน (ຄຳໄຕ ສີພັນດອນ; เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467 ที่แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว) เป็นประธานประเทศลาว ปัจจุบัน สมรสแล้ว มีบุตร 5 คน (ลูกชาย 2 คน ลูกสาว 3 คน).

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และคำไต สีพันดอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทอุ้มเมือง

ปราสาทอุ้มเมือง หรือ ปราสาทโต๊ะโมะ หรือ วัดอุโมงค์ เป็นปราสาทขอมที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาวในปัจจุบัน ปราสาทนี้อยู่ทางเหนือของบ้านนาคำน้อยทางเหนือ อยู่ใกล้กับวัดพู แต่ต้องข้ามแม่น้ำและเดินเข้าไปในป่าเล็กน้อยก็ถึง แต่ปัจจุบันตัวปราสาททรุดโทรมมาก.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปราสาทอุ้มเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหลดจุด

ปลาหลดจุด (Spotfinned spiny eel) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macrognathus siamensis ในวงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย จะงอยปากยื่นแหลมยาว ครีบหางเล็กปลายมนแยกจากครีบหลังและครีบก้นที่ยาว ครีบอกเล็กกลม ตัวมีสีเทาอ่อน ด้านบนมีสีคล้ำ ด้านท้องสีจาง ครีบหลังคล้ำมีจุดเล็กสีจางประและมีดวงสีดำขอบขาวแบบดวงตา 4–5 ดวงเรียงตามยาว โคนครีบหางมีอีก 1 ดวง มีความยาวประมาณ 12–15 เซนติเมตร ใหญ่สุดพบ 25 เซนติเมตร ปลาหลดจุดอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำนิ่งทั่วไป และแม่น้ำลำคลองของทุกภาค รวมถึงพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในภาคอีสาน บริโภคโดยปรุงสด ทำปลาแห้ง และรมควัน นอกจากนี้ยังจับขายเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปลาหลดจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปากช่อง

ปากช่อง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปากช่อง · ดูเพิ่มเติม »

ปากเซ

นข้ามแม่น้ำโขงในปากเซ ปากเซ (ປາກເຊ) เป็นเมืองเอกของแขวงจำปาศักดิ์ อยู่ริมแม่น้ำโขง เป็นเมืองใหม่พึ่งตั้งได้ไม่นาน เมืองนี้ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเซโดน ที่บรรจบกับแม่น้ำโขงที่นี่ ปากเซเป็นเมืองที่มีสำคัญทางด้านเศรษฐกิจกับแขวงจำปาศักดิ์ และนับว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของลาวตอนใต้ มีประชาชนหลากหลายชนชาติเข้ามาดำรงชีวิตที่เมืองนี้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปากเซ · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกคอนพะเพ็ง

น้ำตกคอนพะเพ็ง (ນ້ຳຕົກຕາດຄອນພະເພັງ) เป็นน้ำตกขนาดใหญ่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในภูมิภาคอินโดจีน น้ำตกคอนพะเพ็งเป็นน้ำตกที่มีหลายชั้น ตั้งอยู่บนแก่งหินขนาดใหญ่ขวางกั้นเส้นทางการไหลของแม่น้ำโขงทั้งสาย มีลักษณะต่างระดับกันสูงประมาณ 10 เมตร จัดเป็นน้ำตกที่ได้รับน้ำจากแม่น้ำโขงตอนล่าง น้ำตกคอนพะเพ็งมีความสูง 21 เมตร (69 ฟุต) กระแสน้ำไหลเชี่ยว 9.7 กิโลเมตร (6.0 ไมล์) ปริมาณน้ำตกลงมาด้วยความเร็วประมาณ 11,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (390,000 ลูกบาศก์ฟุต/วินาที) แม้ว่าปริมาณสูงสุดในบันทึกได้ถึงกว่า 49,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (1,700,000 ลูกบาศก์ฟุต/วินาที) น้ำตกคอนพะเพ็งได้รับฉายาว่า "ไนแอการาแห่งเอเชีย" ตั้งอยู่ในแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ห่างจากเมืองปากเซประมาณ 150 กิโลเมตร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อและสวยงามมากแห่งหนึ่งของประเทศลาว โดยคำว่า "คอน" หมายถึง "แก่ง" หรือ "เกาะ" "พะเพ็ง" หมายถึง "พระจันทร์วันเพ็ญ" นอกจากนี้แล้ว น้ำตกคอนพะเพ็งยังเป็นสถานที่อาศัยของสัตว์น้ำหายากหลายชนิด เช่น ปลาค้อคอนพะเพ็ง ที่เป็นปลาค้อเฉพาะถิ่นที่พบได้ในแถบนี้เท่านั้น และเป็นแหล่งอาศัยของโลมาหัวบาตร หรือ "ปลาข่า" (ປາຂ່າ) ในภาษาลาว โลมาเพียงไม่กี่ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดได้ของโลก รวมถึงเป็นแหล่งกำเนิดของปลาบึก ซึ่งเป็นปลาหนังน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย เป็นต้น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกคอนพะเพ็ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และน้ำตกคอนพะเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบอลิคำไซ

