โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เล่าปี่

ดัชนี เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

223 ความสัมพันธ์: ชัวมอชัวฮูหยินบังทองบังเต๊กบิสีบิฮูหยินบิต๊กชีจิ๋วชีเซ่งพ.ศ. 704พ.ศ. 750พ.ศ. 751พ.ศ. 755พ.ศ. 756พ.ศ. 762พ.ศ. 764พ.ศ. 765พ.ศ. 766พัวโยยพัวเจี้ยงกบฏโพกผ้าเหลืองกลยุทธ์ยืมทางพรางกลกลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคนกลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสากลยุทธ์ล้อมเวยช่วยจ้าวกลยุทธ์หลบหนีกลยุทธ์หลี่ตายแทนถาวกลยุทธ์จูงแพะติดมือกลยุทธ์คบไกลตีใกล้กลยุทธ์ตีหญ้าให้งูตื่นกลยุทธ์ปิดฟ้าข้ามทะเลกลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้ากลศึกสามก๊กกวนหินกวนอูกวนไฮกวนเหล็งกวนเต๋งกวนเป๋งกองซุนจ้านกันหยงการยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่การรุกรานชีจิ๋วของโจโฉการรุกรานเกงจิ๋วของลิบองการทัพปราบอ้วนสุดการทัพปราบตั๋งโต๊ะกำฮูหยินกำเหลงกิมสวนกิเหลง...กุยห้วยกุยแกก๋งเต๋ามณฑลเสฉวนม้าม้าต้ายม้าเลี้ยงม้าเจ๊กม้าเท้งม้าเฉียวยุทธการที่กัวต๋อยุทธการที่อิเหลงยุทธการที่อ้วนเซียยุทธการที่ฮันต๋งยุทธการที่ผาแดงยุทธการที่ทุ่งพกบ๋องยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วนยุทธการที่แห้ฝือยุทธการที่เขาเตงกุนสันยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ยุคสามก๊กยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่นรอง เค้ามูลคดีราชลัญจกรจีนรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊กรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊กรายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GOรายพระนามจักรพรรดิจีนลกซุนลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊กลิซกลิโป้ลิเงียมวอริเออร์โอโรจิวอริเออร์โอโรจิ 2ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยวศึกด่านเฮาโลก๋วนสมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวยสะโมโขสามก๊กสามก๊ก (การ์ตูน)สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537)สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553)สามก๊ก มหาสนุกสามก๊ก ขุนศึกเลือดมังกรสามก๊ก ฉบับคนเดินดินสามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือสามก๊ก เทพเจ้ากวนอูสามก๊กฉบับวณิพกสิบเกงสุมาเต๊กโชหวดเจ้งหองจูเหียบหงสาจอมราชันย์ห้าทหารเสืออองฮูอองเป๋งอุยก๋วน (จ๊กก๊ก)อุยเอี๋ยนอีเจี้ยอ้วนสุดฮองตงฮันเหียนฮั่วอี้ฮั่นจงฮั่นต๋งจักรพรรดิฮั่นหลิงจักรพรรดิฮั่นจิงจูกัดกิ๋นจูกัดเหลียงจูล่งจูล่ง ขุนพลเทพสงครามจูเหียนจดหมายเหตุสามก๊กจ๊กก๊กขงสิ้วขงหยงขงจีข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊กคว้อเก๋อคำสาบานในสวนท้องอก๊กไถ้งออี้งอฮูหยินงักจุ้นงันเหลียงงำเต๊กตันกุ๋นตันก๋งตันฮกตันจิ๋นตันเตาซุยเป๋งซุน ยั่นจุนซุนกวนซุนฮูหยินซีหองประวัติศาสตร์จีนแฮหัวอิ๋นแฮหัวตุ้นแผนหลงจงโกลำโกซุ่นโลติดโจผีโจจู๋โจป้าโจโฉโตเกี๋ยมไทสูจู้ไดกิ นะกะมุระไดนาสตีวอริเออร์ไดนาสตีวอริเออร์ 5ไดนาสตีวอริเออร์ 6ไดนาสตีวอริเออร์ 7ไป๋ตี้เฉิงเบ้งตัดเกียวก๊กโลเกียดเป๋งเกงจิ๋วเภาเจ๋งเลียวฮัวเล่ากี๋เล่าลีเล่าสงเล่าอ้วนกีเล่าฮองเล่าขำเล่าป๋าเล่าเพ็กเล่าเสี้ยนเล่าเหงเล่าเจี้ยงเล่าเตาเอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊กเฮียงทงเจาเจ้งเจียวจิ๋วเทศมณฑลเพ่ย์เทียอ้วนจี้เขาเตงกุนสันเคาเจ้งเงียมหงันเตียวกิ๋นเตียวล่อเตียวสิเผงเตียวสงเตียวหลำเตียวหุยเตียวซีเตียวโป้ (โจรโพกผ้าเหลือง)เตียวเอ๊กเตียวเปาเตียนห้องเตงฮองเตงเมาเต๊กเลาเต๊งไก๋เปาสูหยินเปาจิดเนินหงส์ร่วงเนื้อเรื่องสามก๊ก10 มิถุนายน ขยายดัชนี (173 มากกว่า) »

ชัวมอ

ัวมอ (Cai Mao) เป็นขุนพลในยุคราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นแม่ทัพเรือของเล่าเปียว และเป็นน้องชายของชัวฮูหยินภรรยาของเล่าเปียวด้วย ครั้งเมื่อเล่าปี่มาอาศัยอยู่กับเล่าเปียว ชัวมอก็กลัวจะถูกแย่งชิงอำนาจ จึงวางแผนจะฆ่าเล่าปี่เสียแต่เล่าปี่ก็หนีรอดไปได้ หลังจากเล่าเปียวถึงแก่กรรมก็ยึดครองอำนาจ แต่งตั้งเล่าจ๋องลูกของพี่สาวตัวเองเป็นผู้ครองแคว้นสืบไป ต่อมาภายหลังจากโจโฉยึดครองเมืองเกงจิ๋ว ชัวมอ ได้สวามิภักดิ์ต่อโจโฉ และได้รับตำแหน่งเนแม่ทัพเรือของโจโฉเพื่อยกทัพไปตีกังตั๋ง แต่ต่อมาจิวยี่ได้ใช้อุบายหลอกให้โจโฉหลงเชื่อว่าชัวมอคิดทรยศ โจโฉจึงสั่งให้ประหารชัวมอ.

ใหม่!!: เล่าปี่และชัวมอ · ดูเพิ่มเติม »

ชัวฮูหยิน

ัวฮูหยิน (Lady Cai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ภรรยาคนที่ 2 ของเล่าเปียวเจ้าเมืองเกงจิ๋ว มารดาของเล่าจ๋อง พี่สาวของชัวมอ ชัวฮูหยินและชัวมอมีความคิดที่จะกุมอำนาจทั้งหมดในเกงจิ๋ว จึงคิดที่จะพยายามทำให้เล่าจ๋องบุตรของเล่าเปียวและชัวฮูหยินเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งของเล่าเปียว และพยายามกำจัดเล่ากี๋ บุตรของเล่าเปียวและภรรยาคนแรก รวมถึงการคิดพยายามกำจัดเล่าปี่ ซึ่งสนับสนุนเล่าเปียวให้ตั้งเล่ากี๋เป็นผู้สืบทอด ทำให้เล่ากี๋ต้องหนีภัยโดยการขอเล่าเปียวให้ตั้งตนให้เป็นเจ้าเมืองกังแฮที่กำลังขาดเจ้าเมืองและไปรับตำแหน่งที่นั้น ส่วนเล่าปี่ก็เคยถูกตามล่าโดยชัวมอมาแล้วสองครั้ง แต่ก็หนีรอดได้ทุกครั้ง ต่อมา เล่าเปียวเสียชีวิต ชัวฮูหยินและชัวมอได้ปลอมแปลงพินัยกรรม โดยตั้งให้เล่าจ๋องขึ้นเป็นเจ้าเมือง หลังจากนั้นไม่นาน โจโฉได้นำทัพใหญ่บุกเกงจ๋ว เล่าจ๋องยอมจำนน โจโฉตั้งให้เล่าจ๋องเป็นเจ้าเมืองเฉงจิ๋วและให้เดินทางไปรับตำแหน่ง เล่าจ๋องเดินทางไปเฉงจิ๋วพร้อมกับชัวฮูหยิน ระหว่างทางอิกิ๋มซึ่งซุ่มอยู่ข้างทางได้บุกมาสังหารเล่าจ๋องและชัวฮูหยินตามคำสั่งของโจโฉ.

ใหม่!!: เล่าปี่และชัวฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

บังทอง

ังทอง (สำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ผางถ่ง (สำเนียงจีนกลาง; Pang Tong; จีนตัวย่อ: 庞统; จีนตัวเต็ม: 龐統; พินอิน: Páng Tǒng) เป็นบุคคลที่หน้าตาขี้ริ้วขี้เหร่ แต่มีสติปัญญาเป็นเลิศ มีชื่อรองว่า "ซื่อหยวน" (士元) เกิดปีเดียวกับสุมาอี้ เป็นชาวเมืองเซียงหยาง เมืองใหญ่ในเมืองเกงจิ๋ว เป็นหลานอาของบังเต็กกง เพื่อนสนิทของสุมาเต็กโช สุมาเต็กโชรักใคร่บังทองมากเหมือนน้องชายตัวเอง บังทองเป็นผู้ที่สุมาเต็กโชแนะนำแก่เล่าปี่เมื่อครั้งหนีภัยจากการตามล่าของชัวมอว่า ปราชญ์ที่จะช่วยให้ท่านพลิกฟ้า คว่ำแผ่นดินได้นั้นมี 2 คน คือ "ฮกหลง" (臥龍; Wòlóng; มังกรนิทรา–จูกัดเหลียง) กับ "ฮองซู" (鳯雛; Fèngchú; หงส์ดรุณ–บังทอง) เท่านั้น บังทอง ปรากฏตัวในสามก๊ก ด้วยเป็นปราชญ์ที่เร้นกายที่ง่อก๊ก โดยทำทีหลอกเจียวก้าน ทูตของโจโฉ ที่ถูกส่งตัวไปง่อก๊ก จนเจียวก้านเชื่อใจ นำพาไปพบโจโฉ โจโฉได้มอบหมายให้บังทองเป็นผู้วางอุบาย เอาชนะศึกง่อก๊ก บังทองแนะนำให้ผูกเรือของวุยก๊ก ต่อกันเป็นทอด ๆ ด้วยโซ่ เรียกว่า "ห่วงโซ่สัมพันธ์" โดยบังทองหลอกโจโฉว่า ทหารวุยก๊กไม่ถนัดการรบทางน้ำ เมื่อเจอคลื่นทำให้ทหารล้มป่วยได้ง่าย การผูกเรือเป็นเข้าด้วยกันด้วยโซ่ จะช่วยให้เรือไม่โคลงเคลง ซึ่งเป็นอุบายที่นำมาซึ่ง การเผาเรือวุยก๊กด้วยไฟ จากความร่วมมือกันของจิวยี่และจูกัดเหลียง ในศึกเซ็กเพ็ก (ศึกผาแดง) อันเป็นศึกที่โจโฉพ่ายแพ้อย่างย่อยยับที่สุด ต่อมา โลซกที่ปรึกษาซุนกวน เกรงว่าบังทองจะเข้าร่วมกับวุยก๊ก จึงได้ให้บังทองเข้าร่วมกับฝ่ายง่อก๊ก แต่ซุนกวนไม่ชอบใจในหน้าตา จึงไม่ให้ความสนใจ บังทองจึงเข้าร่วมกับฝ่ายจกก๊ก โดยจูกัดเหลียงเป็นผู้แนะนำไป แต่เมื่อเล่าปี่ เห็นหน้าตาของบังทองแล้วไม่ไว้วางใจ จึงให้ไปเป็นนายอำเภอเมืองลอยเอี๋ยง ที่ห่างไกล บังทองได้แสดงความสามารถทางสติปัญญา ให้เป็นที่ปรากฏ จึงได้เลื่อนชั้นขึ้น เป็นกุนซือคนหนึ่งของจกก๊ก เทียบเท่าจูกัดเหลียง บังทองมาสิ้นชีวิตที่เนินลกห้องโหที่ (เนินหงส์ร่วง) ด้วยลูกธนู ระหว่างเดินทางเข้าเสฉวนพร้อมกับเล่าปี่ บังทองออกอุบายให้เล่าปี่ สังหารเล่าเจี้ยงเพื่อยึดเมืองเสฉวนระหว่างกินเลี้ยง แต่เล่าปี่ไม่ยอมทำ ระหว่างเดินทางไปตีเมืองลกเสีย ได้แยกย้ายกับเล่าปี่ไปคนละเส้นทาง โดยเล่าปี่ได้ให้ม้าเต็กเลาที่ตนขี่ประจำแก่บังทอง ศัตรูจึงเข้าใจผิดว่าเป็นเล่าปี่ จึงรุมยิงบังทองตาย เมื่ออายุได้ 35 ย่าง 36 ปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และบังทอง · ดูเพิ่มเติม »

บังเต๊ก

บังเต๊ก เป็นขุนพลที่มีฝีมือคนหนึ่งในสามก๊ก แต่แรกเริ่มอยู่รับใช้ม้าเฉียว ต่อมาม้าเฉียวไปเป็นทหารเตียวล่อแห่งฮันต๋ง บังเต๊กก็ได้เป็นทหารเตียวล่อในสังกัดของม้าเฉียว ในขณะที่ม้าเฉียวไปทำศึกกับเล่าปี่และถูกเกลี้ยกล่อมให้อยู่ด้วยกับเล่าปี่ ในขณะนั้นบังเต๊กไม่ได้ติดตามม้าเฉียวไปด้วยเพราะป่วยจึงพักรักษาตัวอยู่ที่ฮันต๋ง ต่อมา โจโฉยกทัพบุกฮันต๋งบังเต๊กอาสาเตียวล่อเป็นทัพหน้าไปรบกับโจโฉ แต่ถูกอุบายของกาเซี่ยงทำให้เตียวล่อกับบังเต๊กผิดใจกัน ทำให้โจโฉได้บังเต๊กร่วมกองทัพ ต่อมา กวนอูจะยกทัพตีเมืองอ้วนเสีย โจโฉได้ส่งกองทัพไปช่วยสลายวงล้อมอ้วนเสีย โดยให้อิกิ๋มเป็นแม่ทัพใหญ่ บังเต๊กคุมทัพหน้า ในการรบบังเต๊กสามารถรบกับกวนอูได้อย่างสูสี ในบางครั้งแม้บังเต๊กได้เปรียบกวนอู แต่อิกิ๋มริษยาว่าถ้าบังเต๊กชนะกวนอูต้องได้ความชอบใหญ่จึงสั่งให้ทหารตีม้าล่อถอยทัพทุกครั้ง เมื่ออิกิ๋มได้ยกมาตั้งทัพที่ทุ่งจันเค้า กวนอูได้ให้ทหารสร้างเขื่อนกั้นน้ำรอให้น้ำหลาก จึงพังเขื่อนปล่อยน้ำท่วมทัพอิกิ๋ม อิกิ๋มและบังเต๊กถูกจับตัวได้ กวนอูสั่งให้ขังตัวอิกิ๋ม ส่วนบังเต๊กให้นำตัวไปประหาร หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่: วุยก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และบังเต๊ก · ดูเพิ่มเติม »

บิสี

ี (Fei Shi, ? — ?) มีชื่อรองว่า กงจู เสนาบดีแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก บิสีมีบทบาทสำคัญเมื่อเล่าปี่สถาปนาตนเองขึ้นเป็น พระเจ้าเล่าปี่ จักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กก็ได้มีพระบัญชาให้บิสีไปยังเกงจิ๋วเพื่ออัญเชิญตราตั้งแต่งตั้งให้ กวนอู เป็นหนึ่งในห้าทหารเสือ.

ใหม่!!: เล่าปี่และบิสี · ดูเพิ่มเติม »

บิฮูหยิน

ูหยิน (Lady Mi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ภรรยาคนที่สองของเล่าปี่ เป็นน้องสาวของบิต๊กและบิฮอง ขุนนางของโตเกี๋ยม ซึ่งต่อมาก็ได้รับใช้เล่าปี่หลังจากโตเกี๋ยมเสียชีวิตแล้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และบิฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

บิต๊ก

ต๊ก (Mi Zhu) เป็นเสนาบดีคนสำคัญแห่งจ๊กก๊ก เป็นทั้งที่ปรึกษาและพี่ภรรยาของเล่าปี่ เป็นพี่ชายของบิฮองซึ่งต่อมาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเสียชีวิตของกวนอู เดิมเป็นขุนนางของโตเกี๋ยม เจ้าเมืองชีจิ๋ว เมื่อโตเกี๋ยมตายจึงอยู่รับใช้เล่าปี่ต่อไป.

ใหม่!!: เล่าปี่และบิต๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ชีจิ๋ว

ซีจิ๋ว หรือ จังหวัดจิ๋ว เป็น 1 ใน 9 จังหวัดของเมืองจีนในอดีต.

ใหม่!!: เล่าปี่และชีจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ชีเซ่ง

ชีเซ่ง (Xu Sheng) เป็นขุนพลแห่งง่อก๊ก ชาวเมืองลงเสียมีนิสัยกล้าหาญ ซื่อสัตย์ ชำนาญการรบทางเรือ เข้มงวดในระเบียบวินัย มักจะได้รับมอบหมายงานพร้อมกับเตงฮอง เช่นในตอนที่จิวยี่สั่งให้ไปฆ่าขงเบ้ง(แต่ไม่สำเร็จ) และในตอนที่สกัดขบวนของเล่าปี่และซุนฮูหยินที่ยกกลับเกงจิ๋ว (แต่ไม่สำเร็จเพราะไม่กล้าสังหารซุนฮูหยิน) ชีเซ่งออกศึกในบังคับบัญชาของซุนกวนหลายครั้ง ครั้งสำคัญที่สุดได้รับการแต่งตั้งให้แม่ทัพป้องกันการรุกรานของพระเจ้าโจผีที่เมืองน้ำฉี ในครั้งนั้น ชัเซ่งสั้งทหารให้เอาฟางมาผูกเป็นรูปหุ่น ใส่เสื้อสีต่างๆให้มาก แล้วปักธงทิว รายไปตั้งแต่เมือน้ำฉีไปถึงเซ็กเทา ทำให้เสร็จในค่ำวันนั้ ฝ่ายพระเจ้าโจผี ครันรุ่งเช้า หมอกลงหนัก เห็นค่ายคูผู้คนและธงทิวเต็มไปหมดก็ตกใจ พอดีเกิดพายุประจวบกับได้รับข่าวว่าจูล่งแห่งจ๊กก๊กเข้าตีวุยก๊กตามคำสั่งขงเบ้ง จึงยกทัพกลับไป หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ง่อก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และชีเซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 704

ทธศักราช 704 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 704 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 750

ทธศักราช 750 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 750 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 751

ทธศักราช 751 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 751 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 755

ทธศักราช 755 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 755 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 756

ทธศักราช 756 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 756 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 762

ทธศักราช 762 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 762 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 764

ทธศักราช 764 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 764 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 765

ทธศักราช 765 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 765 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 766

ทธศักราช 766 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เล่าปี่และพ.ศ. 766 · ดูเพิ่มเติม »

พัวโยย

ัวโยย (Pan Jun, ? – ค.ศ. 239) ขุนนางแห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ในตำแหน่งเสนาธิการ พัวโยยเคยรับใช้ เล่าเปียว และ เล่าปี่ จนกระทั่งเกิด การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และพัวโยย · ดูเพิ่มเติม »

พัวเจี้ยง

พัวเจี้ยง (Pan Zhang) เป็นชาวเมืองตงฉวินฟาเซียนฉายาว่า อุยกุ๋ย เป็นคนเคร่งครัดในระเบียบวินัย แต่ขี้โอ่ ยิ่งแก่ยิ่งขี้โอ่มาก รับราชการอยู่กับซุนกวนมีความชอบมาก ได้ยศมหารเป็นผิงเป่ยเจีบงจวิน (นายพล) ความชอบครั้งสำคัญคือ การรบที่ซอกเขาเจาสัน ซึ่งพัวเจี้ยงได่ขุดหลุมพลางไว้และจับกวนอูได้ที่นั่นพร้อมด้วยกวนเป๋ง(บุตรบุญธรรม) พัวเจี้ยงได้เอาง้าวของกวนอูมาเป็นอาวุธของตน เป็นผู้ออกรบลวงฮองตง ทหารเอกของพระเจ้าเล่าปี่ให้ตกเข้าไปในที่ล้อมหน้าเมืองอิเหลง แล้วให้ทหารระดมยิงเกาทัณฑ์ ถูกซอกคอฮองตงกลับไปตายที่ทัพหลวง ในที่สุดได้รบพุ่งกับกวนหินบุตรกวนอูตัวต่อตัว ถูกกวนหินฟันตาย กวนหินได้ง้าวของกวนอูจากพัวเจี้ยงคืนไป ตำแหน่งสุดท้ายของพัวเจี้ยง เป็นเจ้าเมืองเซียงหยัง (ซงหยง)และมียศทหารเป็นอิ้วเจียงจวิน (นายพล) พัวเจี้ยง พัวเจี้ยง.

ใหม่!!: เล่าปี่และพัวเจี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโพกผ้าเหลือง

กบฏโพกผ้าเหลือง (Yellow Turban Rebellion) เป็นกลุ่มผู้ก่อการกบฏประมาณหลายล้านคนใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และกบฏโพกผ้าเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ยืมทางพรางกล

กลยุทธ์ยืมทางพรางกล หรือ เจี่ยเต้าฝากว๋อ (Obtain safe passage to conquer the State of Guo) เป็นกลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการทำศึกสงคราม ประเทศเล็กที่ตั้งอยู่ในระหว่างประเทศใหญ่สองประเทศ เมื่อถูกศัตรูบีบบังคับให้ยอมแพ้ด้วยความจำใจ ยอมสยบอยู่ภายใต้อำนาจ ถูกกดขี่ข่มเหงก็ควรจะให้การช่วยเหลือโดยฉับพลัน เพื่อให้ประเทศเล็กที่ถูกข่มเหงรังแก มีความเชื่อถือต่อประเทศที่ยอมช่วยเหลือประเทศที่ตกอยู่ภายใต้ความยากลำบาก หากการช่วยเหลือแต่เพียงการเจรจามิได้มีการกระทำที่แท้จริง ย่อมจะไม่ได้รับความไว้วางใจจากผู้ที่เฝ้ารอคอยรับความช่วยเหลือ ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์ยืมทางพรางกลไปใช้ได้แก่ขงเบ้งที่รู้เท่าทันการวางกลอุบายของจิวยี่ที่คิดยืมทางเพื่อไปตีเสฉวน และฉวยโอกาสฆ่าเล่าปี่ที่บิดพลิ้วไม่ยอมคืนเกงจิ๋วให้แก่ซุนกวนเจี่ยเต้าฝากว๋อ กลยุทธ์ยืมทางพรางกล, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ยืมทางพรางกล · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน

กลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน หรือ เจี้ยเตาซาเหริน (Kill with a borrowed knife) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการกำจัดศัตรูที่มีความเข้มแข็ง ไม่จำเป็นที่จะต้องลงมือเอง พึงยืมกำลังและไพร่พลทหารของผู้อื่นเป็นฝ่ายกำจัดศัตรู เพื่อเป็นการรักษากำลังและไพร่พลทหารของตนเองไว้สำหรับการศึกอื่น ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคนไปใช้ได้แก่จิวยี่ที่หลอกให้โจโฉฆ่าซัวมอและเตียวอุ๋นสองแม่ทัพเรือของตนเองในคราวศึกเซ็กเพ็กระหว่างเล่าปี่และซุนกวนเจี้ยเตาซาเหริน กลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสา

กลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสา หรือ โทวเหลียงห้วนจวู้ (Replace the beams with rotten timbers) เป็นกลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการต่อกำลังที่ร่วมทำศึกด้วยหรือต่อศัตรู จักต้องหาหนทางเปลี่ยนแปลงการจัดเตรียมแนวรบของศัตรูอยู่เสมอ การถอดถอนเคลื่อนย้ายจุดยุทธศาสตร์และกองกำลังสำคัญของศัตรูไป รอให้ศัตรูเกิดความอ่อนแอเสียขวัญและกำลังใจ ประสบกับความพ่ายแพ้ จึงฉกฉวยโอกาสพลิกสถานการณ์ที่ศัตรูเกิดความย่ำแย่ให้เป็นประโยชน์แก่ตน นำกำลังบุกเข้าโจมตียึดครองและควบคุมกองทัพของศัตรูไว้ภายใต้การบังคับบัญชาเพื่อประโยชน์ต่อไปในภายหน้า ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสาไปใช้ได้แก่เทียเภาที่วางกลอุบายหลอกเอาตัวตันฮกมาจากเล่าปี่เพื่อให้เป็นที่ปรึกษาแก่โจโฉ ภายหลังที่ตันฮกวางกลอุบายซุ่มโจมตีกองทัพของโจหยินจนแตกพ่ายยับเยินโทวเหลียงห้วนจวู้ กลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสา, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ลักขื่อเปลี่ยนเสา · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ล้อมเวยช่วยจ้าว

กลยุทธ์ล้อมเวยช่วยจ้าว หรือ เหวยเว่ยจิ้วจ้าว (Besiege Wèi to rescue Zhào) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการที่ศัตรูรวบรวมกำลังทหารและไพร่พลไว้เป็นจุดศูนย์กลาง ทำให้เกิดกำลังและความเข้มแข็งเพิ่มมากขึ้น ควรที่จะใช้กลยุทธ์ในการดึงแยกศัตรูให้แตกออกจากกัน เพื่อให้กำลังไพร่พลทหารกระจัดกระจาย คอยระแวดระวังมีความห่วงหน้าพะวงหลังแล้วจึงบุกเข้าโจมตี ตามความหมายของตำราพิชัยสงครามคือ การบุกเข้าโจมตีในจุดที่อยู่นอกเหนือความคาดหมาย โจมตีในจุดที่ศัตรูไม่ได้เตรียมการตั้งรับและคอยระวังป้องกัน ย่อมถือว่าได้เปรียบและได้รับชัยชนะมาแล้วครึ่งหนึ่ง ในการทำศึกสงคราม การบุกเข้าโจมตีศัตรูจะบุกเข้าทางด้านหน้า ซึ่งเป็นเพียงกลอุบายหลอกล่อให้ศัตรูหลงทิศและนำกำลังบุกเข้าโจมตีทางด้านหลัง การแสร้งบุกโจมตีทางด้านตะวันออกแต่จริงแล้วบุกเข้าโจมตีทางด้านตะวันตก การทำให้ศัตรูคาดเดาแผนการรบไม่ถูก ทำให้เกิดความสับสนในการวางกำลังป้องกันฐานทัพ พึงหักเอาในขณะที่ศัตรูเป็นฝ่ายที่ไม่ได้เตรียมความพร้อม เข้าจู่โจมในยามที่ศัตรูไม่ได้คาดคิด ตำราพิชัยสงครามกล่าวไว้ว่า "เมื่อเห็นจุดอ่อนเปราะของศัตรู เราต้องใช้กลยุทธ์พิสดารโจมตี"พิสดารเหนือความคาดหมาย, สงครามสามก๊ก กลยุทธ์พลิกสถานการณ์, ทองแถม นาถจำนง, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ล้อมเวยช่วยจ้าว · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์หลบหนี

กลยุทธ์หลบหนี หรือ โจ่วเหวยซ่าง (If everything else fails, retreat) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก เป็นกลยุทธ์ที่หมายความถึงเมื่อทำการศึกสงครามกับศัตรู หากศัตรูมีกองกำลังทหารที่เข้มแข็ง มีกองทัพที่แข็งแกร่ง ชำนาญภูมิศาสตร์ เป็นต่อในทุก ๆ ด้านไม่มีช่องโหว่ให้พลิกเอาชัยชนะแม้แต่น้อย ขืนนำกำลังเข้าต่อสู้ก็มีแต่สูญเสีย การถอยหนีย่อมเป็นทางเลือกที่ดีกว่า คัมภีร์อี้จิงกล่าวว่า "ถอยหนีมิผิด เป็นวิสัยแห่งสงคราม" ซึ่งเป็นการชี้ชัดว่าการถอยหนีในการทำสงครามนั้นมิใช่ความผิดผลาด หากแต่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญในการทำศึกที่มักจะพบเห็นเสมอ นอกจากนี้ยังมีคำกล่าวว่า "การพ่ายแพ้หมายถึงความล้มเหลวในทุก ๆ ด้าน การยอมสงบศึกหมายถึงการล้มเหลวในบางด้าน แต่การหนีมิได้หมายความว่าล้มเหลวเลย" ดังนั้นการถอยหนีเป็นการถอยเพื่อหาหนทางหลีกเลี่ยงความเสียหาย แลหาโอกาสชิงตอบโต้ในภายหลัง มิใช่เป็นการถอยหนีอย่างสิ้นเชิง ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์หลบหนีไปใช้ได้แก่จูกัดเหลียงที่ลอบหลบหนีจิวยี่ภายหลังจากทำพิธีเรียกลมตะวันออกเฉียงใต้ที่ลำเขาลำปินสานเพื่อใช้ไฟเผากองทัพเรือโจโฉในคราวศึกเซ็กเพ็กโจ่วเหวยซ่าง กลยุทธ์หลบหนี, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์หลบหนี · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์หลี่ตายแทนถาว

กลยุทธ์หลี่ตายแทนถาว หรือ หลี่ไต้เถาเจียง (Sacrifice the plum tree to preserve the peach tree) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ที่เสียเปรียบในศึกสงคราม ซึ่งไม่เป็นผลดีแก่ตนเองและกองทัพ เกิดความเสียหายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อที่จะแปรเปลี่ยนจากสถานการณ์ที่เป็นฝ่ายเสียเปรียบให้เป็นการได้เปรียบ จำต้องยินยอมเสีย "มืด" เพื่อที่จะได้ประโยชน์จาก "สว่าง" โดยที่มาของชื่อกลยุทธ์ มาจากกวีนิพนธ์ชื่อ “ไก่ขัน” ใน “ชุมนุมกวีนิพนธ์กู่เล่อฝู่” ที่กล่าวว่า ต้นถาวเกิดที่ปากบ่อ ต้นหลี่โตเคียงมา หนอนบ่อนไชต้นถาว หลี่ตายแทนถาว ต้นไม้ยังตายแทนกัน พี่น้องไฉนไยจึงลืม สละต้นไหนเพื่อรักษาต้นหม่อน, 36 กลยุทธ์ผู้นำ, หวางซวนหมิง ผู้แต่ง, อำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงศ์ ผู้แปล,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์หลี่ตายแทนถาว · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์จูงแพะติดมือ

กลยุทธ์จูงแพะติดมือ หรือ ซุ่นโส่วเชียนหยาง (Take the opportunity to pilfer a goat) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการใช้ความประมาทเลินเล่อของศัตรูเพียงเล็กน้อยให้เป็นประโยชน์ เมื่อพบเห็นโอกาสให้รีบฉกฉวยมาเป็นของตน แม้จะเป็นเพียงชัยชนะที่เล็กน้อยก็ตาม ในยามศึกสงครามแม้โอกาสเพียงน้อยนิดที่สามารถเป็นประโยชน์แก่กองทัพจำต้องช่วงชิงมาเป็นของตนให้ได้ ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์จูงแพะติดมือไปใช้ได้แก่จูกัดเหลียงที่หลอกเอาลูกเกาฑัณฑ์จำนวนสิบหมื่นจากโจโฉ ตามคำสั่งของจิวยี่ที่สั่งให้จูกัดเหลียงทำลูกเกาฑัณฑ์จำนวนสิบหมื่นให้เสร็จภายในระยะเวลาสิบวัน เพื่อหาทางกำจัดจูกัดเหลียงด้วยความอิจฉาริษยาที่มีความฉลาดหลักแหลม รู้เท่าทันแผนการของตนเองตลอดเวลาซุ่นโส่วเชียนหยาง กลยุทธ์จูงแพะติดมือ, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์จูงแพะติดมือ · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์คบไกลตีใกล้

กลยุทธ์คบไกลตีใกล้ หรือ เหวี่ยนเจียวจิ้นกง (Befriend a distant state while attacking a neighbour) เป็นกลยุทธ์ที่มีความหมายถึงเมื่อถูกจำกัดโดยสภาพภูมิศาสตร์ ควรจักตีเอาศัตรูที่อยู่ในบริเวณใกล้ตัวจึงจะเป็นประโยชน์ การบุกโจมตีศัตรูที่อยู่ห่างไกลออกไป จักกลายเป็นผลร้ายแก่กองทัพ คัมภีร์อี้จิงกล่าวว่า "เปลวไฟลอยขึ้น น้ำบึงไหลลง บุรุษจักร่วมกันเพราะความผิดแผก" หมายความถึงในการหยิบยื่นไมตรีเพื่อผูกมิตรสัมพันธ์นั้น แม้นความคิดเห็นแต่ละฝ่ายอาจไม่ตรงกัน ก็สามารถที่จะยุติความขัดแย้ง และสามารถที่จะจับมือร่วมกันทำศึกสงครามได้ในชั่วระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเมื่อต้องเผชิญหน้ากับศัตรูแม้ใกล้ไกล พึงมีนโยบายที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ผูกมิตรกับแคว้นไกลเพื่อเอาชัยชนะต่อแคว้นใกล้อย่างหนึ่ง ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์คบใกล้ตีไกลไปใช้ได้แก่ขงเบ้งแนะอุบายให้เล่าปี่ยื่นมือเข้าช่วยเหลือกังตั๋งของซุนกวนให้รอดพ้นจากเงื้อมมือการบุกโจมตีของโจโฉเหวี่ยนเจียวจิ้นกง กลยุทธ์คบไกลตีใกล้, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์คบไกลตีใกล้ · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ตีหญ้าให้งูตื่น

กลยุทธ์ตีหญ้าให้งูตื่น หรือ ต๋าเฉ่าจิงเสอ (Startle the snake by hitting the grass around it) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการที่มีสิ่งใดพึงสงสัย ควรจักส่งคนไปทำการสอดแนมให้รู้ชัดแจ้งเพื่อเป็นการกุมสภาพของศัตรูเอาไว้ เมื่อได้ข่าวคราวของฝ่ายศัตรูแล้วจึงนำกำลังทหารบุกเข้าโจมตี เรียกว่า "สงสัยพึงแจ้ง สังเกตจึงเคลื่อน"แหวกหญ้าให้งูตื่น, 36 กลยุทธ์ผู้นำ, หวางซวนหมิง ผู้แต่ง, อำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงศ์ ผู้แปล,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ตีหญ้าให้งูตื่น · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์ปิดฟ้าข้ามทะเล

กลยุทธ์ปิดฟ้าข้ามทะเล หรือ หมานเทียนกว้อไห่ (Deceive the heavens to cross the ocean) เป็นหนึ่งในกลศึกสามก๊ก กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการที่คิดหรือมองข้ามสิ่งใด ๆ ก็ตาม ที่คิดว่าตนเองนั้นได้ตระเตรียมการไว้พร้อมสรรพแล้ว ก็มักจะมีความประมาทเลินเล่อและมองข้ามศัตรูไปอย่างง่ายดาย พบเห็นสิ่งใดที่มองเห็นเสมอในยามปกติก็ไม่บังเกิดความสงสัยหรือติดใจในสิ่งนั้น เกิดความชะล่าใจในตนเอง การบุกเข้าโจมตีศัตรูโดยที่ศัตรูไม่ทันรู้ตัวและตั้งระวังทัพได้ทันนับว่าเป็นการได้ชัยชนะในการต่อสู้มาแล้วครึ่งหนึ่ง สามารถเอาชนะได้อย่างง่ายดาย การปกปิดอำพรางซ่อนเร้น จึงเป็นกลยุทธ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดในการทำศึกสงครามบังฟ้าข้ามสมุทร, 36 กลยุทธ์ผู้นำ, หวางซวนหมิง ผู้แต่ง, อำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงศ์ ผู้แปล,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์ปิดฟ้าข้ามทะเล · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้า

กลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้า หรือ เจี่ยชือปู้เตียน (Feign madness but keep your balance) เป็นกลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการแสร้งยอมทำเป็นโง่ มิเคลื่อนไหวอย่าอวดทำเป็นสู่รู้ทำบุ่มบ่าม การอวดรู้ย่อมกลายเป็นผลเสียแก่ตนเองได้ในภายหน้า คัมภีร์อี้จิงกล่าวว่า "ดุจดั่งอสนีบาตหยุดฟาดฟัน" โดยคำว่า "หยุด" หมายความถึง "อสนีบาตฤดูหนาวแฝงกายอยู่ใต้พื้นพสุธา จักแผดร้องก้องนภาคราฤดูใบไม้ผลิ" ซึ่งมีความหมายว่า ผู้ที่มีสติปัญญามิพึงแสดงตัว แต่พึงเตรียมการทั้งปวงอย่างลับ ๆ มิให้ผู้ใดล่วงรู้ ประหนึ่งคมดาบที่แอบซ่อนอยู่ภายในฝัก มิปรากฏให้ผู้ใดได้เห็น ครั้นเมื่อถึงเวลาอันสมควรก็จักคำรนคำรามเสมือนสายฟ้า ที่จะกระหน่ำพสุธาให้แตกสลายไป ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้าไปใช้ได้แก่เล่าปี่ที่แสร้งทำเป็นหวาดกลัวเสียงฟ้าร้องจนตะเกียบหลุดจากมือ เพื่อให้โจโฉตายใจและไม่คิดระแวงเล่าปี่ที่อ่านคิดการใหญ่ในภายหน้าเจี่ยชือปู้เตียน กลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้า, 36 กลยุทธ์ในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลยุทธ์แสร้งทำบอแต่ไม่บ้า · ดูเพิ่มเติม »

กลศึกสามก๊ก

กลยุทธ์ตีชิงตามไฟ พระเจ้าหองจูเปียนเสียอำนาจ กลยุทธ์สาวงาม เตียวเสี้ยนลวงตั๋งโต๊ะให้ลุ่มหลง กลยุทธ์ล่อเสือออกจากถ้ำ ลิโป้บาดหมางใจกับตั๋งโต๊ะ กลยุทธ์ทุกข์กาย อุยกายใช้อุบายเผาทัพเรือโจโฉ กลยุทธ์จูงแพะติดมือ จูกัดเหลียงลวงเกาฑัณฑ์จากโจโฉ กลศึกสามก๊ก (Thirty-Six Stratagems) เป็นการรวบรวมกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำศึกสงครามที่ปรากฏในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ในสามก๊กมีการทำศึกสงครามมากมายหลายครั้งเพื่อแย่งชิงอำนาจและความเป็นใหญ่ การนำกำลังทหารและไพร่พลจำนวนมากการบุกโจมตีและยึดครองเมืองหรือสถานที่ต่าง ๆ หรือทางการทูตต่างแดนในการเจรจาต่อรองผูกสัมพันธ์ไมตรีกับแคว้นอื่น การต่อสู้ทางด้านสติปัญญาและกุศโลบายในการแสดงแสนยานุภาพแก่ศัตรู การปกครองไพร่พลรวมทั้งผู้ใต้บังคับบัญชา การทหาร การเมือง การเศรษฐกิจ การบริหารปกครองบ้านเมือง หรือแม้นแต่การใช้คนอย่างถูกต้อง ในสามก๊กทุกสิ่งล้วนแต่เป็นการนำเอาทรัพยากรทุกอย่างที่มีเพื่อนำมาใช้ในการทำศึกสงคราม สงครามสามก๊กนั้นมีบ่อยครั้งที่กำลังทหารที่มีกำลังไพร่พลน้อยกว่ากลับเอาชนะกำลังทหารที่มีกำลังไพร่พลมากกว่าได้ ซึ่งสิ่งสำคัญที่สุดคือกลยุทธ์ในด้านยุทธศาสตร์และการชำนาญภูมิศาสตร์สถานที่ในการทำศึกสงครามกลศึกสามก๊ก ตำราพิชัยสงครามรูปธรรมที่มีชีวิต,หลี่ปิ่งเอี้ยน ซุนจิ้ง ผู้ค้นคว้า, บุญศักดิ์ แสงระวี แปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทย, สำนักพิมพ์สุขภาพใจ,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกลศึกสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

กวนหิน

กวนหิน 関興 มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากวนซิง (Guan Xing) มีชื่อรองว่าอันกั๋ว (ฺAnguo) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายคนโตของกวนอู มีฝีมือไม่แพ้กวนอูผู้เป็นบิดา ออกศึกกับพระเจ้าเล่าปี่ครั้งแรกที่ศึกอิเหลง เพื่อแก้แค้นซุนกวนให้กวนอูและเตียวหุยที่ถูกฆ่าตาย กวนหินแสดงฝีมือให้เป็นที่ประจักษ์หลายครั้ง แต่ศึกครั้งนี้ พระเจ้าเล่าปี่ต้องพ่ายให้กับสติปัญญาของลกซุน จนต้องถอยทัพไปที่เป๊กเสีย และตรอมพระทัยสวรรคต หลังพระเจ้าเล่าปี่สวรรคต กวนหินก็คอยช่วยเหลือขงเบ้งในศึกต่าง ๆ หลายครั้ง โดยมักจะได้รับคำสั่งให้ทำงานพร้อมกับเตียวเปา บุตรชายของเตียวหุย จนกระทั่งกวนหินล้มป่วยลงจนเสียชีวิต.

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนหิน · ดูเพิ่มเติม »

กวนอู

กวนอู เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อวันที่ 24 เดือนมิถุนายน จีนศักราชเอี่ยงฮี ปี พ.ศ. 704 ในรัชกาลฮั่นฮวนเต้ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เดือนกรกฎาคม จีนศักราชเคี่ยงเซ้ง ปี 763 ในรัชกาลฮั่นเหี้ยนเต้ มีชื่อรองว่า "หุนเตี๋ยง" (Yunchang) เป็นชาวอำเภอไก่เหลียง ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก กวนอูเป็นผู้มีรูปร่างสูงใหญ่ 9 ฟุตจีนหรือประมาณ 6 ศอก ใบหน้าแดงเหมือนผลพุทราสุก นัยน์ตายาวรี คิ้วดั่งหนอนไหม หนวดเครางามถึงอก มีง้าวรูปจันทร์เสี้ยว ยาว 11 ศอก หนัก 82 ชั่ง เป็นอาวุธประจำกายเรียกว่า ง้าวมังกรเขียว หรือง้าวมังกรจันทร์ฉงาย ในจินตนาการของศิลปินมักวาดภาพหรือปั้นภาพให้กวนอูแต่งกายด้วยชุดสีเขียวและมีผ้าโพกศีรษะ กวนอูมีความเชี่ยวชาญและเก่งกาจวิทยายุทธ จงรักภักดี กตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและซื่อสัตย์เป็นเลิศ ในวัยหนุ่มฉกรรจ์กวนอูได้พลั้งมือฆ่าปลัดอำเภอและน้าชายตายจนต้องหลบหนีการจับกุมกวนอู ตัวละครสำคัญในสามก๊ก, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนอู · ดูเพิ่มเติม »

กวนไฮ

กวนไฮ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าก่วนไฮ่ (Guan Hai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นแม่ทัพของกบฏโพกผ้าเหลือง หลังจากที่กบฏโพกผ้าเหลืองในยุคแรกถูกกวาดล้างกวนไฮก็ได้กลายเป็นโจรป่าจนกระทั่งได้มีการฟื้นคืนชีพกบฏโพกผ้าเหลืองขึ้นมาอีกครั้ง ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนไฮ · ดูเพิ่มเติม »

กวนเหล็ง

กวนเหล็ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กวน หนิง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นลูกชายคนโตของกวนเต๋งซึ่งอาศัยอยู่ในป่าบริเวณใกล้เมืองกิจิ๋ว เป็นพี่ชายแท้ ๆ ของกวนเป๋ง เมื่อกวนอูได้เดินทางไปตามเล่าปี่ซึ่งกำลังอยู่กับอ้วนเสี้ยวที่เมืองกิจิ๋ว กวนอูได้ให้ซุนเขียนเข้าไปหาเล่าปี่ ส่วนตนเข้าไปขอพักค้างคืนที่บ้านของกวนเต๋ง กวนเต๋งได้ยินชื่อเสียงของกวนอูมานานจึงเรียกกวนเหล็งกับกวนเป๋งผู้บุตรมาคำนับกวนอู ต่อมาเมื่อเล่าปี่ได้เดินทางมาพบกวนอูที่บ้านของกวนเต๋งและจะลาไป กวนเต๋งได้มอบกวนเป๋งให้เป็นบุตรบุญธรรมของกวนอูให้เดินทางติดตามไปด้วยกัน ส่วนกวนเหล็งยังคงอยู่กับกวนเต๋งผู้บิดา ชื่อของกวนเหล็งไม่ปรากฏในจดหมายเหตุสามก๊ก คาดว่าเป็นตัวละครที่ล่อกวนตงสมมติขึ้นในวรรรณกรรมสามก๊ก ในสามก๊กฉบับบรีวิตต์ เทย์เลอร์ ออนไลน์ สะกดชื่อของกวนเหล็งเป็น Guan Neng จากชื่อที่ถูกต้องที่เขียนว่า Guan Ning คาดว่าเพื่อไม่ให้ซ้ำกับชื่อของก่วนหนิง เพื่อนสนิทของฮัวหิม ซึ่งสะกดชื่อว่า Guan Ning เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนเหล็ง · ดูเพิ่มเติม »

กวนเต๋ง

กวนเต๋ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กวนติ้ง (Guan Ding) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นบิดาของกวนเหล็งและกวนเป๋ง อาศัยอยู่บริเวณใกล้เมืองกิจิ๋ว เมื่อกวนอูได้เดินทางไปตามเล่าปี่ซึ่งกำลังอยู่กับอ้วนเสี้ยวที่เมืองกิจิ๋ว กวนอูได้ให้ซุนเขียนเข้าไปหาเล่าปี่ ส่วนตนเข้าไปขอพักค้างคืนที่บ้านของกวนเต๋ง กวนเต๋งได้ยินชื่อเสียงของกวนอูมานานจึงกล่าวว่า "ท่านกับเราเป็นแซ่เดียวกัน แต่ก่อนนั้นเราก็ได้ยินลืออยู่ว่าท่านมีฝีมือกล้าหาญ ประกอบทั้งความสัตย์ซื่อ ซึ่งได้พบท่านนี้เป็นบุญของเรา"เล่าปี่พบจูล่ง, สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เล่ม 2, เจ้าพระยาพระคลัง (หน), สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร,..

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนเต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กวนเป๋ง

กวนเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 220)บันทึกจือจื้อทงเจี้ยนระบุว่ากวนเป๋งถูกจับและถูกประหารในเดือน 12 ปีที่ 24 ของศักราชเจี้ยนอัน (ค.ศ. 196-220) ในรัชสมัยของพระเจ้าเหี้ยนเต้ ตามเนื้อความในบันทึกจือจื้อทงเจี้ยน เล่มที่ 68 ดังนี้: (... 十二月,璋司馬馬忠獲羽及其子平於章鄉,斬之,遂定荊州。) ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนมกราคม..

ใหม่!!: เล่าปี่และกวนเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนจ้าน

กองซุนจ้าน มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนจ้าน (Gongsun Zan) มีชื่อรองว่า โป๋กุย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองปักเป๋ง กองทัพส่วนใหญ่ของกองซุนจ้านส่วนใหญ่ขี่ม้าสีขาว เนื่องจากกองซุนจ้านปราบพวกชนเผ่าพื้นเมืองเกียง เข้าผนวกทัพของตน กองซุนจ้านเป็นเพื่อนกับเล่าปี่มาตั้งแต่ครั้งยังเรียนหนังสือด้วยกัน ในสงครามปราบตั๋งโต๊ะ ในที่ประชุมพล อ้วนเสี้ยวถามว่าคนที่ยืนอยู่ข้างหลังกองซุนจ้านเป็นใคร กองซุนจ้านจึงแนะนำว่า ผู้นี้เป็นสหายข้าพเจ้า ชื่อเล่าปี่ เป็นเชื้อสายราชวงศ์ฮั่น บรรดาขุนพลจึงได้รู้จักเล่าปี่เป็นครั้งแรก และเป็นที่มาของวีรกรรมกวนอู เมื่ออาสาตัดหัวฮัวหยงได้โดยที่สุราที่โจโฉรินอวยพรให้ ยังอุ่น ๆ อยู่ เมื่อครั้งเล่าปี่ตกอับ กองซุนจ้านได้เขียนฎีกาทูลฮ่องเต้ ให้อภัยโทษแก่เล่าปี่ ต่อมาอ้วนเสี้ยวอยากได้กิจิ๋ว ซึ่งเจ้าเมืองกิจิ๋วคือฮันฮก เป็นคนอ่อนแอ อ้วนเสี้ยวคิดแผนการไม่ออก ฮองกี๋จึงแนะแผนการใช้กองซุนจ้านนำทัพมา แล้วให้อ้วนเสี้ยวนำทัพไปกิจิ๋ว อ้างว่ามาช่วย สุดท้ายอ้วนเสี้ยวยึดเมืองกิจิ๋วไว้เอง กองซุนจ้านส่งกองซุนอวดน้องชายตนไปเจรจา แต่กลับถูกทหารอ้วนเสี้ยวปลอมเป็นทหารตั๋งโต๊ะดักยิงตาย กองซุนจ้านโกรธเป็นอย่างมาก จึงได้รบกับอ้วนเสี้ยวอยู่หลายครั้ง เมื่อครั้งกองซุนจ้านนำทัพมาเผชิญหน้ากับกองทัพของอ้วนเสี้ยวที่สะพานจีเกี้ยว บุนทิวนายทหารเอกของอ้วนเสี้ยว ได้บุกมาจับกองซุนจ้าน จนกองซุนจ้านจนตรอก แต่ดีที่จูล่ง มาช่วยไว้ทันและได้เป็นทหารของกองซุนจ้านในกาลต่อมา ภายหลังกองซุนจ้านสติวิปลาส ไม่ดูแลลูกน้องของตนเองให้ดี เมื่ออ้วนเสี้ยวยกทัพมา ก็ไม่ส่งทหารไปช่วยเหล่าเมืองขึ้น จนสุดท้ายอ้วนเสี้ยวบุกมาถึงเมืองอี้จิง กองซุนจ้านสั่งทหารสร้างกำแพงแน่นหนา แต่ก็ไม่วาย อ้วนเสี้ยวส่งทหารขุดอุโมงค์ไปจับกองซุนจ้าน กองซุนจ้านเมื่อจนตรอก จึงฆ่าบุตรและภรรยา และก็ฆ่าตัวตาย ในปี พ.ศ. 742 อันเป็นปีเดียวกับที่อ้วนสุด น้องชายอ้วนเสี้ยวตาย รูปกองซุนจ้านจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 กองซุนจ้าน.

ใหม่!!: เล่าปี่และกองซุนจ้าน · ดูเพิ่มเติม »

กันหยง

กันหยง หรือ ตันหยง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าเจี่ยนหยง (Jian Yong) มีชื่อรองว่าเสี่ยนเหอ (ฺXianhe) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เสนาธิการของเล่าปี่ รับใช้เล่าปี่ตั้งแต่เริ่มตั้งตัว เป็นคนเฉลียวฉลาด กันหยงผู้นี้เป็นคนแนะนำวิธีหลีกหนีจากอ้วนเสี้ยว ในเวลานั้น เล่าปี่อยู่กับอ้วนเสี้ยว เพราะโจโฉตีเมืองชีจิ๋วของตนแตก โดยอ้างว่าจะไปเกลี้ยกล่อมเล่าเปียวให้สวามิภักดิ์ต่ออ้วนเสี้ยว.

ใหม่!!: เล่าปี่และกันหยง · ดูเพิ่มเติม »

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่เป็นการทัพของขุนศึกเล่าปี่เพื่อเข้ายึดครองเอ๊กจิ๋วที่ผู้ว่าราชการเล่าเจี้ยงปกครองในราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตอนปลาย การทัพนี้เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เล่าปี่และการยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานชีจิ๋วของโจโฉ

การรุกรานชีจิ๋วของโจโฉ (Cao Cao Invasion of Xu Province) สงครามที่เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เล่าปี่และการรุกรานชีจิ๋วของโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง

การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง (Lü Meng's invasion of Jing Province) สงครามครั้งสุดท้ายในยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ก่อนจะเข้าสู่ ยุคสามก๊ก โดยเป็นการปะทะกันระหว่างกองทัพง่อก๊กภายใต้การนำของลิบองและกองทัพจ๊กก๊กภายใต้การนำของกวนอูและกวนเป๋ง สงครามครั้งนี้สืบเนื่องมาจาก ยุทธการที่อ้วนเซีย โดยกวนอูได้ไล่ติดตามกองทัพของ โจหยิน มาจนถึงกับดักที่ลิบองได้วางเอาไว้จนกวนอูและกวนเป๋งลูกบุญธรรมถูกจับตัวได้โดยไม่มีกองหนุนมาช่วยเหลือเนื่องจาก บิฮอง และ สูหยิน รองแม่ทัพกลับแปรพักตร์ไปเข้ากับง่อก๊กทางด้านซุนกวนได้พยายามเกลี้ยกล่อมกวนอูและกวนเป๋งให้มาเข้ากับง่อก๊กแต่ทั้งสองได้ปฏิเสธไปจึงถูกประหารชีวิตพร้อมกับส่งหัวของกวนอูไปให้ โจโฉ เพื่อให้ เล่าปี่ เข้าใจโจโฉผิดแต่เล่าปี่ไม่หลงกลซึ่งเหตุการณ์นี้ได้นำไปสู่ ยุทธการที่อิเหลง ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และการรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง · ดูเพิ่มเติม »

การทัพปราบอ้วนสุด

การทัพปราบอ้วนสุด (Campaign against Yuan Shu) การรบที่เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เล่าปี่และการทัพปราบอ้วนสุด · ดูเพิ่มเติม »

การทัพปราบตั๋งโต๊ะ

ศึกปราบตั๋งโต๊ะ เป็นหนึ่งในสงครามที่สำคัญในยุคสามก๊ก สงครามครั้งนี้ได้เกิดขึ้นเมื่อจอมทรราชตั๋งโต๊ะได้สร้างความวุ่นวายในราชสำนักด้วยการปลดห้องจูเปียนออกจากราชสมบัติและตั้งห้องจูเหียบ พระราชอนุชาขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้และขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนทำให้มีอำนาจบาตรใหญ่ในราชสำนัก เหล่าขุนนางต่างหวั่นเกรงกลัวอำนาจของตั๊งโต๊ะ แต่โจโฉได้อาสาที่จะลอบสังหารแต่ไม่สำเร็จจึงหนีไปยังบ้านเกิดขายทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตนเป็นทุนเพื่อรับทหารอาสาสมัครจำนวนหนึ่ง จากนั้นไปสมทบกับอ้วนเสี้ยวและส่งสาส์นไปยังเมืองต่างๆให้มาช่วยรบเพื่อโค่นล้มอำนาจของตั๋งโต๊ะ ปรากฏว่า มีหัวเมืองทั้งหมดสิบแปดหัวเมืองได้เข้าร่วมรบในศึกครั้งนี้ ผลลัพธ์ปรากฏว่ากองทัพผสมสิบแปดหัวเมืองสามารถเอาชนะกองทัพตั๊งโต๊ะได้ในด่านเฮาโลก๋วนและกำลังจะบุกตีเมืองลกเอี๋ยงอันเป็นราชธานี แต่ตั๊งโต๊ะได้อัญเชิญพระเจ้าเหี้ยนเต้ไปยังเมืองเตียงอันและสั่งให้ทหารของตนไปปล้นฆ่าราษฏรในเมืองและริบทรัพย์สินมาทั้งหมด เผาลกเอี๋ยงให้ราบ จากนั้นก็ได้สร้างเตียงฮันเป็นราชธานีใหม่โดยนำเงินที่ปล้นมาเป็นทุน ส่วนกองทัพของสิบแปดหัวเมืองไม่ได้คิดตามไปตีเตียงอันแต่ก็ได้มีแตกแยกกันทำให้กองทัพพากันสลายตัวในที่สุด หมวดหมู่:สามก๊ก หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และการทัพปราบตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

กำฮูหยิน

กำฮูหยิน (เสียชีวิตราวปี ค.ศ. 210) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากานฟูเหยิน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นภรรยาหลวงของเล่าปี่ จักรพรรดิและผู้สถาปนาจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และกำฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

กำเหลง

กำเหลง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากานหนิง (Gan Ning) มีชื่อรองว่าซิงป้า (ฺXingba) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นแม่ทัพที่อาจหาญ และบ้าบิ่นที่สุดคนหนึ่งในเรื่อง สามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และกำเหลง · ดูเพิ่มเติม »

กิมสวน

กิมสวน (เสียชีวิต ค.ศ. 209) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จินเสฺวียน มีชื่อรองว่าเยฺหวียนจี เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนศึกในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นเจ้าเมืองบุเหลงซึ่งเป็นหัวเมืองหนึ่งในแคว้นเกงจิ๋ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และกิมสวน · ดูเพิ่มเติม »

กิเหลง

กิเหลง (Ji Ling) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กขุนพลของอ้วนสุด เป็นชาวซานตุง มีอาวุธเป็นง้าว 3 คม หนัก 50 ชั่ง เมื่อเล่าปี่ยกมาตีลำหยง อ้วนสุดได้ให้กิเหลงเป็นแม่ทัพหน้าต้านเล่าปี่ กิเหลงปะทะกับกวนอู รบไม่แพ้ชนะกัน ต่อมาเล่าปี่ถูกลิโป้ยึดเมืองชีจิ๋ว ลิโป้ให้เล่าปี่อยู่เมืองเสียวพ่าย อ้วนสุดได้ให้กิเหลงเป็นแม่ทัพหน้านำทหารสิบหมื่นไปตีเมืองเสียวพ่าย เล่าปี่จึงส่งจดหมายไปขอความช่วยเหลือจากลิโป้ ลิโป้จึงเรียกทั้งเล่าปี่และกิเหลงมาที่ค่ายของตนและอ้างมติสวรรค์ยิงเกาทัณฑ์ให้โดนปลายทวน โดยนำทวนไปปักที่ประตูค่ายห่างจากจุดที่ลิโป้ยืน 150 ก้าว ถ้ายิงเกาทัณฑ์ไม่โดนปลายทวนให้ทั้งสองทัพทำสงครามกันต่อไปโดยลิโป้ไม่ขอยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป แต่ถ้ายิงถูกปลายทวนทั้งสองฝ่ายต้องเลิกรบกัน ผลปรากฏว่าลิโป้ยิงถูกปลายทวนได้อย่างแม่นยำ ทำให้เล่าปี่รอดจากการโจมตีของกิเหลง ต่อมาเล่าปี่ยกมาตีอ้วนสุดที่กำลังเดินทัพไปหาอ้วนเสี้ยวผู้พี่ อ้วนสุดได้ให้กิเหลงออกรบ กิเหลงรบกับเตียวหุยและถูกเตียวหุยฆ่าต.

ใหม่!!: เล่าปี่และกิเหลง · ดูเพิ่มเติม »

กุยห้วย

กุยห้วย (Guo Huai) หรือ กวยหวย (ชื่อในสามก๊กฉบับพระยาคลัง) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และกุยห้วย · ดูเพิ่มเติม »

กุยแก

กุยแก (Guo Jia) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ยอดกุนซือแห่งวุยก๊ก เป็นชาวเมืองอิ่งชวน เอี๋ยงตี๋ (เมืองอวี๋ มณฑลเหอหนานในปัจจุบัน) ชื่อรองฟ่งเสี้ยว เดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่อ้วนเสี้ยวเป็นผู้นำที่ใช้คนไม่เป็น กุยแกจึงมาอยู่กับโจโฉในวัยเพียง 27 ปี ด้วยการแนะนำของซุนฮก กุยแกเป็นนักวางแผนคนสำคัญ เป็นผู้สรุปข้อดี 10 ประการของโจโฉ และสรุปข้อด้อย 10 ประการของอ้วนเสี้ยวเปรียบเทียบให้โจโฉฟัง ซึ่งเป็นแรงดลใจให้โจโฉทำสงครามแตกหักกับอ้วนเสี้ยว แม้จะมีกำลังคนน้อยกว่าอ้วนเสี้ยวถึง 10:1 แต่โจโฉเอาชนะอ้วนเสี้ยวได้ กุยแกเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่าเฉลียวฉลาดมาก อาจเทียบได้กับขงเบ้งของเล่าปี่ ทว่าทั้งคู่ไม่มีโอกาสได้ประชันฝีมือกัน เพราะกุยแกเสียชีวิตเสียก่อน ด้วยป่วยตายที่เมืองลกเอี๋ยงในวัยเพียง 38 ปี ระหว่างที่โจโฉทำสงครามติดตามอ้วนซง และอ้วนถำ บุตรชายของอ้วนเสี้ยว ที่หนีไป ภายหลังอ้วนเสี้ยวตายไปแล้ว ก่อนตาย กุยแกได้เขียนจดหมายถึงโจโฉว่า ไม่จำเป็นต้องไล่ติดตามคนทั้ง 2 ไปไกล เพราะไม่นานทั้ง 2 จะแตกกันเองและจะมีผู้จัดการให้ในที่สุด ซึ่งก็ปรากฏเป็นจริงดังคำของกุยแก เพราะเมื่ออ้วนซงและอ้วนฮีหนีไปอยู่กับกองซุนข้อง กองซุนข้องระแวงคนทั้ง 2 อยู่แล้ว จึงฆ่าและตัดหัวมามอบให้แก่โจโฉ เมื่อกุยแกตาย โจโฉร่ำไห้อาลัยมาก รำพึงรำพันว่า กุยแกตายแต่ยังหนุ่ม เหมือนสวรรค์กลั่นแกล้งตน และอีกครั้งหลังพ่ายแพ้ย่อยยับจากศึกเซ็กเพ็ก โจโฉรำพันว่า ถ้ากุยแกยังอยู่จะต้องห้ามปรามตน.

ใหม่!!: เล่าปี่และกุยแก · ดูเพิ่มเติม »

ก๋งเต๋า

ก๋งเต๋า มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กงตู (Gong Du) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพของอ้วนเสี้ยวซึ่งในอดีตเคยเป็นแม่ทัพของ กบฏโพกผ้าเหลือง มาก่อน เมื่อกองทัพกบฏโพกผ้าเหลืองถูกปราบปรามจนราบคาบก๋งเต๋าจึงได้มารับใช้อ้วนเสี้ยวผู้ตรวจการแห่งกิจิ๋วใน ศึกกัวต๋อ ก๋งเต๋าถูกส่งไปช่วย เล่าปี่ ในการโจมตีเมืองยีหลำซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของ โจโฉ และได้ปะทะกับ แฮหัวเอี๋ยน แม่ทัพมากฝีมือของโจโฉแต่สู้กันได้ไม่นานก็ถูกแฮหัวเอี๋ยนสังหารเมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และก๋งเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเสฉวน

มณฑลเสฉวน หรือ ซื่อชวน หรือชื่อย่อว่า ชวน(川)หรือ สู่(蜀)เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศจีน มีเมืองเอกชื่อเฉิงตู มณฑลเสฉวนอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนตอนบนของแม่น้ำแยงซีเกียง มีพื้นที่ 485,000 ตาราง ก.ม. มีประชากรประมาณ 87,250,000 คน นับเป็นมณฑลที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของจีน ทั้งขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร ความหนาแน่น 180/ก.ม. จีดีพี 655.6 พันล้านเหรินหมินปี้ ต่อประชากร 7,510 ชื่อ "เสฉวน" มีความหมายว่า "แม่น้ำสี่สาย" เพราะมณฑลเสฉวนตั้งอยู่บนพื้นที่ของแม่น้ำ 3 สายมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำแยงซีเกียง, แม่น้ำหลินเจียง, แม่น้ำจินซางเจียง สภาพอากาศเป็นแบบกึ่งร้อนชื้น สภาพโดยทั่วไปจะมีความชื้นในอากาศสูง สภาพอากาศจึงค่อนข้างครึ้มไม่ค่อยมีแสงแดด โดยในรอบสัปดาห์จะมีแสงแดดหรือเห็นพระอาทิตย์เพียงไม่กี่วัน แต่จะมีหมอกปกคลุมเป็นปกติ จนได้รับฉายาว่า "เมืองในหมอก" หรือ "หมาเห่าพระอาทิตย์" และได้รับการกล่าวขานว่า เพราะสภาพอากาศเป็นเช่นนี้ ผู้หญิงในมณฑลเสฉวนมีผิวสวยที่สุดในประเทศจีน ในทางประวัติศาสตร์เคยเป็นราชธานีก๊กสู่ฮั่นของเล่าปี่และขงเบ้งในสมัยสามก๊ก ปลายราชวงศ์ฮั่น ขงเบ้งได้เลือกเอาเสฉวนเป็นราชธานีของก๊กสู่ เพื่อหมายฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: เล่าปี่และมณฑลเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

ม้า

ม้า เป็นชนิดย่อยหนึ่งในสองชนิดของ Equus ferus หรือม้าป่าที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกีบคี่ในวงศ์ Equidae ม้ามีวิวัฒนาการมากว่า 45 ถึง 55 ล้านปีจากสิ่งมีชีวิตหลายกีบเท้าขนาดเล็กสู่สัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ในปัจจุบัน มนุษย์เริ่มนำม้ามาเลี้ยงเมื่อราว 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และเชื่อว่าการเลี้ยงแพร่หลายเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ม้าชนิดย่อย caballus เป็นม้าบ้านแม้ว่าจะมีประชากรม้าบ้านบางส่วนจะอาศัยอยู่ในป่า เช่น ม้าเถื่อน (feral horses) ม้าเถื่อนไม่ใช่ม้าป่าที่แท้จริง ดังเช่นม้าป่ามองโกเลียซึ่งถูกแบ่งแยกออกมาเป็นชนิดย่อยและเป็นชนิดเดียวที่เหลืออยู่ของม้าป่าที่แท้จริง คำว่าม้าเถื่อนใช้เพื่อแสดงว่าม้านี้ไม่ใช่ม้าบ้าน มีคำศัพท์เฉพาะมากมายที่ใช้อธิบายแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับม้า ครอบคลุมจากกายวิภาคถึงช่วงชีวิต ขนาด สี สัญลักษณ์ การเพาะพันธุ์ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม กายวิภาคของม้าช่วยให้ม้าใช้ความเร็วในการหนีนักล่า และม้ายังพัฒนาความสมดุลได้อย่างยอดเยี่ยมและสัญชาตญาณสู้หรือถอยที่แข็งแกร่ง ม้ายังมีลักษณะพิเศษเพื่อใช้สำหรับหลบหลีกนักล่า คือ ม้าสามารถยืนหลับหรือล้มตัวลงนอนหลับก็ได้ ม้าตัวเมียจะอุ้มท้องประมาณ 11 เดือน ลูกม้าจะยืนและวิ่งได้ในเวลาไม่นานหลังกำเนิด ม้าบ้านจำนวนมากจะเริ่มฝึกภายใต้อานม้าหรือบังเหียนระหว่างอายุสองถึงสี่ปี ม้าจะโตเต็มที่เมื่ออายุห้าปี และมีช่วงอายุประมาณ 25 ถึง 30 ปี สายพันธุ์ม้าแบ่งคร่าว ๆ ออกเป็น 3 ประเภทตามลักษณะนิสัย พวก "เลือดร้อน (hot blood) " ที่เร็ว ทนทาน "เลือดเย็น (cold blood) " เช่น ม้าแคระ และม้าพันธุ์เล็กบางพันธุ์ ที่ช้าแต่มั่นคง ทำงานหนัก และ "เลือดอุ่น (warmblood) " ที่พัฒนามาจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างเลือดร้อนและเลือดเย็น เป็นการเพาะพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานพิเศษบางประการ โดยเฉพาะในยุโรป ม้าบ้านมีมากกว่า 300 พันธุ์ในปัจจุบัน เป็นการพัฒนาเพื่อการใช้งานที่ต่างกันไป ม้าและมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างหลากหลายทั้งในการแข่งขันกีฬาและงานที่ไม่ใช่กิจกรรมสันทนาการ เช่น งานตำรวจ การเกษตร การบันเทิง และการบำบัดรักษา ในอดีต มีการนำม้ามาใช้งานในสงคราม ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการพัฒนาเทคนิคการขับขี่ที่หลากหลาย โดยใช้ลักษณะที่แตกต่างของอุปกรณ์และวิธีการของการควบคุม มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างได้จากม้า ประกอบด้วย เนื้อ นม หนัง ขน กระดูก และยาที่สกัดมาจากน้ำปัสสาวะของม้าตัวเมียที่ตั้งครรภ์ เทพนิยายเกี่ยวกับม้า เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ถูกวีรบุรุษเพอร์ซีอุสฟันคอขาดตาย ในขณะที่นางสิ้นใจตายนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลยซักคน ตอนที่มันเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่มันวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงาม คือน้ำพุพีเรเนียน (Pyrenean spring).

ใหม่!!: เล่าปี่และม้า · ดูเพิ่มเติม »

ม้าต้าย

ม้าต้าย (Ma Dai; ม้าต้าย (馬岱) เป็นขุนพลแห่งจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก ในอดีตนั้น เขาเป็นทหารเอกรับใช้ผู้เป็นลุง คือ ม้าเท้งและม้าเฉียว บุตรคนโตของม้าเท้ง เมื่อม้าเท้งเข้าเมืองหลวงตามคำเชิญของโจโฉ ม้าต้ายได้ติดตามไปด้วย เมื่อม้าเท้งถูกจับโดยกลลวงของโจโฉ เขาจึงหนีออกมาจากเมืองหลวง โดยการปลอมตัวได้สำเร็จ ม้าต้ายมีชื่อเสียงโด่งดังจากการสังหารกบฏอุยเอี๋ยน จากการวางแผนของขงเบ้งและเกียงอุย เมื่ออุยเอี๋ยนก่อกบฏ เขาลวงอุยเอี๋ยนโดยการแสร้งทำเป็นเข้าร่วมทัพกบฏ หลังจากนั้นเมื่อได้โอกาส เขาจึงลอบเข้าไปด้านหลังของอุยเอี๋ยนและสังหารเขาเสีย รางวัลที่เขาได้รับสำหรับการที่เขาสังหารอุยเอี๋ยนก็คือบรรดาศักดิ์ที่ริบมาจากอุยเอี๋ยนนั่นเอง หลังจากที่เล่าปี่ ฮ่องเต้แห่งเสฉวนสิ้นพระชนม์ ม้าต้ายนั้นเป็นแม่ทัพที่ซื่อสัตย์มากผู้หนึ่งของขงเบ้งและเขายังมีส่วนร่วมในชัยชนะสงครามม่านใต้ที่รบกับเบ้งเฮ็กอย่างมาก ไม่แพ้จูล่งและอุยเอี๋ยนเลยทีเดียว.

ใหม่!!: เล่าปี่และม้าต้าย · ดูเพิ่มเติม »

ม้าเลี้ยง

ม้าเลี้ยง (Ma Liang) เป็นชาวเมืองซงหยง ในวัยเด็กมีชื่อเรียก "คนคิ้วขาว" ซึ่งหมายความถึงผู้เก่งที่สุด ภายหลังได้รับใช้เล่าปี่ สร้างความดีความชอบมากมาย เป็นนักการทูตในการเจรจากับซุนกวน ครองสี่หัวเมืองทางใต้ และสามารถเกลี้ยกล่อมสะโมโขให้มาร่วมงานกับตนเอง ม้าเลี้ยง ม้าเลี้ยง.

ใหม่!!: เล่าปี่และม้าเลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

ม้าเจ๊ก

ม้าเจ๊ก (Ma Su;; ค.ศ. 190 — ค.ศ. 228) เป็นหนึ่งในที่ปรึกษาหรือกุนซือและแม่ทัพคนหนึ่งของจ๊กก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และม้าเจ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ม้าเท้ง

ม้าเท้ง (Ma Teng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริงตามประวัติศาสตร์ เป็นขุนศึก ในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และสามก๊กของจีน ปกครองเมืองเสเหลียง(มลฑลเหลียงโจว) ด้วยกันกับหันซุย น้องร่วมสาบานของเขาม้าเท้งและหันซุย ใช้ความมุมานะพยายามเป็นแรมปี เพื่อที่จะแยกตัวเป็นอิสระจากแผ่นดินส่วนกลาง ม้าเท้งเป็นบิดาของม้าเฉียวและเป็นอาของม้าต้าย ผู้ที่รับใช้ต่อจ๊กก๊กในภายหลัง.

ใหม่!!: เล่าปี่และม้าเท้ง · ดูเพิ่มเติม »

ม้าเฉียว

ม้าเฉียว (Ma Chao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริงตามประวัติศาสตร์ เชี่ยวชาญในการขี่ม้ามาก เป็น 1 ใน 5 ขุนพลพยัคฆ์แห่งจ๊กก๊ก ชื่อรองว่า เหมิงฉี เกิดที่มณฑลซานซี เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของม้าเท้ง เจ้าเมืองเสเหลียง มีความแค้นต่อโจโฉมาก เนื่องจากม้าเท้งเป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่วมลงชื่อกำจัดโจโฉตามหนังสือเลือดของพระเจ้าเหี้ยนเต้ ซึ่งเป็นบุคคลที่โจโฉระแวงอยู่ตลอดเวลาว่าจะตลบหลังตีเมืองลกเอี๋ยง ตอนตนออกไปทำศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงทำอุบายขอโองการฮ่องเต้แต่งตั้งตำแหน่งแม่ทัพปราบทักษิณ ให้ม้าเท้งเข้ามาเมืองฮูโต๋รับตำแหน่งแล้วจะจับฆ่า แต่ม้าเท้งซ้อนแผนไว้ ผลสุดท้ายแผนแตกจึงถูกโจโฉจับฆ่าตายทั้งตัวและน้องชาย ม้าต้าย ญาติผู้น้องเป็นผู้เดียวที่หลบหนีมาได้ จึงรีบไปบอกม้าเฉียว ม้าเฉียวแค้นมากประกาศจะตามล้างโจโฉให้ได้ จึงรวบรวมทัพของตนผสมกับชนเผ่าเกี๋ยงบุกตีโจโฉ ทำให้โจโฉต้องเตลิดหนีด้วยการตัดหนวดทิ้ง และถอดเสื้อคลุมทิ้ง แต่โจหองเข้ามาขวาง จึงหลบหนีไปได้หวุดหวิด โจโฉได้กล่าวว่า ม้าเฉียวเก่งกล้าไม่แพ้ลิโป้ในอดีต จากนั้นม้าเฉียวจึงไปร่วมกับหันซุยทำศึกกับโจโฉ แต่ด้วยอุบายของโจโฉ ที่รอให้น้ำแข็งที่เกาะกุมกำแพงเมืองหนาแน่น และทำให้ม้าเฉียวระแวงหันซุย จึงชนะในที่สุด ม้าเฉียวจึงต้องร่อนเร่พเนจรและได้เข้าร่วมกับเตียวล่อ ได้เข้ารบกับจ๊กก๊ก โดยประลองฝีมือกับเตียวหุย รบถึงกัน 100 เพลง ก็ไม่มีใครแพ้-ชนะ เนื่องจากฝีมือสูสีกันมาก ด้วยอุบายของขงเบ้ง ทำให้ได้ม้าเฉียวมาอยู่กับฝ่ายจ๊กก๊ก เมื่อครั้งที่เล่าปี่ยกทัพเข้าตีเซงโต๋ในเสฉวนของเล่าเจี้ยง ขงเบ้งได้ให้ม้าเฉียวเป็นทัพหน้า เพียงแค่ได้ยินชื่อของม้าเฉียว ทหารของเล่าเจี้ยงก็ยอมแพ้ไม่ต้องรบทันที เพราะนับถือม้าเฉียวมากดุจเทพเจ้าแห่งสงคราม ม้าเฉียวเสียชีวิตอย่างกะทันหัน ขณะตามขงเบ้งลงใต้ปราบเบ้งเฮ็กด้วยวัยเพียง 45 ปี (แต่ตามประวัติศาตร์จริง ม้าเฉียวตายด้วยโรคภัยก่อนขงเบ้ง1ปี).

ใหม่!!: เล่าปี่และม้าเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่กัวต๋อ

ึกกัวต๋อ (官渡之戰, Battle of Guandu) เกิดขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำฮวงโหในปี ค.ศ. 200 เป็นศึกที่โจโฉได้ชัยชนะต่ออ้วนเสี้ยว จุดตัดสินผลการรบของศึกนี้อยู่ที่การลอบโจมตีทัพขนเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่อัวเจ๋า ทำให้ทัพอ้วนเสี้ยวขาดเสบียงและเกิดความระส่ำระสายไปทั้งกองทัพ จากแผนการของเขาฮิว ซึ่งเดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่มาอยู่ข้างโจโฉ เพราะคาดการณ์ว่าอ้วนเสี้ยวต่อไปจะพ่ายแพ้แน่ ทั้ง ๆ ที่เริ่มต้นกองทัพของอ้วนเสี้ยวมีมากกว่าโจโฉถึง 10:1 แต่โจโฉนำทัพอย่างใจเย็นค่อย ๆ รุกคืบ และฝ่ายอ้วนเสี้ยวก็โลเลไม่ยอมทำศึกแตกหัก จึงต้องประสบความพ่ายแพ้ในที่สุด ภายหลังศึกนี้ อ้วนเสี้ยวเสียใจมาก อีกทั้งลูกชาย 2 คน คือ อ้วนซีกับอ้วนถำก็บาดหมางถึงขนาดฆ่ากัน จนต้องกระอักเลือดชีวิตในเวลาต่อมาไม่นาน ศึกนี้นำมาสู่การล่มสลายของตระกูลอ้วน เมื่อบุคคลสำคัญ ๆ ในตระกูลได้ล้มตายหมดสิ้น อีกทั้งเป็นศึกที่โจโฉได้สร้างชื่อเสียงไว้มาก และทำให้ได้ครองอำนาจใหญ่แต่เพียงผู้เดียวในดินแดนภาคเหนือของจีน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโจโฉใช้เวลาทำศึกครั้งนี้นานถึง 7 ปี ในสามก๊ก เริ่มแรกจากที่เล่าปี่ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในพระราชวัง จากที่มีความดีความชอบในการปราบตั๋งโต๊ะและลิโป้ พระองค์ทรงให้ตรวจพงศาวลี พบว่าเล่าปี่สืบสายเชื้อสายมาจากตงสานเชงอ๋องจริง จึงให้ความเคารพเล่าปี่และทรงเรียกเล่าปี่ว่า พระเจ้าอา และเชื้อเชิญให้ไปปรึกษาราชการเป็นการส่วนพระองค์ ทำให้โจโฉเกิดความระแวงในตัวเล่าปี่ อีกทั้งในเวลาเดียวกันนั้น ตังสินร่วมมือกับเกียดเป๋งหมายจะลอบฆ่าโจโฉ แต่ไม่สำเร็จ โจโฉยิ่งเพิ่มความระแวงในตัวผู้ที่อยู่ตรงกันข้าม เล่าปี่จึงตัดสินใจหนีออกจากเมืองไปเข้าร่วมกับอ้วนเสี้ยว เพื่อชักชวนให้ปราบโจโฉ โจโฉได้ทำการฝังศพอ้วนเสี้ยวอย่างสมเกียรติ และได้ซื้อใจราษฎรด้วยการงดภาษีถึง 1 ปี และต่อมาได้ร่างโคลงถึงการรบในครั้งนี้ด้วย ที่เขาจรดทะเลเช่นเดียวกับฮั่นอู่ตี้ อดีตฮ่องเต้ผู้ยิ่งใหญ่ในราชวงศ์ฮั่นเคยกระทำ หลังจากชนะศึกที่นี่เช่นกัน สำหรับฝ่ายเล่าปี่ นี่เป็นศึกอย่างเป็นทางการครั้งแรกที่ทำให้เล่าปี่แตกหักกับฝ่ายโจโฉอย่างสิ้นเชิง ซึ่งนับต่อจากนี้ทั้งคู่จะขับเขี่ยวกันไปตลอ.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่กัวต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่อิเหลง

ึกอิเหลง (Battle of Xiaoting) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่อิเหลง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่อ้วนเซีย

ึกอ้วนเซีย (The Battle of Fancheng ปี ค.ศ. 219) เป็นศึกที่มีชื่อเสียงมากอีกศึกหนึ่งในสามก๊ก เป็นสงครามระหว่างจ๊กและวุย ตามด้วยสงครามระหว่างจ๊กและง่อโดยเริ่มจากกวนอูของจ๊กก๊กบุยเมืองห้วนเสียของโจหยิน อาศัยน้ำท่วมหลากชิงล้อมเมืองไว้ แต่ต่อมาโจโฉใช้ซิหลงมาช่วยโจหยิน ในขณะเดียวกันลิบองของง่อก๊กได้วางแผนชิงเมืองเกงจิ๋ว ผลสุดท้าย กวนอูพ่ายแพ้ต่อซิหลง และเมืองเกงจิ๋วถูกลิบองยึดทำให้กวนอูต้องถอยทัพอย่างรวดเร็ว และต้องจบชีวิตในที.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่อ้วนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮันต๋ง

ยุทธการฮันต๋ง (Hanzhong Campaign) เป็นสมรภูมิรบที่นำไปสู่จุดสิ้นสุดของ ราชวงศ์ฮั่น โดยเป็นการสู้รบระหว่าง จ๊กก๊ก ของ เล่าปี่ และ วุยก๊ก ของ โจโฉ ในปี ค.ศ. 215 โจโฉ ยกกองทัพมาโจมตีฮั่นต๋งของ เตียวฬ่อ ซึ่งในที่สุดเตียวฬ่อก็ยอมแพ้ต่อโจโฉทางฝ่าย เล่าปี่ หลังจากยึด เสฉวน จาก เล่าเจี้ยง ได้ก็เตรียมพร้อมสู้รบกับโจโฉนานถึง 2 ปีเพื่อขยายดินแดน ปี ค.ศ. 217 เล่าปี่นำกำลังเข้าโจมตีฮันต๋งซึ่งมีแฮหัวเอี๋ยนเป็นผู้ดูแล หลังจากสู้รบนานถึง 2 ปีเล่าปี่ก็เข้ายึดฮันต๋งได้สำเร็จในปี ค.ศ. 219 พร้อมกับที่แฮหัวเอี๋ยนถูก ฮองตง ฆ่าตาย หลังจากเสร็จศึกนี้ ขงเบ้ง ได้เชิญเล่าปี่ให้ขึ้นเป็น ฮันต๋งอ๋อง หมวดหมู่:สามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่ฮันต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ผาแดง

แผนที่บริเวณศึก ยุทธการที่ผาแดง หรือ ศึกผาแดง (Battle of Red Cliffs) หรือ ศึกเซ็กเพ็ก หรือ ศึกเปี๊ยะเชียะ หรือ ศึกชื่อปี้ (Battle of Chìbì) เป็นสงครามที่มีความสำคัญที่สุดสงครามหนึ่งในยุคปลายราชวงศ์ฮั่นในรัชสมัยของพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของยุคสามก๊กในประเทศจีนในเวลาต่อมา ศึกผาแดงนี้เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่ผาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง

ึกทุ่งพกบ๋อง หรือ ศึกเนินพกบ๋อง (The Battle of Bowang, 博望之戰) เป็นการศึกใน วรรณกรรมเรื่องสามก๊ก เมื่อ ค.ศ. 202 และเป็นการศึกครั้งแรกของขงเบ้งที่แสดงฝีมือให้เห็นประจักษ์ ทุ่งพกบ๋อง (ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหอหนาน) เป็นช่องเขาหลังเมืองซินเอี๋ย เป็นช่องทางหนึ่งที่จะเข้าเมืองได้ เป็นทางแคบ ทางซ้ายเป็นเขา ชื่อ เขาอีสัน ทางขวาเป็นป่าชื่อ ป่าอันหลิม เมื่อแฮหัวตุ้นยกทัพเรือนแสนมาหมายจะขยี้เมืองซินเอี๋ย และตั้งทัพอยู่ห่างจากเมืองเพียง 40 ลี้ ขงเบ้งได้รับกระบี่อาญาสิทธิ์จากเล่าปี่ ให้บัญชาการทัพได้เต็มที่ ขงเบ้งได้มอบหมายให้เล่าปี่และจูล่งยกทัพไปสู้กับแฮหัวตุ้นซึ่ง ๆ หน้า แต่ต้องแสร้งแพ้เพื่อล่อให้แฮหัวตุ้นยกทัพตามเข้ามาในทุ่งพกบ๋อง เพื่อที่กวนอูและเตียวหุยที่ซ่อนทัพในป่าและเขาด้านข้างใช้ไฟเผาทั้งเป็นตามแผน โดยแต่แรกนั้น กวนอูและเตียวหุยไม่เชื่อมั่นในตัวขงเบ้ง แต่เมื่อแผนการนี้สำเร็จ ทหารของแฮหัวตุ้นเสียชีวิตในการนี้หลายหมื่นคน กวนอูและเตียวหุยก็ได้ให้ความมั่นใจและศรัทธาในตัวขงเบ้ง และหลังจากนั้นไม่นาน โจโฉก็ยกทัพหลวงมาเองเพื่อที่จะแก้แค้นในการศึกนี้ โดยให้โจหยินเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกไปที่เมืองซินเอี๋ย ซึ่งขงเบ้งก็ใช้อุบายทำให้เมืองซินเอี๋ยเป็นเมืองร้าง และใช้ไฟเผาทัพของโจโฉอีกครั้ง เมื่อทหารที่หนีรอดมาได้ก็ถูกน้ำซัดอีกครั้ง จากกวนอูที่ทลายเขื่อนกั้นแม่น้ำแปะโห ศึกนี้เรียกกันว่า ไฟเผาซินเอี๋ย การศึก 2 ครั้งนี้เป็นสิ่งพิสูจน์ให้ประจักษ์ว่า ขงเบ้ง เป็นแม่ทัพที่เหนือแม่ทัพคนอื่น ๆ เพราะสามารถใช้พลังธรรมชาติ อันได้แก่ ไฟและน้ำ มาเป็นประโยชน์ในการทำลายทัพเรือนแสนได้ โดยไม่ต้องสูญเสียทหารฝ่ายตนมากนัก และอีกครั้งที่ขงเบ้งใช้เงื่อนไขของพลังธรรมชาติ คือ หมอกและลม คราวศึกเซ็กเพ็ก ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากนี้ จึงเป็นที่มาของฉายา "ผู้หยั่งรู้ดินฟ้ามหาสมุทร".

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วน

ทธการที่ด่านแฮบังก๋วน (Battle of Jiameng Pass) สงครามใน ยุคสามก๊ก ที่เป็นความขัดแย้งระหว่าง เล่าปี่ และ เตียวฬ่อ ซึ่งสงครามครั้งนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นของการแบ่งเป็นสามก๊กอย่างชัดเจนในเวลาต่อมา ยุทธการครั้งนี่ไม่ปรากฏว่าอยู่ในจดหมายเหตุสามก๊ก จึงสันนิษฐานกันว่ายุทธการครั้งนี้น่าจะเป็นเพียงเรื่องแต่งเท่านั้น.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่แห้ฝือ

ึกปราบลิโป้ หรือ ยุทธการที่แห้ฝือ (Battle of Xiapi) สงครามครั้งสำคัญในช่วงปลายสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก อันเป็นความขัดแย้งระหว่าง โจโฉ กับ เล่าปี่ ที่จับมือกันและ ลิโป้ ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่แห้ฝือ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เขาเตงกุนสัน

ึกเขาเตงกุนสัน เป็นสงครามที่เกิดเมื่อช่วงประมาณ ค.ศ. 219 (พ.ศ. 762) เป็นสงครามระหว่าง วุยก๊ก ของ โจโฉ ที่นำทัพโดย แฮหัวเอี๋ยน และ จ๊กก๊ก ของ พระเจ้าเล่าปี่ ที่นำทัพโดย จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) และผลของสงครามครั้งนี้วุยก๊กก็ต้องสูญเสียแฮหัวเอี๋ยนที่ถูกฆ่าโดย ฮองตง ชัยชนะของศึกเขาเตงกุนสันของฝ่ายเล่าปี่ ทำให้ยึดเมืองฮันต๋งและตั้งตนเป็นอ๋องได้สำเร็.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุทธการที่เขาเตงกุนสัน · ดูเพิ่มเติม »

ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้

ราชวงศ์เว่ยเหนือ (ฟ้า) และ ราชวงศ์หลิวซ่ง (เลือดหมู) ในปี ค.ศ. 440 ราชวงศ์เหนือ-ใต้ในช่วงปี ค.ศ. 560 ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ (Northern and Southern dynasties) ยุค สงครามกลางเมือง และยุคแห่งความวุ่นวายทางการเมืองยุคหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 420 - ค.ศ. 589 ก่อนที่ จักรพรรดิสุยเหวิน ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์สุย จะสามารถพิชิต ราชวงศ์โจวเหนือ และรวบรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่นได้สำเร็จเมื่อปี ค.ศ. 589.

ใหม่!!: เล่าปี่และยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสามก๊ก

แผ่นที่แสดงอาณาเขตของแต่ละก๊กในปี พ.ศ. 805 (Wei-วุย) (Wu-ง่อ) (Shu-จ๊ก) สามก๊ก (ค.ศ. 220–280; Three Kingdoms) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่น

แผนที่แสดงอาณาเขตของเหล่าขุนศึกช่วงก่อนสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น สิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น (End of the Han Dynasty) ยุคหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน ที่ดำเนินไประหว่าง..

ใหม่!!: เล่าปี่และยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

รอง เค้ามูลคดี

รอง เค้ามูลคดี หรือ คเณศ เค้ามูลคดี (26 กันยายน พ.ศ. 2490 -) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์-ละครโทรทัศน์) ประจำปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และรอง เค้ามูลคดี · ดูเพิ่มเติม »

ราชลัญจกรจีน

ราชลัญจกรจีน (Imperial Seal of China) หรือ ตราแผ่นดินตกทอด (Heirloom Seal of the Realm) เป็นตราประทับทำจากหยกเหอชื่อปี้ (和氏璧).

ใหม่!!: เล่าปี่และราชลัญจกรจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก

ลในยุคสามก๊ก แสดงรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก รายชื่อนี้แสดงชื่อไทย อังกฤษ และจีน ของแต่ละคน บุคคลเหล่านี้นำไปสู่วรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เรื่องสามก๊ก เนื่องจากสามก๊กภาษาไทย อ่านชื่อคนด้วยสำเนียงฮกเกี้ยน แต่ภาษาอังกฤษอ่านแบบภาษาจีนกลาง การออกเสียงจึงไม่เหมือนกัน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ช รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร บ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร พ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ก รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ห รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฮ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร จ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ข รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ง รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก แสดงรายชื่อของบุคคลที่เป็นตัวละครสมมติที่ปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก รายชื่อประกอบด้วยตัวละครสมมติที่ปรากฏในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊กของล่อกวนตง (คือเป็นตัวละครที่แต่งเสริมขึ้นมา ไม่ปรากฏชื่อในหลักฐานทางประวัติศาสตร์) และชื่อของตัวละครสมมติที่ปรากฏในแหล่งอื่นที่อิงประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ชื่อตัวละครที่ปรากฏในวรรณกรรม สามก๊ก เรียงตามลำดับตามการปรากฏชื่อในวรรณกรรม แบ่งตามตอนที่ปรากฏชื่อครั้งแรก (ในรายชื่อนี้แบ่งตอนของวรรณกรรมสามก๊ก เป็น 120 ตอนตามวรรณกรรมฉบับภาษาจีน ต่างจากสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ที่แบ่งเป็น 87 ตอน).

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GO

รายละเอียดตัวละครใน อินาสึมะอีเลฟเวน GO ทั้งเกมและอะนิเม.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GO · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ใหม่!!: เล่าปี่และรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลกซุน

ลกซุน (Lu Xun; จีนตัวเต็ม: 陸遜; จีนตัวย่อ: 陆逊; พินอิน: Lù Xùn) แม่ทัพคนสำคัญอีกคนของง่อก๊ก ผู้เผาทัพใหญ่ของเล่าปี่ในศึกอิเหลงจนย่อยยับ เล่าปี่ต้องหนีซมซานไปยังเมืองเป๊กเต้และตรอมใจตายในที่สุด ซึ่งก่อนหน้านั้นเล่าปี่ได้ดูถูกลกซุนว่าเป็น"เด็กอมมือ" เพราะขณะนั้นลกซุนอายุยังน้อย (39 ปี) และไม่มีชื่อเสียงนัก ลกซุนมีชื่อรองว่า "ป๋อเหยียน" (伯言) กำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก อาศัยอยู่กับลกคัง เจ้าเมืองโลกั๋ง ผู้เป็นลุง ต่อมาอ้วนสุดขอยืมเสบียงจากลกคัง แต่ลกคังไม่ยินยอม ทำให้อ้วนสุดสั่งซุนเซ็กโจมตีเมืองโลกั๋ง ลกคังจึงส่งลกซุนและครอบครัวมาหลบภัยที่กังตั๋ง ต่อมาลกซุนได้รับราชการกับง่อก๊ก โดยเริ่มต้นเป็นขุนนางชั้นผู้น้อยในสังกัดของซุนกวน ลกซุนเป็นขุนนางบัณฑิตที่มีสติปัญญา ชำนาญพิชัยสงคราม มีผลงานในการปกครองและปราบโจร ซุนกวนชื่นชอบในความสามารถของลกซุน จึงเลื่อนตำแหน่งให้หลายครั้ง และให้แต่งงานกับบุตรสาวของซุนเซ็ก หลานสาวของตน ลกซุนเป็นผู้ที่มีส่วนสำคัญในแผนการยึดเกงจิ๋วของลิบอง ซึ่งแม้เป็นศึกใหญ่ครั้งแรกของลกซุน ก็สามารถลวงกวนอู (ซึ่งเป็นเจ้าเมืองเกงจิ๋วในขณะนั้น) ให้ตายใจ แล้วเข้ายึดเกงจิ๋วไว้ได้ เป็นเหตุให้กวนอูถูกจับและประหารชีวิต ต่อมาลกซุนได้ผู้บัญชากองทัพง่อก๊กในศึกอิเหลง ป้องกันการบุกโดยทัพใหญ่ของเล่าปี่จำนวน 750,000 คน ซึ่งยกทัพมาแก้แค้นให้กวนอูและเตียวหุย (ซึ่งถูกลอบสังหารขณะจัดเตรียมทัพ) ลกซุนใช้ยุทธวิธีเผาค่ายเล่าปี่จนย่อยยับและรุกไล่ตามเล่าปี่ แต่กลับเข้าไปหลงอยู่ในกองหินค่ายกลที่ขงเบ้งสร้างไว้ก่อนหน้า ลกซุนหาทางออกไม่ได้ แต่ได้ฮองเซ็งหงัน พ่อตาของขงเบ้งผ่านมาช่วยเหลือและเปิดเผยว่า ขงเบ้งเคยบอกก่อนหน้านี้ว่า ต่อไปจะมีแม่ทัพง่อก๊กหลงเข้ามาในนี้ ขออย่าได้ช่วย แต่ฮองเซ็งหงันได้พาลกซุนออกมาอย่างปลอดภัย ลกซุนจึงเลิกทัพกลับกังตั๋ง แม้ลกซุนมีผลงานมากมาย แต่สุดท้ายขัดแย้งกับซุนกวนเพราะสนับสนุนรัชทายาทซุนโห ทำให้ซุนป๋าบุตรของซุนกวนอีกคนไม่พอใจ ใส่ร้ายลกซุนมากมาย จนซุนกวนปลดจากตำแหน่งและส่งคนมาตำหนิต่อว่า ทำให้ลกซุนโกรธและเสียใจจนตรอมใจต.

ใหม่!!: เล่าปี่และลกซุน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก แสดงลำดับเหตุการณ์ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊ก โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) และระบุปีที่เกิดเหตุการณ์เป็นพุทธศักราช (พ.ศ.) เหตุการณ์บางเหตุการณ์อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แต่มีระบุไว้ในวรรรณกรรม.

ใหม่!!: เล่าปี่และลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ลิซก

รูปลิซกจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI ลิซก (Li Su) เป็นเสนาธิการคนสำคัญของตั๋งโต๊ะเป็นคนที่มีวาทะศิลป์เป็นเลิศ เมื่อตั๋งโต๊ะคิดปลดหองจูเปียนจากตำแหน่งฮ่องเต้ และตั้งหองจูเหียบขึ้นเป็นกษัตริย์ มีผู้ไม่เห็นด้วยหลายคน โดยเฉพาะเต๊งหงวน เจ้าเมืองเกงจิ๋ว หลายวันต่อมาเต๊งหงวนได้ยกทัพมารบกับตั๋งโต๊ะ เต๊งหงวนมีลิโป้เป็นลูกบุญธรรมและองครักษ์ ลิโป้มีฝีมือเก่งกาจสามารถตีทัพตั๋งโต๊ะจนต้องถอยกลับค่ายไป ตั๋งโต๊ะอยากได้ลิโป้เป็นขุนพลของตน ลิซกซึ่งเป็นคนบ้านเดียวกับลิโป้จึงอาสาไปเกลี้ยกล่อมลิโป้ โดยขอม้าเซ็กเธาว์และสมบัติจากตั๋งโต๊ะ เพื่อไปมัดใจลิโป้ ลิซกเกลี้ยกล่อมลิโป้ได้สำเร็จและยุให้ลิโป้สังหารเต๊งหงวนเสีย เมื่อมีลิโป้อยู่ข้างกาย ตั๋งโต๊ะจึงไม่กลัวใครอีกต่อไป กระทำการปลดหองจูเปียน และตั้งหองจูเหียบขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้ ลิซกได้ความชอบใหญ่หลวงในการเกลี้ยกล่อมลิโป้ แต่ไม่ได้บำเหน็จรางวัลอันใดจากตั๋งโต๊ะเลย จึงนึกน้อยใจอยู.

ใหม่!!: เล่าปี่และลิซก · ดูเพิ่มเติม »

ลิโป้

ลิโป้ (吕布; Lü Bu;ค.ศ.155 — ค.ศ. 198) เป็นยอดนักรบผู้ที่ได้ชื่อว่าแข็งแกร่งที่สุดในยุคสามก๊ก หรือเป็นเทพเจ้าแห่งสงคราม มีร่างที่สูงใหญ่กำยำ มีสำนวนในสามก๊กกล่าวไว้ว่า “ หยืนจงหลี่ปู้ หม่าจงชื่อทู่ ” ความหมายของประโยคนี้คือ ยอดคนต้องลิโป้ ยอดม้าต้องเซ็กเธาว์ ความแข็งแกร่งที่กลายเป็นตำนาน ในฐานะของนักรบที่เก่งที่สุดในแผ่นดินยุคสามก๊ก ทั้งยังได้รับการกล่าวว่าเป็นผู้ชำนาญศึกอย่างยิ่ง แม้แต่ เล่าปรี่, กวนอู้ และเตียวหูย ที่ร่วมมือกันสู้รบกับลิโป้ก็ยังไม่สามารถเอาชนะลิโป้ได้ โดยที่ตราบใดที่เขายังถือทวนกรีดขอบตา และนั่งอยู่บนหลังม้าเซ็กเธาว์ ก็ไม่มีใครล้มเขาลงได้ ในตามตำนาน ลิโป้แม้จะเป็นคนเก่ง แต่เป็นคนที่เลี้ยงไว้ไม่ได้ เป็นคนเห็นแก่ลาภยศ เป็นบุคคลที่เตียวหุยด่าว่าเป็น "ไอ้พ่อสามลูก" จนกลายเป็นสำนวนที่ใช้มาจนทุกวันนี้ เนื่องจากเดิมทีรับราชการอยู่กับเต๊งหงวน และเต๊งหงวนไว้ใจ ถึงกับรับเป็นบุตรบุญธรรม แต่เมื่อตั๋งโต๊ะปรารถนาจะได้ลิโป้มาอยู่กับตน ด้วยการให้เกราะทองกับม้าเซ็กเธาว์ ลิโป้ก็ยอมทรยศเต๊งหงวน มาอยู่กับตั๋งโต๊ะ ครั้นเมื่ออ้องอุ้นใช้แผนสาวงาม (เตียวเสี้ยน) ให้ลิโป้กับตั๋งโต๊ะแตกแยกกัน และลิโป้ก็เป็นผู้สังหารตั๋งโต๊ะด้วยมือตนเอง หลังจากถูกโจโฉจับตัวได้ เพราะทหารฝ่ายลิโป้ทรยศ เมื่อจะโดนประหารได้อ้อนวอนเล่าปี่ ให้บอกโจโฉว่าอย่าประหารตน แต่เล่าปี่ยืนยันให้โจโฉฆ่าลิโป้ ด้วยการยกตัวอย่างของ เต๊งหงวน กับ ตั๋งโต๊ะ ให้โจโฉได้ระลึกและสั่งประหารลิโป้ในที่สุด เป็นอันปิดฉากตำนานเทพเจ้าสงครามอันเลื่องชื่อ.

ใหม่!!: เล่าปี่และลิโป้ · ดูเพิ่มเติม »

ลิเงียม

ลิเงียม (Li Yan; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 777) ชื่อรอง เจิ้งฟาง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิง ประวัติศาสตร์ เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงตาม ประวัติศาสตร์ ขุนพลฝ่าย จ๊กก๊ก แต่เดิมเคยรับใช้เล่าเจี้ยงเป็นคนที่มีความรู้แต่ โลภมากและเห็นแก่ตัวเมื่อ เล่าเจี้ยง สละมณฑลเสฉวนให้เล่าปี่แล้ว ลิเงียมก็ได้มาอยู่กับเล่าปี่ โดยได้รับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการคลังเสบียง ในเวลาต่อมา ในสมัยพระเจ้าเล่าเสี้ยน ลิเงียมซึ่งดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคลังเสบียง ไม่คิดจะส่งเสบียงมาให้ทหารของจ๊กก๊ก ขงเบ้งคิดว่าลิเงียมทรยศจึงได้แจ้งพระเจ้าเล่าเสี้ยน พระเจ้าเล่าเสี้ยนได้ยินดังนั้นก็คิดจะกำจัดลิเงียม แต่บิฮุย ได้บอกแก่พระเจ้าเล่าเสี้ยนว่า ลิเงียมเป็นคนที่ พระเจ้าเล่าปี่ โปรด อยากใหพระองค์ไว้ชีวิตลิเงียม พระเจ้าเล่าเสี้ยนจึงปลดออกจากตำแหน่งแล้วไล่ลิเงียมออกไปนอกเมือง แล้วลิเงียมก็ตรอมใจตายที่นอกเมืองในเวลาต่อมา หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และลิเงียม · ดูเพิ่มเติม »

วอริเออร์โอโรจิ

วอริเออร์โอโรจิ (Warriors Orochi) หรือที่ในญี่ปุ่นรู้จักว่า Musō Orochi (無双OROCHI) เป็นเกมที่ผสมระหว่าง Dynasty Warriors กับ Samurai Warriors โดยมีบริษัท KOEI เป็นผู้สร้าง การเล่นนั้นเป็นรูปแบบของ Musou เกมนี้สามารถสับเปลี่ยนตัวละครระหว่างเล่นได้ โดยจะเลือกเล่นได้ 3 ตัว ผู้เล่นสามารถเลือกเนื้อเรื่องได้ 4 ฝ่ายคือ Shu (จ๊กก๊ก), Wu (ง่อก๊ก), Wei (วุยก๊ก) และ SW (ซามุไร) เกมได้เชื่อมเข้ากับระบบเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล ซึ่งได้วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่น เดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: เล่าปี่และวอริเออร์โอโรจิ · ดูเพิ่มเติม »

วอริเออร์โอโรจิ 2

วอริเออร์โอโรจิ 2 (Warriors Orochi 2) หรือที่ในญี่ปุ่นรู้จักว่า Musō Orochi 2 (無双OROCHI2) เป็นภาคที่ 2 ต่อจากภาควอริเออร์โอโรจิ ในปี 2008 เกมที่ผสมระหว่าง Dynasty Warriors กับ Samurai Warriors โดยมีบริษัท KOEI เป็นผู้สร้าง การเล่นนั้นเป็นรูปแบบของ Musou เกมนี้สามารถสับเปลี่ยนตัวละครระหว่างเล่นได้ โดยจะเลือกเล่นได้ 3 ตัว ผู้เล่นสามารถเลือกเนื้อเรื่องได้ 4 ฝ่ายคือ Shu (จ๊กก๊ก), Wu (ง่อก๊ก), Wei (วุยก๊ก) และ SW (ซามุไร) โดยภาคนี้จะมีตัวละครเพิ่มขึ้นมาอีก 7 ตัว ได่แก่ โยะชิสึเนะ มินะโมะโตะ,เจียงไท่กง,ซึงหงอคง,โอโรจิ X,ฮิมิโกะ,อุชิโอะนิ และโดะโดะเมกิ เกมนี้วางจำหน่ายในรูปแบบเพลย์สเตชัน 2 วันที่ 3 เมษายน 2008 ในญี่ปุ่น,วันที่ 19 กันยายน 2008 ในทวีปยุโรป และวันที่ 23 กันยายน 2008 ในทวีปอเมริกาเหนือ ต่อมาในรูปแบบเอกซ์บอกซ์ 360 วันที่ 4 กันยายน 2008 ในญี่ปุ่น,วันที่ 19 กันยายน 2008 ในทวีปยุโรป และวันที่ 23 กันยายน 2008 ในทวีปอเมริกาเหนือ และในรูปแบบเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล วันที่ 27 พฤศจิกายน 2008 ในญี่ปุ่น,วันที่ 28 สิงหาคม 2009 ในทวีปยุโรป และวันที่ 4 กันยายน 2009 ในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: เล่าปี่และวอริเออร์โอโรจิ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว

อุกิโยะของญี่ปุ่น แสดงให้เห็นถึงเตียวหุย ดักรอบุนเพ่ง หนึ่งในขุนพลของโจโฉที่สะพานเตียงปันเกี้ยว ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว (Battle of Changban) เป็นหนึ่งในสงครามสามก๊ก เป็นสงครามครั้งยิ่งใหญ่อีกครั้งของ เล่าปี่ และ โจโฉ เป็นจุดเริ่มต้นของศึกผาแดงอันลือลั่นในเวลาต่อม.

ใหม่!!: เล่าปี่และศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ศึกด่านเฮาโลก๋วน

ลิโป้รบกับ 3 พี่น้องร่วมสาบานกวนอู เล่าปี่ เตียวหุย ที่ด่านเฮาโลก๋วน ศึกด่านเฮาโลก๋วน หรือ ศึกประตูหูเหลา (Battle of Hulao Gate) เป็นสงครามในสมัยสามก๊กที่เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และศึกด่านเฮาโลก๋วน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย

ระเจ้าเล่าเสี้ยน หรือ หลิวส้าน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย พระมหาจักรพรรดิผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดของยุคสามก๊ก ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชสกุลเล.

ใหม่!!: เล่าปี่และสมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย · ดูเพิ่มเติม »

สะโมโข

มโข (Sha Moke) เป็นหัวหน้าชนเผ่าหนึ่งทางตอนใต้ของเกงจิ๋ว ในยุคสามก๊ก เมื่อเล่าปี่ส่งม้าเลี้ยงไปพัฒนา 4 หัวเมืองทางตอนใต้ของเกงจิ๋ว ซึ่งในบริเวณนั้นมีชนเผ่าของสะโมโขอยู่ ม้าเลี้ยงได้ส่งเสบียงไปให้ชนเผ่าของสะโมโข สะโมโขเห็นว่าม้าเลี้ยงมีความสามารถอีกทั้งมีเมตตากรุณา จึงยอมสวามิภักดิ์ต่อเล่าปี่ และได้ส่งเสบียงคืนอีกด้วย ต่อมา พระเจ้าเล่าปี่ยาตราทัพบุกกังตั๋ง เพื่อแก้แค้นให้กวนอูที่ถูกฆ่าตาย พระเจ้าเล่าปี่ให้ม้าเลี้ยงไปขอทหารของสะโมโขซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าเมืองลำมันมาช่วย สะโมโขตอบตกลง แล้วร่วมทัพกับพระเจ้าเล่าปี่ ในศึกครั้งนั้นสะโมโขยิงเกาทัณฑ์ถูกกำเหลงบาดเจ็บ และเสียชีวิตในเวลาต่อมา พระเจ้าเล่าปี่ได้ชัยในตอนต้นศึก แต่เมื่อลกซุนได้มาคุมทัพกังตั๋งรบกับพระเจ้าเล่าปี่ ก็สามารถชนะกองทหารที่มีเป็นจำนวนมากของพระเจ้าเล่าปี่ได้ ส่วนสะโมโขก็ถูกจิวท่ายสังหารในการร.

ใหม่!!: เล่าปี่และสะโมโข · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (การ์ตูน)

มก๊ก เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องยาว ที่แปลมาจาก วรรณกรรรมจีน เรื่องสามก๊ก วาดภาพโดย มิตสึเทรุ โยโกยามะ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ ในปี พ.ศ. 2534 ออกอากาศทางสถานีทีวีโตเกียว และสร้างเป็นเกม สำหรับเครื่องนินเทนโดดีเอส ในปี พ.ศ. 2550 เนื้อเรื่องในการ์ตูน แปลมาจาก หนังสือสามก๊กฉบับภาษาญี่ปุ่น ของเออิจิ โยชิคาวะ ซึ่งจะแตกต่างจาก สามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)หรือ สามก๊กฉบับวณิพกของยาขอบเล็กน้อย สามก๊กเป็นนิยาย ที่เต็มไปด้วย แผนการรบและกลอุบาย จนมีคำกล่าวว่า อ่านสามก๊กครบสามจบ คบไม่ได้ ในประเทศไทย สำนักพิมพ์จัมโบ้ จัดพิมพ์สามก๊กเป็นเล่มใหญ่ โดยแบ่งเป็น 15 เล่ม.

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก (การ์ตูน) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537)

มพี่น้องร่วมสาบานแห่งสวนท้อ เตียวหุย (ซ้าย) เล่าปี่ (กลาง) กวนอู (ขวา) ในสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี ภาพยนตร์โทรทัศน์ชุด "สามก๊ก" เป็นภาพยนตร์ที่ผลิตขึ้นโดย สถานีโทรทัศน์ซีซีทีวีของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเริ่มถ่ายทำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ทีมงานสร้างภาพยนตร์ชุดนี้มีผู้กับกับระดับยอดเยี่ยมของจีนเป็นผู้กำกับ มีการการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญสาขาด้านต่างๆ จากทั่วประเทศ และด้วยความสนับสนุนกล้องของประเทศญี่ปุ่นใช้ในการถ่ายทำ โดยภาพยนตร์โทรทัศน์ชุดนี้นับว่าเป็นสื่อภาพยนตร์สามก๊กที่สมบูรณ์ที่สุด ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 แบ่งเนื้อหาออกเป็น 84 ตอน ความยาวตอนละ 44 นาที ภาพยนตร์โทรทัศน์ชุดนี้ได้รับการนำเข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อกลางปี พ.ศ. 2537 ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. โดยบริษัทมีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด เวลาประมาณ 22.00 น. และทางช่องเอ็มวีทีวี วาไรตี้ แชนแนล เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553)

มก๊ก ได้รับการสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้ง โดยเริ่มถ่ายทำตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก มหาสนุก

มก๊ก มหาสนุก เป็นงานเขียนการ์ตูนเรื่องยาวจากวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่อง สามก๊ก (แต่งโดย หลอกว้านจง) โดย สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ (หมู นินจา) ตีพิมพ์ในนิตยสารมหาสนุกตั้งแต่ พ.ศ. 2548 จนถึง พ.ศ. 2550 ได้พิมพ์รวมเล่มเป็นการ์ตูนสีรวมทั้งหมด 45 เล่ม และบริษัทวิธิตาได้นำเรื่องสามก๊กมาสร้างเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นมาแล้ว 2 ภาค ออกฉายทางช่อง 7 ล่าสุดได้รับการแปลเป็นภาษาเกาหลีแล้ว ซึ่งจัดจำหน่ายโดย บริษัท พีเอ็มจี โฮลดิ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด และบริษัท ซัมซุง บุ๊ค พับลิเชอร์ สามก๊ก มหาสนุกที่เป็นหนังสือการ์ตูนนั้น ใช้ชื่อว่า "การ์ตูนมหาสนุก ฉบับ สามก๊ก" ส่วนสามก๊ก มหาสนุกที่เป็นการ์ตูนแอนิเมชันนั้นใช้ชื่อว่า "สามก๊ก มหาสนุก".

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก มหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก ขุนศึกเลือดมังกร

มก๊ก ขุนศึกเลือดมังกร (三國之見龍卸甲, Three Kingdoms: Resurrection of the Dragon) ภาพยนตร์จีนอิงประวัติศาสตร์ สร้างจากวรรณกรรมชิ้นเอกของจีนเรื่อง สามก๊ก นำแสดงโดย หลิวเต๋อหัว, แม็กกี้ คิว, หงจินเป่า, แวนเนส วู, แอนดี้ อัง, ตี้หลุง กำกับการแสดงโดย แดเนียล ลี ความยาว 102 นาที ออกฉายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ในประเทศไทยฉายวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก ขุนศึกเลือดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน

มก๊ก ฉบับคนเดินดิน เป็นผลงานของ สุขสันต์ วิเวกเมธากร โดยใช้นามปากกาว่า เล่า ชวน หัว จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เคล็ดไทยเล่มแรกที่จัดทำคือ เปิดหน้ากากขงเบ้งภาค 1พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พฤษภาคม พ.ศ. 2533และได้มีการทำเล่มอื่นๆตามมาเนื้อหาภายในเรื่องนี้เป็นการวิจารร์ตัวละครเด่นๆในสามก๊ก ในปัจจุบันได้มีการจัดพิมพ์ สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน ซ้ำหลายครั้งแล้ว ในตอนนี้มีอยู่ทั้งหมด 9 เล่ม ดังนี้.

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก ฉบับคนเดินดิน · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ

ใบปิดภาค 2 สามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ เป็นภาพยนตร์จีนอิงประวัติศาสตร์ขนาดยาว ออกฉายพร้อมกันทั่วทวีปเอเชียในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เพื่อต้อนรับมหกรรมกีฬาโอลิมปิก 2008 ที่จีนเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน สร้างจากวรรณคดีชิ้นเอกของจีนเรื่อง สามก๊ก ในตอน โจโฉ แตกทัพเรือ หรือ ศึกผาแดง อำนวยการสร้างและกำกับโดย จอห์น วู โดยภาพยนตร์เริ่มเปิดการถ่ายทำขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 2007 ด้วยทุนสร้างกว่า 80 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งนับว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ทุนสร้างมากที่สุดในประวัติศาสตร์วงการภาพยนตร์เอเชีย โดยแบ่งออกเป็น 2 ภาคใหญ่ ๆ ด้วยกันเฉพาะในเอเชีย (ในภาค 2 ฉาย 22 มกราคม พ.ศ. 2552) ต้อนรับเทศกาลตรุษจีน ส่วนประเทศอื่น ๆ จะฉายในตอนเดียวจบในระยะเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง.

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก เทพเจ้ากวนอู

มก๊ก เทพเจ้ากวนอู เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงอิงประวัติศาสตร์ ดัดแปลงจากวรรณกรรมเรื่อง สามก๊ก ในตอนที่กวนอูพาภรรยาของเล่าปี่ฝ่าด่าน 5 ด่านและสังหารขุนพลของโจโฉ 6 นาย นำแสดงโดย ดอนนี่ เยน ซึ่งรับหน้าที่เป็นผู้กำกับคิวแอ๊คชั่นของภาพยนตร์ด้วย กำกับโดยอลัน มัก และเฟลิกซ์ ชอง ออกฉายเมื่อวันที่ 28 เมษายน..

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊ก เทพเจ้ากวนอู · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊กฉบับวณิพก

มก๊กฉบับวณิพก เป็นหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงของยาขอบ ซึ่งเป็นการเรียบเรียงเรื่องราวของตัวละครเอกจากสามก๊ก เช่น โจโฉ ผู้ไม่ยอมให้โลกทรยศ,เตียนอุย ผู้ใช้ศพเป็นอาวุธ,จิวยี่ ผู้ถ่มน้ำลายรดฟ้า,จูล่ง สุภาพบุรุษแห่งเสียงสาน กวนอู มนุษย์ผู้กลายเป็นเทพเจ้า ฯลฯ.

ใหม่!!: เล่าปี่และสามก๊กฉบับวณิพก · ดูเพิ่มเติม »

สิบเกง

กง (Gong Jing) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กเจ้าเมืองเฉงจิ๋ว เมื่อโจรโพกผ้าเหลืองยกทัพมาล้อมเมืองเฉงจิ๋ว สิบเกงได้ส่งสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากเล่าเอี๋ยน เจ้าเมืองอิวจิ๋ว เล่าเอี๋ยนได้ให้เล่าปี่และเจาเจ้งนำทัพห้าพันนายไปช่วยสิบเกงปราบโจรโพกผ้าเหลืองได้สำเร็.

ใหม่!!: เล่าปี่และสิบเกง · ดูเพิ่มเติม »

สุมาเต๊กโช

มาเต๊กโช (Sima Hui) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก นักปราชญ์เต๋าผู้ได้รับการนับถืออย่างมากของนักปราชญ์คนสำคัญ ๆ ในสามก๊ก เช่น จูกัดเหลียง, ชีซีและบังทอง เป็นเพื่อนสนิทกับบังเต็กกง ซึ่งมีศักดิ์เป็นอาของบังทอง เป็นผู้ให้ฉายา "ฮองซู" แก่บังทอง และ "ฮกหลง" แก่ขงเบ้ง เป็นผู้ที่สามารถอ่านผู้คนและสถานการณ์ในอนาคตได้อย่างแม่นยำ จนได้ฉายาว่า "ซินแสคันฉ่องวารี" และยังได้สมญานามจากยาขอบว่า "ผู้ชาญอาโปกสิณ" อาศัยในเขตเมืองซงหยง เป็นปราชญ์ที่ยึดติดกับธรรมชาติ ไม่ข้องเกี่ยวกับการเมือง.

ใหม่!!: เล่าปี่และสุมาเต๊กโช · ดูเพิ่มเติม »

หวดเจ้ง

หวดเจ้ง (Fa Zheng) เป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของเล่าปี่ มีชื่อรองว่าเสี่ยวจื่อ เป็นบุตรของหวดเจิง(ฝ่าเจิง) ปราชญ์แห่งเสฉวน เป็นเพื่อนสนิทของเตียวสงและเบ้งตัด เป็นคนซื่อสัตย์กตัญญู มีความรู้ทางพิชัยสงคราม มีวาทศิลป์เป็นเลิศ เดิมเป็นที่ปรึกษาของเล่าเจี้ยง ต่อมา ได้ร่วมคิดกับเตียวสงและเบ้งตัดในการช่วยเล่าปี่ยึดครองเสฉวน ทำให้เล่าปี่ได้เป็นใหญ่ในภาคตะวันตก เมื่อเล่าปี่ยกทัพไปทางตะวันออกเพื่อยึดฮันต๋ง หวดเจ้งได้เป็นที่ปรึกษาของฮองตงในการตีเขาเตงกุนสันที่มีแฮหัวเอี๋ยนรักษาอยู่ ทำให้ยึดเขาเตงกุนสันและสังหารแฮหัวเอี๋ยนได้ เมื่อเล่าปี่ได้ครอบครองฮันต๋ง หวดเจ้งเป็นผู้หนึ่งที่สนับสนุนให้เล่าปี่ตั้งตนเป็นฮันต๋งอ๋อง เมื่อเล่าปี่ได้เป็นฮันต๋งอ๋องก็ตั้งหวดเจ้งเป็นราชครู ต่อมา หวดเจ้งเสียชีวิตเมื่ออายุได้ 45 ปี หวดเจ้งเป็นคนที่เล่าปี่ไว้วางใจมาก เมื่อพระเจ้าเล่าปี่ยกทัพไปง่อก๊กล้างแค้นให้กวนอูและเตียวหุยที่ถูกสังหาร ขงเบ้งและขุนนางคนอื่นทูลคัดค้านไม่ให้พระเจ้าเล่าปี่ยกทัพไปตีง่อก๊ก แต่พระเจ้าเล่าปี่ทรงไม่ฟังผู้ใด ขงเบ้งได้รำพึงว่าถ้าหากหวดเจ้งยังอยู่ คงรั้งพระองค์ได้เป็นแน่ รูปหวดเจ้งจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ห ห.

ใหม่!!: เล่าปี่และหวดเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

หองจูเหียบ

ักรพรรดิฮั่นเซี่ยน หรือ ฮั่นเซี่ยนตี้ สำเนียงจีนฮกเกี้ยนว่า ฮั่นเหี้ยนเต้ พระนามเดิม เสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ เหียบ ตามสำเนียงจีนฮกเกี้ยน หรือมักเรียกกันว่า หวังเช่าเสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ หองจูเหียบ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ("เสียเจ้าชายน้อย") หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม พระเจ้าเหี้ยนเต้ (ตามที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)) เป็นพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้พระองค์หนึ่งของราชวงศ์ฮั่น และเป็นหนึ่งในตัวละครตามวรรณกรรมสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 724 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเลนเต้ และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาในพระเจ้าเซ่าเต้ ขึ้นครองราชย์จากการที่ ตั๋งโต๊ะ ต้องการสร้างบารมีแก่ตน โดยการเปลี่ยนองค์พระจักรพรรดิ โดยปลดพระเจ้าเซ่าเต้ออกจากพระราชบัลลังก์ แล้วอัญเชิญหองจูเหียบ ซึ่งเห็นว่ามีสติปัญญาดีขึ้นเป็นฮ่องเต้แทน หองจูเหียบจึงได้ขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้แห่งต้าฮั่นในปี พ.ศ. 732 ขณะมีพระชนมายุเพียง 8 พรรษา โดยการครองราชย์นั้นในช่วงแรกแทบไม่ได้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจใด ๆ เพราะหลังจากตั๋งโต๊ะตั้งพระองค์เป็นฮ่องเต้ ก็กุมอำนาจเบ็ดเสร็จในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทำอะไรไม่ปรึกษาใคร เหมือนว่าตั๋งโต๊ะไม่เห็นพระเจ้าเหี้ยนเต้อยู่ในสายตา แม้ว่าตั๋งโต๊ะจะถึงขนาดเผาเมืองหลวง สร้างราชธานีขึ้นใหม่ก็ทรงทำอะไรไม่ได้ จนตั๋งโต๊ะสิ้นชีพไปในปี พ.ศ. 735 ทรงเริ่มปฏิบัติพระราชภารกิจไปบ้างเล็กน้อย แต่การจะให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง 11 พรรษาปกครองประเทศจีน ดูจะยากเกินไป พระเจ้าเหี้ยนเต้เริ่มกลายเป็นเหมือนหุ่นเชิดของเหล่าขุนนางและสิบขันที ดังนั้น ในปี พ.ศ. 739 โจโฉ ก็เข้ามาเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และเริ่มที่จะสร้างอิทธิพลครอบงำราชสำนัก พระองค์ก็มิอาจทำอะไรได้ แม้จะทรงมีหนังสือลับที่เขียนด้วยพระโลหิตของพระองค์เองส่งไปหาเล่าปี่ ซึ่งทรงถือเป็นพระปิตุลา (พระเจ้าอา) ให้กำจัดโจโฉ เพราะทรงเริ่มเห็นถึงความกำเริบของโจโฉ แม้โจโฉบางครั้งอาจจะทำตัวเทียบบารมีพระเจ้าเหี้ยนเต้ แต่ก็ไม่เคยคิดตั้งตนเป็นพระจักรพรรดิเอง และเมื่อพระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงบรรลุนิติภาวะ โจโฉก็กลับไปทำหน้าที่เดิมของตน และความสัมพันธ์ระหว่างโจโฉกับพระเจ้าเหี้ยนเต้ก็เริ่มบั่นทอน เพราะโจโฉเริ่มมีการแสวงหาอำนาจ จนกระทั่งขอเป็นอ๋องแห่งแคว้นเว่ย พระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงกริ่งพระทัย แต่เมื่อโจโฉได้ยกโจเฮา บุตรีคนหนึ่งให้เป็นพระมเหสี ในปี พ.ศ. 757 พระเจ้าเหี้ยนเต้จึงทรงพระราชทานตำแหน่งอ๋องหรือ ผู้ปกครองแคว้น ให้ แล้วโจโฉก็พอพระทัย ไม่ต้องการอะไรเพิ่ม ครองแคว้นเว่ยไปอย่างสงบ แต่ตลอดเวลาตั้งแต่นั้น พระเจ้าเหี้ยนเต้ก็ทรงเป็นเหมือนหุ่นเชิดของก๊กทั้งสามแคว้น (สามก๊ก) ไป ๆ มา ๆ จนวุยอ๋องโจโฉสิ้นพระชนม์ โจผี พระโอรสในพระเจ้าโจโฉขึ้นเป็นอ๋องครองแคว้นเว่ยต่อจากโจโฉผู้เป็นพระบิดา วุยอ๋องโจผีมีพระทัยที่เหิมเกริมจนขับไล่พระเจ้าเหี้ยนเต้ออกไปจากราชบัลลังก์ในปี พ.ศ. 763 และขึ้นเป็นพระจักรพรรดิแห่งแคว้นเว่ยเสีย แต่ว่าราชวงศ์ฮั่นยังไม่สิ้นสุดเมื่อฮันต๋งอ๋องเล่าปี่ สถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหาจักรพรรดิในแดนเสฉวนเพื่อรักษาราชวงศ์ฮั่นและเชื้อสายราชตระกูลเล่า และในปี พ.ศ. 772 ง่ออ๋องซุนกวนก็สถาปนาตนเองขึ้นเป็นมหาจักรพรรดิในแดนกังตั๋งเช่นกัน นับแต่นั้นมาแผ่นดินจีนก็แตกออกเป็นสามอาณาจักรอย่างแท้จริง พระเจ้าเหี้ยนเต้ถูกลดพระอิสริยยศจากพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ เป็น ชนชั้นสูง และมีชีวิตอย่างสงบสุขเรื่อยมา จนพระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 777 ขณะมีพระชนมายุ 53 พรรษ.

ใหม่!!: เล่าปี่และหองจูเหียบ · ดูเพิ่มเติม »

หงสาจอมราชันย์

หงสาจอมราชันย์ เป็นการ์ตูนจีนที่สร้างสรรค์โดยเฉินเหมา นักเขียนชาวฮ่องกง เรื่องราวหยิบยกเอาเหตุการณ์ใน สามก๊ก จากทั้งวรรณกรรมและพงศาวดารมาเป็นโครงเรื่อง โดยมีตัวละครเอกคือสุมาอี้ และ จูล่ง โครงเรื่องหลักอ้างอิงเนื้อเรื่องจากประวัติศาสตร์วรรณคดีสามก๊ก ฉบับหลอ กว้านจง ซึ่งตัวละครและเหตุการณ์ต่างๆปรากฏขึ้นตามวรรณกรรมไม่ผิดเพี้ยน หากแต่มีการตีความเหตุการณ์ต่างๆ ในรูปแบบอื่น และแต่งเติมเรื่องราวรายละเอียดเข้าไปใหม่ คล้ายกับเป็นเบื้องลึกเบื้องหลังของวรรณกรรม หรือช่องว่างที่ขาดหายไปจากประวัติศาสตร์ ที่มีความซับซ้อนกว่าการบันทึกดั้งเดิม ตัวอย่างเช่น การนำ สุมาอี้ หรือ ลกซุน ที่โดดเด่นในช่วงท้ายยุคสามก๊ก แต่กลับไม่ค่อยมีบันทึกประวัติในวัยเยาว์ มาใส่บทบาทในเหตุการณ์ต่างๆ การให้บทของ เตียวเสี้ยน เป็นมือสังหารอาชีพที่เชี่ยวชาญการใช้ธนูและการล่อลวงด้วยความงาม หรือการตีความขุนพลที่โด่งดังในความบ้าบิ่น เช่น ลิโป้ และ เตียวหุย ว่าแท้จริงมีปัญญาหลักแหลม การเพิ่มบทบาทของ จูล่ง และ ม้าเฉียว ที่ไร้บทบาทในบันทึกประวัติศาสตร์บ่อยครั้ง ว่าแท้จริงเป็นผู้ที่ไปกระทำการต่างๆเบื้องหลัง เช่นเป็นมือสังหารหรือสายลับ ปัจจุบันนอกจากฮ่องกงกับไต้หวันแล้ว หงสาจอมราชันย์ ยังถูกซื้อลิขสิทธิ์ไปตีพิมพ์ในหลาย ๆ ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม สิงคโปร์ และ ไท.

ใหม่!!: เล่าปี่และหงสาจอมราชันย์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าทหารเสือ

รูปปั้น 5 ทหารเสือในเมืองเฉิงตู ประเทศจีน ห้าทหารเสือ หรือ ห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊ก หรือห้าขุนพลพยัคฆ์ ในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ห้าทหารเสือเป็นตำแหน่งเรียกขานขุนศึกผู้มีฝีมือเก่งกาจ เป็นที่เลื่องลือกล่าวขานทั่วทั้งแผ่นดินจำนวน 5 คนของพระเจ้าเล่าปี่ในสมัยยุคสามก๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นทหารเสือที่เอก ภายหลังจากเล่าปี่ครองเมืองเสฉวนและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระเจ้าฮันต๋งแห่งแคว๊นจ๊ก ห้าทหารเสือที่ได้รับการแต่งตั้งได้แก.

ใหม่!!: เล่าปี่และห้าทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

อองฮู

อองฮู (Wang Fu, ? – พ.ศ. 765) ชื่อรอง กัวฉาน (Guoshan) ขุนนางแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก อองฮูถึงแก่กรรมเมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และอองฮู · ดูเพิ่มเติม »

อองเป๋ง

อองเป๋ง (Wang Ping) เป็นขุนพลคนหนึ่งของจ๊กก๊ก มีความเฉลียวฉลาด เดิมเป็นนายทหารของฝ่ายโจโฉในสังกัดของซิหลง ต่อมาได้สวามิภักดิ์ต่อเล่าปี่ แล้วทำงานรับใช้จ๊กก๊กถึงสมัยพระเจ้าเล่าเสี้ยน อองเป๋งเป็นนายทหารที่ขงเบ้งไว้ใจมากคนหนึ่ง มีบทบาทมากมายในการรบ ได้ติดตามขงเบ้งไปตีเบ้งเฮ็กและตีวุยก๊กหลายครั้ง ครั้งหนึ่งที่สุมาอี้ยกทัพจะตีเกเต๋ง ขงเบ้งให้ม้าเจ็กเป็นแม่ทัพใหญ่ อองเป๋งเป็นแม่ทัพรอง ยกทัพไปรักษาเกเต๋ง โดยกำชับว่าให้ตั้งค่ายที่ช่องเขา แต่เมื่อไปถึงม้าเจ๊กกลับตั้งค่ายบนยอดเขา อองเป๋งทัดทานว่าหากตั้งบนเขาจะถูกล้อมโจมตีได้ง่าย ม้าเจ็กไม่ฟังดึงดันจะไปตั้งบนเขา อองเป๋งจึงยกทัพส่วนหนึ่งไปที่ช่องเขา และก็เป็นดังคาดของอองเป๋ง สุมาอี้ได้ตัดทางน้ำและล้อมเขาไว้ อองเป๋งพยายามเข้าไปช่วย แต่เตียวคับมาสกัดไว้ จึงต้องถอยทัพกลับ ส่วนม้าเจ็กเสียทีสุมาอี้ ต้องเสียเกเต๋ง กลับไปหาขงเบ้งและถูกประหารในเวลาต่อมา หลังขงเบ้งตาย อองเป๋งยังคงรับราชการรับใช้พระเจ้าเล่าเสี้ยน จนกระทั่งป่วยเสียชีวิต รูปอองเป๋งจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI หมวดหมู่:จ๊กก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และอองเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

อุยก๋วน (จ๊กก๊ก)

อุยก๋วน (Huang Quan, ? — ค.ศ. 240) ชื่อรองว่า กงเหิง เป็นขุนศึกแห่งวุยก๊กซึ่งเคยรับใช้ เล่าเจี้ยง และ เล่าปี่ มาก่อน โดยในสมัยที่ยังรับใช้เล่าเจี้ยงอยู่เขาและ อองลุย ขุนนางอีกผู้หนึ่งได้เตือนเล่าเจี้ยงให้ระวังเล่าปี่เอาไว้แต่เล่าเจี้ยงก็ไม่ฟังอองลุยจึงประท้วงด้วยการเอาขาผูกกับเชือกห้อยหัวจากกำแพงเมืองพร้อมกับตัดเชือกที่ขาทำให้อองลุยหัวกระแทกพื้นตายทางด้านของอุยก๋วนได้กระโดดกัดชายเสื้อของเล่าเจี้ยงแบบไม่ปล่อยจนเล่าเจี้ยงทนไม่ไหวสะบัดชายเสื้ออย่างแรงจนฟันของอุยก๋วนหลุดติดชายเสื้อไป 2 ซี่ เมื่อเล่าปี่เข้าปกครองเสฉวนขุนนางคนอื่นต่างไปน้อมคำนับต่อหน้าเล่าปี่ยกเว้นอุยก๋วนและ เล่าป๋า ที่ไม่มาคำนับทหารจึงจะไปจับอุยก๋วนและเล่าป๋าฆ่าเสียแต่เล่าปี่ได้สั่งห้ามทำร้ายทั้งสองโดยเด็ดขาดทำให้ทั้งสองซึ้งใจคำนับต่อหน้าเล่าปี่ เมื่อพระเจ้าเล่าปี่ยกทัพไปทำ ศึกอิเหลง ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และอุยก๋วน (จ๊กก๊ก) · ดูเพิ่มเติม »

อุยเอี๋ยน

อุยเอี๋ยน (Wei Yan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งจ๊กก๊กรูปร่างสูงใหญ่ ชื่อรองบุ้นเตีย ใช้ง้าวคู่เป็นอาวุธ ปรากฏบทบาทครั้งแรกที่เมืองเกงจิ๋ว เมื่อเล่าปี่ได้อพยพราษฎรจากซินเอี๋ยและอ้วนเสียข้ามน้ำมาจากการตามล่าของโจโฉขอให้ชาวบ้านอยู่ในเมืองด้วย พวกทหารและเสนาธิการจะแยกไปทันที แต่ชัวมอที่บังคับเล่าจ๋องอยู่ไม่ยอมเปิดประตูให้ อุยเอี๋ยนซึ่งเป็นทหารเกงจิ๋วกลับนำทหารส่วนหนึ่งมาเปิดประตูให้เล่าปี่ยกเข้าเมือง แต่บุนเพ่งแม่ทัพคนหนึ่งของเกงจิ๋วได้ออกมาขัดขวาง พร้อมด่าว่า เจ้าจะเป็นกบฏหรือ อุยเอี๋ยนกับบุนเพ่งจึงได้สู้กัน เล่าปี่อนาถใจที่เห็นทั้งคู่มาสู้กันเอง จึงยกทัพแยกไป.

ใหม่!!: เล่าปี่และอุยเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

อีเจี้ย

อีเจี้ย (Yi Ji) ชื่อรองว่า จีป้อ เป็นเสนาธิการแห่งจ๊กก๊ก อีเจี้ยเกิดที่เมืองซันหยงมีความสามารถในการปุจฉาวิสัชนาและมีความช่ำชองในกฎหมายเคยรับใช้ เล่าเปียว เจ้าเมือง เกงจิ๋ว มีบทบาทในการมาบอก เล่าปี่ ในงานพืชมงคลให้ระวังตัวเรื่อง ชัวมอ ขุนนางและน้องเมียของเล่าเปียววางแผนลอบสังหารเล่าปี่จนเล่าปี่สามารถหนีรอดกลับไปยัง ซินเอี๋ย อันเป็นเมืองที่มั่นของเล่าปี่จนกระทั่งเล่าเปียวถึงแก่กรรมและ เล่าจ๋อง บุตรชายคนเล็กของเล่าเปียวขึ้นเป็นเจ้าเมืองเกงจิ๋วใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และอีเจี้ย · ดูเพิ่มเติม »

อ้วนสุด

อ้วนสุด (Yuan Shu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก น้องชายของอ้วนเสี้ยว อ้วนสุดเป็นคนที่นิสัยเหมือนกับอ้วนเสี้ยวญาติผู้พี่ คือ โลเลเหลาะแหละ ชอบแต่คนประจบสอพลอ ซ้ำยังมีความละโมบโลภมากกว่า เมื่อซุนเซ็กนำตราหยกมาจำนำเพื่อยืมทหาร จึงยึดเป็นของตนเอง ก่อนจะสถาปนาตนเป็นฮ่องเต้ ทรงพระนามว่า "ต๋องซือ" ในการปราบตั๋งโต๊ะร่วมกับหลายเมือง อ้วนสุดเกรงว่าซุนเกี๋ยนจะนำทัพเข้าตีเข้าเมืองลกเอี๋ยงได้ จะได้ความดีความชอบ จึงแกล้งไม่ส่งเสบียงให้ เป็นต้นเหตุให้กองทัพของเมืองเตียงสาต้องแพ้ ทั้ง ๆ ที่กำลังจะได้ชัยชนะอยู่แล้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และอ้วนสุด · ดูเพิ่มเติม »

ฮองตง

องตง Huang Zhong; เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพแห่งจ๊กก๊ก ฉายา ฮั่นสินแห่งหนานหยาง เป็นชาวเมืองหนานหยาง (บ้านเดียวกับขงเบ้ง) เชี่ยวชาญในการใช้ง้าวและเกาทัณฑ์ เป็นผู้ที่มีคุณธรรม เป็น 1 ใน 5 ทหารเสือของจ๊กก๊ก โดยฮองตงเป็นคนที่ 4 เดิมเป็นขุนพลที่รักษาเมืองเตียงสา ของเล่าเปียว เมื่อออกรบเคยพลาดท่าในสนามรบ และกวนอูไว้ชีวิต ในการต่อสู้ครั้งต่อมา จึงจงใจยิงเกาทัณฑ์พลาด เป็นการทดแทนบุญคุณกลับคืน แต่เจ้าเมืองเตียงสาเข้าใจว่า ฮองตงเอาใจข้างข้างฝ่ายเล่าปี่ จึงกล่าวหาว่าฮองตงเป็นกบฏ เมื่อเล่าปี่เข้าเมืองเตียงสาได้แล้ว ได้ไปพบฮองตงที่บ้านพัก พบฮองตงนอนเมาอยู่ด้วยความเสียใจที่ไม่สามารถรักษาเมืองได้ เล่าปี่ กวนอู และเตียวหุยทำการคาราวะฮองตงว่า เป็นนักรบที่มีฝีมือและคุณธรรมอย่างแท้จริง พร้อมเกลี้ยกล่อมให้มาเข้าร่วมด้วย ฮองตงจึงเข้าร่วมกับเล่าปี่เมื่ออายุได้ 60 ปี และได้เป็น 1 ใน 5 ทหารเสือของจ๊กก๊ก ฮองตงสร้างผลงานอีกครั้ง เมื่อแฮหัวเอี๋ยนยกทัพมา ขงเบ้งแสร้งพูดยั่ว โดยกล่าวว่าฮองตงแก่ชราแล้ว คงจะไม่มีเรี่ยวแรง ฮองตงจึงเกิดมานะ แสดงพละกำลังด้วยการหักคันธนูและรำง้าวให้ดู ฮองตงหนีไปตั้งหลักที่ยอดเขาเตงกุนสัน เพื่อให้แฮหัวเอี๋ยนที่อยู่ริมเขาตะโกนท้าทายให้ลงมาสู้ แต่ฮองตงก็ไม่ยอมสู้ เพราะการที่ฮองตงไม่ลงมาโจมตีนั้นเพราะหวดเจ้งยังไม่ยกธงแดง เมื่อยกธงแดงจึงฉวยโอกาสโจมตีในตอนที่แฮหัวเอี๋ยนอ่อนล้าเองในเวลาบ่าย ทหารทุกคนกำลังนอนหลับ ฮองตงจึงได้บุกลงมาจากเขา ในขณะที่แฮหัวเอี๋ยนกำลังใส่ชุดเกราะ ฮองตงขี่ม้าประชิดตัวและยกง้าวฟันลำตัวขาดทันที ฮองตงเสียชีวิต ณ ค่ายทหารฝ่ายจ๊กก๊ก หลังจากถูกยิงด้วยเกาทัณฑ์ของทหารฝ่าย ง่อก๊ก เข้าซอกคอ ครั้งเล่าปี่ยกทัพไปรบเพื่อล้างแค้นให้กวนอูในศึกอิเหลง เมื่ออายุได้ 75 ปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และฮองตง · ดูเพิ่มเติม »

ฮันเหียน

ันเหียน (Han Xuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเตียงสาและเป็นเจ้านายของฮองตงและอุยเอี๋ยนก่อนที่ทั้งสองจะมาสวามิภักดิ์ต่อเล่าปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และฮันเหียน · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่วอี้

ว้อเก๋อ (Huo Yi; ? — ?, หลัง ค.ศ. 271) ชื่อรอง เช่าเซียน (Shaoxian) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก พ่อของเขา งักจุ้น รับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กตั้งแต่ก่อนสถาปนาจ๊กก๊ก เมื่อจ๊กก๊กถูกพิชิตโดย วุยก๊ก ในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และฮั่วอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่นจง

ั่นจง (Hanzhong) หรือในสามก๊กเรียก ฮันต๋ง เทศมณฑลที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ มณฑลส่านซี ในประเทศจีน เมืองฮั่นจงหรือฮันต๋งก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800 ปีก่อนคริสตกาลและเริ่มมีบทบาทในช่วงปลาย ราชวงศ์ฉิน ราว 206 ปีก่อนคริสตกาลหรือประมาณ..

ใหม่!!: เล่าปี่และฮั่นจง · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่นต๋ง

ั่นต๋ง (Han Zhong, ? — ค.ศ. 184) แม่ทัพแห่ง กบฏโพกผ้าเหลือง ฮั่นต๋งและรองแม่ทัพอีก 2 คนคือ ซุนต๋อง (Sun Zhong) และ เตียวฮ่อง (Zhao Hong) ได้เข้ายึดเมืองหว่านเฉิงหรืออ้วนเซียกระทั่งพี่น้องตระกูลเตียวทั้ง 3 คือ เตียวก๊ก เตียวโป้ และ เตียวเหลียง เสียชีวิตหมดฮั่นต๋งจึงได้ขึ้นเป็นผู้นำกบฏโพกผ้าเหลืองแทน ฮั่นต๋งตายด้วยถูกลูกเกาฑัณฑ์ยิงระหว่างการรบกับกองทัพราชสำนักที่นำโดย จูฮี กับกองทัพทหารอาสาที่นำโดย เล่าปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และฮั่นต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นหลิง

มเด็จพระจักรพรรดิหลิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นหลิงตี้ หรือ ฮั่นเลนเต้ (Emperor Ling of Han) ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิในราชวงศ์ฮั่น รัชกาลที่ 24 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 699 เป็นพระโอรสของเล่าจั้ง เชื้อพระวงศ์ชั้นสูงแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชนิกูลเล่า เจ้าเมืองตูตัง เมื่อสิ้นบุญ พระเจ้าฮวนเต้ (漢桓帝) ได้ขอพระองค์นั้นไปชุบเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง ทรงเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นฮวนเต้มาก จึงทรงแต่งตั้งเป็นพระรัชทายาท เนื่องจากพระองค์ไม่มีพระราชโอรส เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นฮวนเต้เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 711 พระองค์จึงได้เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฮวนเต้ในปีเดียวกัน ขณะมีพระชนมายุ 12 พรรษา และได้แต่งตั้งพระราชมารดาของพระองค์ขึ้นเป็น พระพันปีหลวงตังไทเฮา เพราะฉะนั้นเองพระมารดาของพระเจ้าเลนเต้จึงเป็น สมเด็จพระพันปีหลวงไทเฮาเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนที่ไม่ได้เป็นพระมเหสีของฮ่องเต้พระองค์ใด และรัชสมัยของพระองค์นั่นก็เป็นอีกชนวนหนึ่งที่ก่อให้เกิดยุคสามก๊ก เนื่องจากหลังจากทรงครองราชสมบัติไป 10 กว่าปี ก็เริ่มตีตัวออกห่างจากราชการบ้านเมือง หลงมัวเมาในสุรานารี และคำป้อยอของขันที ขันทีก็ได้ใจรีดนาทาเร้นราษฎร ดังนั้นใน พ.ศ. 726 จึงมีกลุ่มชาวนาต่างจังหวัดตั้งกลุ่มกบฏโพกผ้าเหลือง (黃巾之亂) เริ่มยึดครองขยายอำนาจแผ่ไปแว่นแคว้นต่าง ๆ ราชธานีได้ส่งสาส์นไปยังหัวเมืองน้อยใหญ่ให้ช่วยยกทัพมาปราบกบฏโพกผ้าเหลือง และปิดประกาศขอรับสมัครชายผู้ต้องการปกป้องชาติ ซึ่งทำให้ เล่าปี่ (劉備), กวนอู (關羽), เตียวหุย (張飛) ได้มาพบกัน และร่วมมือกัน และเป็นโอกาสให้ตั๋งโต๊ะ (董卓) ได้ขึ้นมาเรืองอำนาจกดขี่ชาวบ้าน ทางวังหลวงก็มีความแตกแยก เพราะมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ หองจูเปียน พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเลนเต้กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโฮเฮา กับหองจูเหียบ พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเลนเต้กับพระสนมอองบีหยิน แต่ก็ไม่ได้รับความสนพระทัยจากพระเจ้าเลนเต้มากนัก จนในที่สุด ก็เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 732.

ใหม่!!: เล่าปี่และจักรพรรดิฮั่นหลิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นจิง

มเด็จพระจักรพรรดิจิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นจิงตี้ (188 ปีก่อนคริสตกาล - 141 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่าหลิวฉี เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิฮั่นเหวินตี้ และพระสนมตู้ พระสนมองค์โปรด ซึ่งภายหลังจักรพรรดิเหวินตี้ทรงสถาปนาพระสนมตู้ขึ้นเป็นตู้ฮองเฮา และสถาปนาองค์ชายหลิวฉีขึ้นเป็นรัชทายาท ทรงเป็นหนึ่งในแม่ทัพที่ปราบกบฏ 7 แคว้น เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 157 ปีก่อน..

ใหม่!!: เล่าปี่และจักรพรรดิฮั่นจิง · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดกิ๋น

จูกัดกิ๋น (Zhuge Jin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นพี่ชายแท้ ๆ คนโตของขงเบ้ง รับราชการเป็นขุนนางฝ่ายบุ๋นอยู่กับ ซุนกวน ในตอนต้นของศึกเซ็กเพ็ก ระหว่างที่ขงเบ้งมาที่กังตั๋งเพื่อยุยงให้ซุนกวนและจิวยี่ออกรบ เพราะทัพของโจโฉยกมาตั้งที่ฝั่งตรงข้ามของแม่น้ำแยงซีเกียง โดยมีเจตนาเพื่อจะมายึดครองกังตั๋ง จูกัดกิ๋นได้เกลี่ยกล่อมให้ขงเบ้งมาสวามิภักดิ์กับซุนกวนด้วยเหตุผลที่ว่าเพื่อพี่น้องจะได้อยู่ร่วมกัน แต่ก็ไม่สำเร็จ กลับเป็นฝ่ายโดนขงเบ้งเกลี้ยกล่อมมาให้มาฝ่ายเล่าปี่เสียเอง และหลังจากที่เล่าปี่ยึดเสฉวนได้แล้ว ซุนกวนได้สั่งให้จูกัดกิ๋นไปทวงเกงจิ๋วที่เล่าปี่เคยสัญญาไว้ว่า "ถ้ายึดเสฉวนเมื่อไหร่จะยกเกงจิ๋วให้ทันที" เล่าปี่ได้ยกเมืองคืนไป 3 เมือง คือเมือง เลงเหลง, ฮุยเอี๋ยงและเตียงสา โดยเล่าปี่ได้ให้หนังสือถึงกวนอูเพื่อให้กวนอูคืนเมืองทั้งสาม แต่เมื่อจูกัดกิ๋นไปถึงเกงจิ๋วกวนอูกับไม่ยอมคืนสามเมืองให้ จึงกลับหาซุนกวน ซุนกวนจึงต่อว่าจูกัดกิ๋นว่า "ท่านวิ่งกลับมาครั้งนี้ก็ด้วยอุบายของขงเบ้งทั้งสิ้น" ในตอนที่ขงเบ้งยกทัพบุกเขากิสานครั้งที่ 5 ได้มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนกวนเพื่อให้ยกทัพง่อก๊กไปตีวุยก๊กด้วยเป็นการประสานการโจมตีพร้อมกัน ก็เป็นจูกัดกิ๋นและลกซุนเป็นแม่ทัพใหญ่ที่ยกไป ร้อนถึงพระเจ้าโจยอยต้องยกทัพมาเองจากลกเอี๋ยงเพื่อต้านทัพ เพราะสุมาอี้ แม่ทัพใหญ่ก็ติดพันศึกอยู่กับขงเบ้งที่เขากิสาน ท้ายที่สุดทัพของพระเจ้าโจยอยก็ได้รับชัยชนะทำเอาขงเบ้งถึงกับตกใจ จูกัดกิ๋นมีบุตรชายชื่อจูกัดเก๊ก ซึ่งภายหลังได้เป็นราชครูและแม่ทัพใหญ่ของง่อก๊กในรัชสมัยพระเจ้าซุนเหลียง แทนจูกัดกิ๋นผู้เป็นบิดา จูกัดกิ๋นเสียชีวิตในปี พ.ศ. 784 รวมอายุได้ 67 ปี จูกัดกิ๋น จูกัดกิ๋น.

ใหม่!!: เล่าปี่และจูกัดกิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเหลียง

ูกัดเหลียง ภาพวาดจากหนังสือ "Wan hsiao tang-Chu chuang -Hua chuan"(晩笑堂竹荘畫傳) จูกัดเหลียง (Zhuge Liang) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ขงเบ้ง (孔明; Kǒngmíng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นอกจากนี้ยังมีฉายาอื่นเช่น มังกรหลับ (臥龍先生) หรือ (伏龍) เป็นนักการเมืองสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นของจีน หรือในสมัยหลังราชวงศ์ฮั่นหากกล่าวอ้างอิงตามประวัติศาสตร์ จูกัดเหลียงดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาด้านการยุทธนาการของพระเจ้าเล่าปี่ในตำแหน่งสมุหนายกและผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งจ๊กก๊ก รวมทั้งมีความสามารถในด้านการเมือง การทูต นักปราชญ์ วิศวกรและได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นที่สำคัญ โดยคิดค้นหมั่นโถว หน้าไม้กล โคมลอยและระบบชลประทาน ศิลปินมักวาดภาพให้จูกัดเหลียงสวมชุดยาวแบบนักปราชญ์ สวมหมวก และถือพัดขนนกกระเรียน (บ้างก็ว่า ขนนก ขนห่าน) อยู่ในมือเสมอ โดยขงเบ้งเป็นชื่อรอง เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของ จูเก๋อกุย ขุนนางตงฉินของพระเจ้าเหี้ยนเต้ โดยขงเบ้งมีพี่ชาย และน้องชายอย่างละคน คือ จูเก๋อกึ๋น พี่ชาย เป็นที่ปรึกษาของง่อก๊ก และน้องชาย จูเก๋อจิ๋น ขงเบ้ง เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง รอบรู้สรรพวิชาอย่างแตกฉาน ทั้งวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ การเมืองการปกครอง การทูต และแม้กระทั่งไสยศาสตร์ มีอุปนิสัยใจคอเยือกเย็น มีเมตตา ชอบลองดีกับผู้ที่อวดโอ้ อุดมด้วยวาทะศิลป์ ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบกับชาวบ้าน ที่เชิงเขาโงลังกั๋ง โดยช่วยเหลือชาวบ้านในการทำนาต่าง ๆ จนเป็นที่นับถือของชาวบ้าน ขงเบ้งมักจะเสวนากับผู้รู้เสมอ ๆ โดยเพื่อนร่วมวงเสวนากับเขานั้นได้แก่ ชีซี สื่อกวงเหวียน เมิ่งกงเวย และซุยเป๋ง และขงเบ้งมักจะยกตัวเองเทียบกับขวันต๋งและงักเย สองยอดนักปราชญ์ยุคชุนชิวและราชวงศ์ฉิน ซึ่งเพื่อน ๆ มักแปลกใจที่ขงเบ้งกล้ายกตนเช่นนั้น มีแต่ชีซีเท่านั้น ที่เชื่อว่าไม่ได้เป็นการยกตนเกินเลยไปเลย ขงเบ้ง มาเป็นกุนซือให้เล่าปี่จากการได้รับคำแนะนำจากชีซี โดยเล่าปี่ต้องมาคาราวะขงเบ้งถึงกระท่อมไม้ไผ่ ที่เขาโงลังกั๋ง ถึง 3 ครั้ง 3 ครา เมื่อขงเบ้งอายุได้เพียง 26 แต่ระยะแรกนั้น ขงเบ้งมิได้เป็นที่ยอมรับของบรรดานายทหารจ๊กก๊ก รวมทั้งกวนอูและเตียวหุยด้วย แต่เมื่อขงเบ้งได้แสดงฝีมือให้ปรากฏด้วยการทลายทัพของโจโฉที่เนินพกบ๋องแล้ว ขงเบ้งก็กลายเป็นที่นับถือและเลื่องลือถึงความสามารถอันปราดเปรื่อง ขงเบ้ง ยามออกศึก จะบัญชาการการรบบนรถเลื่อน โดยมีหมวกและพัดขนนกเป็นของประจำตัว ขงเบ้งเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชาอย่างถ่องแท้ มองจิตใจคนทะลุปรุโปร่ง ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้แม่นยำ จึงสามารถล่วงรู้ได้ถึงสภาพดินฟ้าอากาศ สามารถเรียกลมได้ ผู้คนจึงกล่าวขานว่า เป็นผู้หยั่งรู้ดินฟ้า ขงเบ้ง เป็นกำลังสำคัญของแคว้นจ๊กก๊ก ภายหลังการสิ้นของเล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ผู้นำคนสำคัญ โดยขงเบ้งมีฐานะเป็นเสนาบดีใหญ่ (เสิงเสี้ยน) ดูแลกิจการแทบทุกอย่างของจ๊กก๊ก เนื่องจากความอ่อนแอของพระเจ้าเล่าเสี้ยน (อาเต๊า) ขงเบ้งประสบความสำเร็จจากการยกทัพไปปราบเบ้งเฮ็ก อานารยชนที่แดนใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเลยในการยกทัพบุกเหนือถึง 5 ครั้ง เพื่อพิชิตแคว้นวุยก๊ก บั้นปลายชีวิต ขงเบ้งเจ็บออด ๆ แอด ๆ เสมอ ๆ ขงเบ้งสิ้นอายุเมื่อได้ 54 ปี บนรถม้ากลางสนามรบ ก่อนสิ้นชีพ ขงเบ้งได้ตรวจดวงชะตาตนเองแล้วรู้ว่า ใกล้ดับ จึงทำพิธีต่อชะตาอายุ แต่พิธีต้องล่มกลางคัน เมื่ออุยเอี๋ยน ทหารคนหนึ่งวิ่งทะเล่อทะล่าเข้ามา จนตะเกียงน้ำมันดับลง.

ใหม่!!: เล่าปี่และจูกัดเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

จูล่ง

ูล่ง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริง ชื่อจริงว่า เตียวหยุน แม่ทัพคนสำคัญของเล่าปี่ และเป็นหนึ่งในห้าทหารเสือ จูล่ง ได้รับฉายาว่าเป็น "สุภาพบุรุษจากเสียงสาน" เกิดในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 2 ประมาณปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และจูล่ง · ดูเพิ่มเติม »

จูล่ง ขุนพลเทพสงคราม

ูล่ง ขุนพลเทพสงคราม (อังกฤษ:The God Of War, Zhau Yun, Chinese Hero Zhao Zilong; 武神赵子龙; 武神趙子龍; พินอิน: Wǔ Shén Zhào Zǐlóng; ฮันกึล: 무신조자룡; ความหมาย: จูล่ง เทพเจ้าศิลปะการต่อสู้) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกกาศในประเทศจีนตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน จนถึง 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เล่าปี่และจูล่ง ขุนพลเทพสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จูเหียน

ูเหียน (เกิด พ.ศ.725 – พ.ศ.792) เดิมเป็นบุตรของน้องสาวจูตี แต่จูตีไม่มีบุตรจึงรับเขาเป็นบุตรบุญธรรม เป็นเพื่อนกับซุนกวนตั้งแต่เด็ก เรียนหนังสือมาด้วยกัน มีผลงานในการสู้รบหลายครั้ง เป็นเจ้าเมืองเกงจิ๋วต่อจากลิบอง เป็นกองหน้าที่เข้าตีเล่าปี่ในศึกอิเหลง ในสามก๊กฉบับพระยาคลังหน จูล่งมาช่วยและฆ่าจูเหียน แต่ในประวัติศาสตร์ จูเหียนไม่ได้ตายในศึกนั้นและมีผลงานมากมายจนตำแหน่งสุดท้ายเป็นแม่ทัพใหญ่ของง่อ เมื่อจูเหียนถูกเตียวเปาสังหารตาย ซุนกวนร้องไห้เสียใจมาก.

ใหม่!!: เล่าปี่และจูเหียน · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุสามก๊ก

หมายเหตุสามก๊ก (Records of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ บทประพันธ์โดยเฉินโซ่ว ชาวเสฉวนที่มีตัวตนและมีชีวิตจริงอยู่ในยุคสามก๊ก โดยเนื้อหาตามบทประพันธ์เกิดจากจินตนาการ ซึ่งแท้จริงแล้วฉากสำคัญหลายฉากในจดหมายเหตุสามก๊กเช่น ในปี พ.ศ. 776 ซึ่งเป็นปีเกิดของเฉินโซ่ว ภายหลังพระเจ้าเหี้ยนเต้สละบัลลังก์แล้ว ตระกูลของเฉินโซ่วรับราชการเป็นบริวารแก่จ๊กก๊กของพระเจ้าเล่าปี่ ซึ่งรวมทั้งเฉินโซ่วด้วย ซึ่งบันทึกทางประวัติศาสตร์รวมทั้งเรื่องราวการต่อสู้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นการบันทึกโดยบิดาของเฉินโซ่ว ในปี พ.ศ. 806 แคว้นจ๊กก๊กที่เฉินโซ่วอาศัยอยู่ ได้ประกาศยอมแพ้ต่อแคว้นวุย เฉินโซ่วและครอบครัวรวมทั้งชาวจ๊กก๊กคนอื่น ๆ ถูกนำตัวไปยังวุยก๊ก ขณะนั้นสุมาเจียว ซึ่งเป็นผู้ครองแคว้นวุยสิ้นพระชนม์ สุมาเอี๋ยนจึงเป็นผู้สืบทอดแคว้นต่อไปและสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนราชวงศ์วุย และแย่งชิงราชบัลลังก์จากพระเจ้าโจฮวนในปี พ.ศ. 808 ก่อนจะสถาปนาตนเองเป็นพระเจ้าจิ้นหวู่ตี้แห่งราชวงศ์ใหม่ ราชวงศ์จิ้นตะวันตก 15 ปีสืบต่อมา พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ก็สามารถรวบรวมอาณาจักรสามก๊กให้รวมเป็นหนึ่งเดียวได้ พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ทรงโปรดให้เฉินโซ่วรวบรวมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงศึกสามก๊กอย่างละเอียด เริ่มตั้งแต่ในช่วงพระเจ้าเลนเต้ขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 711 จนถึงการรวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียวใน พ.ศ. 823อย่างละเอียด เพื่อเอากลศึกสงครามต่าง ๆ ที่เกิดในยุคนี้ให้เป็นตำราสงครามให้แก่คนรุ่นหลัง สามก๊กฉบับแรกนี้มีชื่อว่า "ซันกั๋วจื้อ" แต่ซันกั๋วจื้อก็ไม่ได้รับความนิยม ซันกั๋วจื้อจึงกลายเป็นต้นแบบในการประพันธ์วรรณกรรมสามก๊กในยุคหลัง ที่สำคัญได้แก่ ซันกั๋วยั่นอี้ของหลัว กวั้นจง.

ใหม่!!: เล่าปี่และจดหมายเหตุสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จ๊กก๊ก

กก๊ก หรือ สู่ฮั่น (พินอิน: Shǔ Hàn) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก สถาปนาโดยพระเจ้าเล่าปี่ เชื้อพระวงศ์แห่งราชวงศ์ฮั่น ปกครองในระหว่างปี พ.ศ. 764 - พ.ศ. 806 (ปี ค.ศ. 221-263) จ๊กก๊กครอบครองพื้นที่ทางภาคตะวันตกของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวน มีแม่น้ำทั้งหกสายไหลผ่าน จ๊กก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 2 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ฮั่น, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: เล่าปี่และจ๊กก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ขงสิ้ว

งสิ้ว (Kong Xiu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กเป็นขุนพลของเตียวสิ้วเป็นทหารเอกที่สำคัญมากในการรบที่เตงเชียโดยเตียวสิ้วส่งขงสิ้วไปรักษาเมืองเตงเชียเมื่อโจโฉมาตีเมืองเตงเชีย และได้มาเป็นายด่านแรกของด่านทั้ง5 เมื่อกวนอูจะไปหาเล่าปี่ที่โห้ปัก ได้พบกับขงสิ้ว แต่ไม่มีใบผ่าน ขงสิ้วจึงต่อสู้กับกวนอู แล้วก็โดนกวนอูเอาง้าวฟันต.

ใหม่!!: เล่าปี่และขงสิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ขงหยง

งหยง หรือ ขงเล่ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ข่งหรง() (ค.ศ. 153 - ค.ศ. 208) มีชื่อรองว่าเหวินจฺวี่ เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองซีฟู่ ในเขตแคว้นหลู่โก้วะ (โลก๊ก) อันเป็นที่เกิดของขงจื้อ เป็นเชื้อสายของขงจื้อลำดับที่ 20 มีสติปัญญาเฉียบแหลม เมื่ออายุ 10 ขวบได้ไปหาหลี่อิ๋ง เจ้าเมือง คนเฝ้าประตูไม่ให้เข้า ขงหยงอ้างว่าเป็นเพื่อนสนิทของเจ้าเมืองจึงเข้าได้ เมื่อหลีอิ๋งถามว่า เป็นเพื่อนสนิทมาตั้งแต่ครั้งไหน ขงหยงตอบว่า บรรพบุรุษของข้าพเจ้า (คือขงจื้อ) ได้ไปถามความรู้เกี่ยวกับประเพณี จากบรรพบุรุษของท่าน (คือ เล่าจื๊อ ซึ่งชื่อจริงว่า หลีเอ๋อ) จึงถือว่าสกุลเราสนิทมาหลายชั่วคนแล้ว หลีอิ๋งประหลาดใจในสติปัญญาของเด็กน้อยผู้นี้มาก พอดีเฉินวุ่ย ขุนนางผู้ใหญ่ตำแหน่งต้าจงต้าฟูมาเยี่ยมหลีอิ๋งจึงเล่าให้เฉินวุ่ยฟัง เฉินวุ่ยก็ว่า เด็กฉลาดไม่แน่นักที่โตขึ้นจะฉลาดเสมอไป ขงหยงโต้ว่า ตัวท่านเองก็เป็นเด็กฉลาดมาก่อนไม่ใช้หรือ พูดคำนี้ทั้งหลีอิ๋งกับเฉินวุ่ย ก็หัวเราะขึ้นพร้อมกัน โตขึ้น ขงหยงได้ดำรงตำแหน่งราชการเป็นจงหลังเจี้ยง เจ้าเมื่องปักไฮ ประชาชานิยมรักใคร่มาก ชอบยกคำโบราณมาพูดเสมอว่า “ในห้องพรั่งพร้อมด้วยเพื่อน ในแก้วเอิบอาบด้วนน้ำเหล้า” เป็นผู้จัดตั้งสถานศึกษาศิลปะวรรณคดี และได้ชื่อว่าเป็นปราชญ์คนหนึ่งใน 7 ของราชสมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้ ครั้งหนึ่งโจโฉต้องการคนดีมีฝีปากไปเกลี้ยวกล่อมเล่าเปียว ผู้ครองแคว้นเกงจิ๋ว มีผู้เสนอให้วานขงหยง แต่ขงหยงไม่ยอมรับ แนะนำให้วานยีเอ๋ง ซึ่งเป็นเพื่อนรักไปแทน แต่ยีเอ๋งเป็นปราชญ์ที่พูดมากเกินไป ชอบยกตนข่มท่าน การเกลี้ยกล่อมจึงไม่สำเร็จ เนื่องจากคอยขัดคอโจโฉบ่อย ๆ โจโฉจึงไม่ชอบ ครั้งสุดท้ายขัดคอไม่ให้ยกทัพไปปราบเล่าปี่ อ้างว่าเล่าปี่เป็นเชื้อสายพระเจ้าเหี้ยนเต้ และตั้งหลักมั่นคงที่เกงจิ๋วแล้ว โจโฉโกรธ ให้จับขงหยงประหารชีวิตเสีย ขณะที่บุตรกำลังเล่นหมากรุกกันอยู่คนใช้วิ่งมาบอกข่าว และให้ขอให้หนีไปเสีย บุตรขงหยงคนที่สองตอบว่า “ซึ่งท่านเอ็นดูแก่เรานี้คุณก็หาที่สุดมิได้ แต่ธรรมดานกทั้งปวงซึ่งตกฟองในรัง แม้ว่ารังทำลายแล้ว ฟองนั้นก็ตกแตก มิอาจสามารถตั้งอยู่ได้ และบิดาเราถึงแก่ความตายแล้ว บัดนี้ตัวเราผู้เป็นบุตรหรือจะหนีพ้น” พูดมิทันขาดคำทหารโจโฉก็เข้ามาล้อมเรือนจับบุตรภรรยาขงหยงไปฆ่าเสียสิ้น แล้วโจโฉให้เอาศพขงหยงไปประจานไว้ที่สามแพร่ง รูปขงหยงจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: เล่าปี่และขงหยง · ดูเพิ่มเติม »

ขงจี

งจี (Kong Zhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก รับราชการอยู่กับกิมสวนเจ้าเมืองบุเหลง ได้แนะนำให้กิมสวนยอมสวามิภักดิ์ต่อเตียวหุยซึ่งกำลังยกมาตีเมืองบุเหลง ทำให้กิมสวนไม่พอใจสั่งประหารขงจี แต่ขุนนางคนอื่นได้ทัดทานไว้ กิมสวนจึงไว้ชีวิตขงจี กิมสวนยกทัพไปรบกับเตียหุย แล้วเสียทียกทัพกลับเข้าเมือง แต่ขงจีสั่งทหารปิดประตูมิให้กิมสวนเข้าเมืองได้ แล้วใช้เกาทัณฑ์ยิงถูกหน้าผากกิมสวนเสียชีวิต แล้วยอมสวามิภักดิ์ต่อเตียวหุย ต่อมาขงจีจึงได้รับการแต่งตั้งจากเล่าปี่ให้เป็นเจ้าเมืองบุเหลง.

ใหม่!!: เล่าปี่และขงจี · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก

วาดจากหนังสือสามก๊กในยุคราชวงศ์หมิง ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลำดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบายความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่อิงมาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จึงทำให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ปรากฏในวรรณกรรมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่นๆที่ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนำมาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคอื่นๆของประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: เล่าปี่และข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

คว้อเก๋อ

ว้อเก๋อ (Huo Yi; ? — ?, หลัง ค.ศ. 271) ชื่อรอง เช่าเซียน (Shaoxian) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก พ่อของเขา งักจุ้น รับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กตั้งแต่ก่อนสถาปนาจ๊กก๊ก รูปภาพ คว้อเก๋อ จากเกมส์ Romance of The three kingdoms XIII เมื่อจ๊กก๊กถูกพิชิตโดย วุยก๊ก ในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และคว้อเก๋อ · ดูเพิ่มเติม »

คำสาบานในสวนท้อ

ล่าปี่ กวนอู เตียวหุยทำพิธีสาบานตนในสวนท้อ คำสาบานในสวนท้อ (Oath of the Peach Garden) ในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ประพันธ์โดยหลอ กว้านจง ได้กล่าวถึงคำสาบานในสวนท้อ ซึ่งเป็นการกล่าวร่วมสัตย์สาบานตนเป็นพี่น้องร่วมสายเลือดระหว่างเล่าปี่ กวนอูและเตียวหุย ภายหลังจากได้อ่านประกาศจากทางวังหลวง เพื่อรับสมัครอาสาจากชาวเมืองเป็นจำนวนมาก ในการร่วมกับทหารหลวงออกปราบปรามกบฏโจรโพกผ้าเหลืองที่นำโดยเตียวก๊ก ภายหลังจากเกิดความอดยากและการถูกกดขี่ข่มเหงจากเหล่าขุนนาง ออกปล้นสะดมเข่นฆ่าราษฏร สร้างความปั่นป่วนวุ่นวายให้แก่ราชสำนักและราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: เล่าปี่และคำสาบานในสวนท้อ · ดูเพิ่มเติม »

งอก๊กไถ้

ง่อก๊กไถ้ (Lady Wu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ง่อก๊กไถ้ไม่ใช่ชื่อบุคคล แต่เป็นชื่อเรียกขาน มีความหมายว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งง่อก๊ก เดิมมีชื่ออย่างไรไม่ปรากฏ เป็นพระมเหสีองค์ที่สองของซุนเกี๋ยน ทรงเป็นน้องสาวของงอฮูหยิน ภรรยาหลวงของซุนเกี๋ยน ผู้เป็นแม่แท้ ๆ ของซุนเซ็กและซุนกวน เมื่อพี่สาวเสียชีวิตไปก่อนหน้านี้ นางได้ฝากซุนกวน บุตรชายคนที่สองที่เพิ่งขึ้นครองแคว้นให้งอก๊กไถ้ดูแลด้วย ซึ่งงอก๊กไถ้ก็ทำหน้าที่นี้ได้อย่างดี จนซุนกวนนับถือนางเหมือนแม่แท้ ๆ ของตัว.

ใหม่!!: เล่าปี่และงอก๊กไถ้ · ดูเพิ่มเติม »

งออี้

งออี้ (Wu Yi, ? — ค.ศ. 237) ชื่อรองว่า เป็นขุนศึกแห่งจ๊กก๊กและเป็นพี่ชายของ งอฮูหยิน จักรพรรดินีใน พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่ง จ๊กก๊ก แต่เดิมงออี้เป็นขุนนางที่รับใช้ เล่าเจี้ยง เมื่อเล่าเจี้ยงประกาศยอมแพ้ต่อเล่าปี่ใน.ศ 215 งออี้จึงได้มารับใช้เล่าปี่สืบต่อมาจนกระทั่งภายหลังเมื่อสามารถปราบกบฏของ อุยเอี๋ยน ลงได้ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และงออี้ · ดูเพิ่มเติม »

งอฮูหยิน

งอฮูหยิน (? — 245) พระนามเดิม ไม่ทราบ ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีมู่ (Empress Mu) จักรพรรดินีแห่ง จ๊กก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนเป็นน้องสาวของ งออี้ ส่วนพระบิดาของพระนางไม่ปรากฏชื่อในประวัติศาสตร์เป็นเพื่อนกับ เล่าเอี๋ยน และติดตามเล่าเอี๋ยนมายัง เอ๊กจิ๋ว เมื่อเล่าเอี๋ยนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองและด้วยความเป็นเพื่อนพระบิดาของพระนางและเล่าเอี๋ยนได้จัดให้พระนางแต่งงานกับบุตรชายของเล่าเอี๋ยน เล่ามอ แต่หลังจากเล่ามอเสียชีวิตพระนางก็ไม่ได้แต่งงานอีก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: เล่าปี่และงอฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

งักจุ้น

ักจุ้น หรือ ฮั่วจฺวิ้น (Huo Jun; 177 — 216) ชื่อรอง จ้งเหมี่ยว (Zhongmiao) ขุนศึกซึ่งรับใช้ภายใต้การบังคับบัญชาของ เล่าปี่ ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แต่เดิมเคยรับใช้ เล่าเปียว เมื่อเล่าเปียวถึงแก่กรรมในปล..

ใหม่!!: เล่าปี่และงักจุ้น · ดูเพิ่มเติม »

งันเหลียง

งันเหลียง (Yan Liang; เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และงันเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

งำเต๊ก

งำเต๊ก หรือ กำเจ๊ก มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าคั่นเจ๋อ มีชื่อรองว่าเต๋อรุ่น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นที่ปรึกษาคนหนึ่งของง่อก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และงำเต๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ตันกุ๋น

ตันกุ๋น (Chen Qun) เป็นเสนาบดีแห่งวุยก๊ก เดิมรับราชการอยู่กับเล่าปี่และลิโป้ที่เมืองชีจิ๋ว แต่ภายหลังที่โจโฉบุกโจมตีชีจิ๋ว ได้เข้าสวามิภักดิ์กับโจโฉ ตันกุ๋นเคยเป็นผู้แนะนำให้โจโฉคิดตั้งตนเป็นฮ่องเต้เสียเอง แต่โจโฉบอกว่าถึงแม้สวรรค์จะลิขิตให้เขามีตำแหน่งสูงกว่า แต่ตัวเขาจะอยู่เป็นแค่วุยอ๋องก็พอใจแล้ว หลังจากโจโฉเสียชีวิต โจผีบุตรชายของโจโฉขึ้นดำรงตำแหน่งวุยอ๋องแทน ตันกุ๋นได้เป็นคนต้นคิดที่บังคับให้พระเจ้าเหี้ยนเต้สละราชสมบัติให้กับโจผี และเป็นผู้ร่างสาส์นประกาศสละราชสมบัติ ตันกุ๋นจึงมีส่วนในการสถาปนาอาณาจักรวุย หลังจากการเสียชีวิตของพระเจ้าโจผี พระเจ้าโจยอยขึ้นครองบัลลังก์ ตัวเขา สุมาอี้ กับโจจิ๋น ได้ช่วยรวมกันบริหารประเทศและให้คำแนะนำแก่พระเจ้าโจยอย ตามคำสั่งเสียของพระเจ้าโจผีก่อนสวรรคต เขาได้ร่วมในการปราบกบฏกองซุนเอี๋ยน เขาถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 236 ว่ากันว่าเขาอาจจะเป็นบรรพบุรุษของพระถังซัมจั๋ง หมวดหมู่:วุยก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และตันกุ๋น · ดูเพิ่มเติม »

ตันก๋ง

ฉิน กง ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ ตันก๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ตาย ค.ศ. 198) ชื่อรองว่า กงไถ (公臺) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รับใช้ขุนศึกเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ต่อมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) หลังจากเฉา เชา พิชิตลฺหวี่ ปู้ ในยุทธการเซี่ยพี (下邳之戰) แล้ว ก็ประหารเฉิน กง พร้อมกับลฺหวี่ ปู้ ในนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก (三國演義) เฉิน กง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฮั่น แต่เลื่อมใสเฉา เชา ที่คิดกำจัดทรราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) จึงละทิ้งราชการออกติดตามเฉา เชา แต่เมื่อเห็นเฉา เชา สังหารลฺหวี่ ปั๋วเชอ/ลิแปะเฉีย (呂伯奢) ทั้งตระกูลด้วยความเข้าใจผิด เฉิน กง จึงผละหนีจากเฉา เชา ไปเข้ากับลฺหวี่ ปู้ ท้ายที่สุดก็ถูกเฉา เชา ประหารพร้อมลฺหวี่ ปู้ เช่นเดียวกับในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เล่าปี่และตันก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ตันฮก

ีซี (Xu Shu) หรือตันฮก (Shan Fu) ได้รับฉายาจากยาขอบว่าเป็น "ผู้เผ่นผงาดเหนือเมฆ" มีชื่อรองว่า เหวียนจื่อ เป็นชาวเมืองเองจิ๋ว มณฑลเหอหนาน เมื่อเยาว์วัยร่ำเรียนวิชากระบี่ เติบใหญ่ขึ้นมาได้ศึกษาศิลปศาสตร์ ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ จนชำนาญ โดยเป็นศิษย์ของสุมาเต็กโชได้ร่วมสำนักเดียวกับขงเบ้ง และบังทอง เมื่อยามว่างมักจะถกเถียง หารือกับขงเบ้งเสมอ ๆ ต่อมาเมื่อเกิดกลียุค ชีซีได้ฆ่าขุนนางชั่วผู้หนึ่งตาย จึงหลบหนีมาและปลอมชื่อว่าตันฮก.

ใหม่!!: เล่าปี่และตันฮก · ดูเพิ่มเติม »

ตันจิ๋น

ตันจิ๋น (Chen Zhen, ? — ค.ศ. 235) มีขื่อรองว่า เสี้ยวฉี่ (Xiao Qi) เกิดที่เมืองหนานหยางหรือลำหยงเป็นเสนาบดีแห่ง จ๊กก๊ก เมื่อ เล่าปี่ ได้เป็นเจ้าเมืองเกงจิ๋วได้แต่งตั้งให้ตันจิ๋นเป็นขุนนางในท้องถิ่นต่อมาเมื่อเล่าปี่เข้ายึดปาสู่และเอ๊กจิ๋วและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระเจ้าเล่าปี่ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กก็ได้แต่งตั้งตันจิ๋นให้เป็นเจ้ากรมอาลักษณ์ เมื่อ ซุนกวน ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระเจ้าซุนกวนปฐมจักรพรรดิแห่งง่อก๊กใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และตันจิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

ตันเตา

ตันเตา (Chen Dao) ขุนพลผ้าเหลือง ฝีมือเป็นรองแค่จูล่ง หลังโจรผ้าเหลือง ราบคาบได้ไปอยู่กับจูล่งกลายเป็นสหายกันไปอยู่รวมกับ เล่าปี่ จึงได้ เลียวฮัว,จิวฉองมาพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และตันเตา · ดูเพิ่มเติม »

ซุยเป๋ง

ซุยเป๋ง (Cui Zhouping) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ปราชญ์เต๋าอีกคนที่ปรากฏตัวในเรื่องสามก๊ก ซุยเป๋งเป็นศิษย์คนหนึ่งของสุมาเต็กโช คบหาสนิทสนมกับ ขงเบ้ง, ชีซี, โจ๊ะก๋งหงวน และ เบงคงอุย เป็น 1 ใน 2 คนที่เชื่อว่าที่ขงเบ้งกล่าวเทียบตัวเองเหมือนขวันต๋งและงักเย ปราชญ์ในยุคชุนชิวเป็นคำกล่าวที่ไม่เกินจริง (อีกหนึ่งคนที่เชื่ออย่างนั้น คือ ชีซี) เมื่อเล่าปี่ไปหาขงเบ้งครั้งแรก เมื่อไม่เจอตัว ระหว่างกลับไปเจอกับ ซุยเป๋งที่กำลังเดินผ่านมา เห็นท่าทางเหมือนผู้มีความรู้ ไม่เหมือนคนทั่วไป จึงลงจากม้าไปคารวะ เมื่อรู้ว่าคือ ซุยเป๋ง เพื่อนของขงเบ้งที่สุมาเต็กโชเคยกล่าวถึง จึงชวนเสวนาด้วย เมื่อได้เสวนากันแล้ว เล่าปี่เล่าถึงปณิธานของตนที่จะกอบกู้บ้านเมือง ซุยเป๋งเมื่อได้ทราบแล้ว กล่าวชื่นชมปณิธานของเล่าปี่ แต่ก็กล่าวว่า สิ่งที่เล่าปี่พยายามจะทำนั้นคือการฝืนชะตาฟ้า ราชวงศ์แม้จะฟื้นฟูขึ้นมาแต่ก็ไม่วายต้องล่มสลายอีก การฝืนชะตาฟ้าแม้จะพยายามแค่ไหนก็ไม่สำเร็จ เล่าปี่ได้ฟังคำของซุยเป๋งก็เข้าใจอยู่ แต่ก็ยังยืนกรานความตั้งใจของตน และถามซุยเป๋งว่าจะไปที่ไหน ซุยเป๋งตอบว่ากำลังจะไปหาขงเบ้ง เล่าปี่ก็ตอบว่า ตนไปหาขงเบ้งแล้วแต่ไม่อยู่ จึงขอชวนท่านไปอยู่กับข้าพเจ้าที่เมืองซินเอี๋ยก่อน แล้วค่อยมาหาขงเบ้งด้วยกัน แต่ซุยเป๋งกล่าวว่า ตนเป็นเพียงคนป่าคนดอย ไม่ขอยุ่งเกี่ยวกับเรื่องบ้านเมืองดีกว่า ว่าแล้วก็ขอตัวจากไป ต่อมา เมื่อเล่าปี่ไปหาขงเบ้งครั้งที่ 2 ขณะที่หิมะกำลังตกหนัก เล่าปี่ทราบจากจูกัดจิ๋น น้องชายของขงเบ้งว่า พี่ชายตนไม่อยู่ เพราะออกไปเที่ยวกับซุยเป๋ง ซึ่งบางครั้งก็ไปเล่นหมากรุกกันในถ้ำ ล่องเรือตกปลาด้วยกัน หรือไปเยี่ยมเยือนนักปราชญ์ตามภูเขาต่าง ๆ จากคำกล่าวเสมือนรู้อนาคตของซุยเป๋งนี้ ทำให้มีนักอ่านสามก๊กชาวไทยหลายคน วิเคราะห์กันว่า แท้จริงแล้ว บุคคลที่ฉลาดที่สุดในนิยายเรื่องนี้ คือ ซุยเป๋ง ไม่ใช่ขงเบ้ง เพราะเป็นผู้อ่านสถานการณ์ได้อย่างแตกฉาน ซึ่งต่อมาทุกอย่างก็เป็นจริงดังที่ซุยเป๋งกล่าวทุกประการ คือ ขงเบ้งแม้จะใช้สติปัญญาของตนช่วยเหลือเล่าปี่และเล่าเสี้ยนอย่างเต็มที่ แต่หลังจากตัวตายไปแล้ว ราชวงศ์ฮั่นก็ถึงกาลล่มสลายอยู่ดี เพราะความอ่อนแอ ไม่เอาไหนของเล่าเสี้ยน ตัวขงเบ้งเองก็ต้องรากเลือดตายในสนามรบด้วยวัยเพียง 52 ปี และมีผู้ตายในสงครามโดยแผนของขงเบ้งมากถึง 2 ล้านคน แต่ก็ยืดอายุราชวงศ์ฮั่นออกไปได้แค่ 40 ปี เท่านั้น.

ใหม่!!: เล่าปี่และซุยเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยั่นจุน

ในบทของเล่าปี่ ซุน ยั่นจุน เป็นนักแสดงชาวจีน เกิดที่เทียนจิน ในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และซุน ยั่นจุน · ดูเพิ่มเติม »

ซุนกวน

ระเจ้าซุนกวน (181 — 252) หรือ พระเจ้าหวูต้าตี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและพระมหากษัตริย์ของง่อก๊ก (吳) หนึ่งในสามอาณาจักรของยุคสามก๊ก ซุนกวนเป็นบุตรคนที่สองของซุนเกี๋ยน และเป็นน้องชายของซุนเซ็ก เมื่อซุนเซ็กพี่ชายตายไปจึงได้ขึ้นครองเมืองกังตั๋งแทนด้วยวัยแค่ 18 ปี แม้ซุนกวนจะไม่ปรากฏความสามารถในการรบเหมือนผู้พี่แต่มีความสามารถในการปกครองสูงมาก มารดาของซุนกวนได้ตายไปก่อนหน้านี้ ผู้ที่เลี้ยงซุนกวนขึ้นมา คือ ง่อก๊กไท่ ผู้มีศักดิ์เป็นน้าของซุนกวน ซึ่งซุนกวนนับถือง่อก๊กไท่ผู้นี้เสมือนแม่แท้ ๆ ของตัว ซุนกวนมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว มีตาสีเขียว หนวดเคราแดง เมื่อขึ้นครองเมืองแต่ยังเล็ก จึงได้รับฉายาว่า "ทารกตาเขียว" ซึ่งในบรรดาผู้นำก๊กทั้ง 3 นั้น ซุนกวนเป็นผู้มีอายุน้อยที่สุด แม้ตอนที่โจโฉยกทัพไปรบกับง่อก๊กของซุนกวนในศึกหับป๋า ซุนกวนก็บัญชาการรบอย่างแข็งขัน จนโจโฉที่แม้แต่เป็นศัตรูยังเอ่ยปากชมว่า "ถ้าจะได้บุตร ต้องได้บุตรอย่างซุนกวน" ซุนกวนมีน้องสาวอยู่นางหนึ่ง เป็นบุตรสาวของง่อก๊กไท่ ชื่อว่าซุนซางเซียงแต่เรียกกันว่า ซุนฮูหยิน ซึ่งต่อมาในภายหลังได้แต่งงานกับเล่าปี่ เป็นภรรยาคนที่ 3 ของเล่าปี่ ซุนกวนออกอุบายให้นางกลับคืนมาง่อก๊ก โดยเชิญนางให้เร่งรีบกลับมาพร้อมอาเต๊าโดยที่เล่าปี่ไม่รู้ แต่ขงเบ้งอ่านอุบายออก จึงให้จูล่งเร่งรีบเดินทางติดตามไป เมื่อถึงเรือของนางก็กระโดดขึ้นเรือขอให้นางกลับไป แต่นางไม่ยอม จูล่งจึงให้นางไปได้แต่อาเต๊า บุตรของเล่าปี่ต้องอยู่ ท้ายที่สุดอาเต๊าก็ได้กลับไปจ๊กก๊ก และเมื่อซุนฮูหยินทราบเมื่อกลับไปถึงว่านี่เป็นอุบายของพี่ชาย ก็เศร้าโศกเสียใจ ท้ายที่สุดนางก็ตรอมใจตาย ซุนกวน เองก็ปรารถนาก็จะเป็นใหญ่ในแผ่นดินเช่นเดียวกับโจโฉและเล่าปี่ เมื่อตอนที่เล่าปี่มาที่ง่อก๊กเพื่อที่จะสมรสกับซุนฮูหยิน แต่ซุนกวนได้ให้คนคอยซุ่มทำร้ายเล่าปี่อยู่เป็นระยะ ๆ เล่าปี่ก็รู้ทันและได้จูล่งแก้สถานการณ์ให้ เมื่อออกมาจากงานได้รำพันถอดถอนหายใจถึงชะตากรรมตัวเอง และได้เจอหินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่ง เล่าปี่อธิษฐานว่าหากตนจะได้เป็นใหญ่ ขอให้ใช้กระบี่ฟันหินนี้ให้แตกเป็น 2 ท่อน ก็ปรากฏว่าฟันหินได้ขาดจริง ๆ ซุนกวนเห็นดังนั้นจึงอธิษฐานบ้าง ก็ปรากฏว่าสามารถฟันหินได้แตกเช่นกัน และทั้งคู่จึงได้ขี่ม้าออกชมทัศนียภาพของง่อก๊กด้วยกัน แต่นโยบายในการทำสงครามของซุนกวนจะไม่ประกาศเป็นศัตรูกับก๊กใหญ่อีก 2 ก๊ก นั้นอย่างเต็มที่ แต่จะผูกไมตรีกับทุกก๊กที่จะเป็นประโยชน์กับตัวเอง ดังจะเห็นว่า