อลิคำไซ (ບໍລິຄໍາໄຊ) เป็นหนึ่งในแขวงที่ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศลาว แขวงบอลิคำไซจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยได้มีการแยกเมืองปากซัน เมืองท่าพระบาท เมืองบริคัณฑ์ (มาจากชื่อเต็มในอดีต "เมืองบริคัณฑนิคม") จากแขวงเวียงจันทน์ และแยกเมืองปากกระดิ่ง เมืองคำเกิด จากแขวงคำม่วน มารวมกันแล้วตั้งเป็นแขวงใหม่ เนื่องจากพื้นที่แขวงเวียงจันทน์และแขวงคำม่วนกว้างใหญ่ การปกครองดูแลไม่ทั่วถึง ชื่อของแขวงมาจากชื่อเมืองบริคัณฑ์และเมืองคำเกิดมาสมาสกับคำว่าชัยชนะหรือไซซะนะในภาษาลาว จึงเรียกว่า "บอลิคำไซ" ส่วนเมืองเวียงทองได้จัดตั้งขึ้นในภายหลัง แขวงนี้มีชื่อเสียงมากเกี่ยวกับหินปูน ทั้งทัศนียภาพและเหมืองซึ่งใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงบอลิคำไซ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสุวรรณเขต

หวันนะเขต เชื่อมโยงมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่นของสุวรรณเขต ดูที่ สุวรรณเขต (แก้ความกำกวม) สุวรรณเขต หรือ สะหวันนะเขต (ສະຫວັນນະເຂດ สะกด สะหวันนะเขด) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงคำม่วน ทิศใต้ติดกับแขวงสาละวัน เป็นแขวงที่มีเนื้อที่ใหญ่อันดับที่ 2 รองจากแขวงเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงสุวรรณเขต · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอัตตะปือ

อัตตะปือ (ອັດຕະປື, อัดตะปือ) เป็นแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับแขวงเซกองทางทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงจำปาศักดิ์ทางทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาอันนัมทางทิศตะวันออก (เป็นเส้นแบ่งเขตแขวงอัตตะปือกับประเทศเวียดนาม) และติดต่อกับประเทศกัมพูชาทางทิศใต้ อนึ่งคำว่า อัตตะปือ แปลว่า "ขี้ควาย" ในภาษาของชนเผ่าละแว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงอัตตะปือ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงของประเทศลาว

ประเทศลาวแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 17 แขวง (ແຂວງ) และ 1 เขตนครหลวง (ນະຄອນຫຼວງ) เขตพิเศษไชยสมบูรณ์จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 และถูกยกเลิกเมื่อ 13 มกราคม พ.ศ. 2549 ส่วนเขตปกครองล่าสุดที่ได้จัดตั้งขึ้นคือ "แขวงไชยสมบูรณ์" จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคำม่วน

ำม่วน (ຄໍາມ່ວນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงบอลิคำไซ ทิศใต้ติดกับแขวงสุวรรณเขต เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงคำม่วน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเซกอง

ซกอง (ເຊກອງ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม ประชากรส่วนใหญ่ของแขวงเป็นชนเผ่าลาวเทิง พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร มีเผ่าย่อยออกไปหลายเผ่า มีชาวลาวลุ่มอาศัยอยู่ค่อนข้างน้อย เพียงร้อยละ 3 เท่านั้น แขวงเซกองแยกออกมาจากแขวงสาละวันเมื่อปี พ.ศ. 2526 ชื่อของแขวงตั้งตามชื่อแม่น้ำกอง (เซกอง) ที่ไหลผ่านพื้นที.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงเซกอง · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โพนทอง

มืองโพนทอง (ເມືອງໂພນທອງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแขวงจำปาศักดิ์ ทิศตะวันออกติดกับเมืองปากเซ ทิศใต้ติดกับเมืองจำปาศักดิ์ ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับประเทศไทย เป็นเมืองที่เป็นทางผ่านของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะไทย-ลาว และเป็นแหล่งปลูกข้าว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และโพนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองชนะสมบูรณ์

นะสมบูรณ์ เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงจำปาศักดิ์ทางตอนใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองชนะสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองของประเทศลาว

ในประเทศลาว เมือง (ເມືອງ) เป็นเขตการปกครองระดับที่ 2 รองจากแขวง ซึ่งตรงกับอำเภอของประเทศไทย เมืองแต่ละเมืองแบ่งออกเป็นบ้าน (ບ້ານ) ซึ่งตรงกับหมู่บ้านในประเทศไท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

เมืองปากช่อง (ประเทศลาว)

มืองปากช่อง (ປາກຊ່ອງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของแขวงจำปาศักดิ์ ห่างจากเทศบาลแขวง 50 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 355,235 เฮกตาร์ อยู่ที่เส้นละติจูด 150 10’ 48” N ถึง 150 28’ 39” N และเส้นลองจิจูด 1060 13’ 42” E ถึง 1060 23’ 22” E มีชายแดนติดต่อกับแขวงและเมืองต่างๆดังนี้ ทิศเหนือติดกับเมืองเลางาม แขวงสาละวัน และเมืองท่าแตง แขวงเซกอง ทิศใต้ติดกับเมืองสนามไชย และเมืองสามัคคีไชย แขวงอัตตะปือ ทิศตะวันออกติดกับเมืองละมาม แขวงเซกอง และเมืองไชยเสษฐา แขวงอัตตะปือ ทิศตะวันตกติดกับเมืองบาเจียงเจริญสุขและเมืองปทุมพร แขวงจำปาศักดิ์ พื้นที่ของเมืองปากช่องอยู่ในเขตภูเขา พื้นที่ตำสุดสูงจากระดับน้ำทะเล 600 เมตร สูงสุดประมาณ 1400 เมตร พื้นที่ของเมืองเป็นที่ราบส่วนใหญ่กระจายจากทิศเหนือไปใต้ ริมฝั่งห้วยจำปี หนองหิน ทุ่งเสด ห้วยน้ำใส ไปจึงถึงเมืองท่าแตง แขวงเซกอง ทิศตะวันออกของเมืองยกเว้นบริเวณภูไฟไหม้ที่เป็นป่าสงวน จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ปลูกข้าวและกาแฟ พื้นที่ส่วนเป็นเนินเขา กระจายทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ทางด้านที่ติดกับเมืองละมามและเมืองไชยเสษฐา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สัมปทานขุดแร่อะลูมิเนียมและปลูกพืชอุตสาหกรรม พื้นที่ส่วนที่เป็นภูเขาสูง คือบริเวณที่เป็นตัวเมือง ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยป่าธรรมชาติ บางส่วนเป็นสวนกาแฟ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองปากช่อง (ประเทศลาว) · ดูเพิ่มเติม »

เมืองปากเซ

ปากเซ เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงจำปาศักดิ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองปากเซ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองโขง

มืองโขง (ເມືອງໂຂງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว เป็นเมืองที่อยู่ติดกับชายแดนกัมพูชา มีชื่อเสียงทางด้านการท่องเที่ยว ได้แก่ น้ำตกคอนพะเพ็ง และสี่พันดอน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองโขง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศลาว

ตการปกครองของประเทศลาว ระดับบนสุดแบ่งเป็น 17 แขวง และ 1 นครหลวง (ได้แก่ นครหลวงเวียงจันทน์) แขวงแต่ละแขวงจะแบ่งเป็นเมือง ซึ่งจะมีหนึ่งเมืองเป็นเมืองหลวงของแขวงเรียกว่า เมืองเอก แต่เดิมนั้นประเทศลาวเคยมีตาแสงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากับตำบลในประเทศไทย ต่อมาได้ถูกยกเลิกไป.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเขตการปกครองของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:LA

ISO 3166-2:LA เป็นรายการรหัสสำหรับประเทศลาว ในมาตรฐาน ISO 3166-2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ซึ่งได้กำหนดรหัสสำหรับชื่อของเขตการปกครองระดับท้องถิ่น (เช่น จังหวัด หรือ รัฐ) และกำหนดรหัสสำหรับทั้งประเทศด้วย ISO 3166-1 ในปัจจุบันสำหรับประเทศลาว ISO 3166-2 มีความหมายถึง 1 นครหลวงและ 17 แขวง รหัสแต่ละตัวจะแบ่งเป็นสองส่วน ซึ่งคั่นด้วยยติภังค์ (-) ส่วนแรกคือ LA ซึ่งเป็นรหัสประเทศตามมาตรฐาน ISO 3166-1 แบบสองอักขระของประเทศลาว และส่วนที่สองเป็นตัวอักษรสองอักขร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และISO 3166-2:LA · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แขวงจำปาสัก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »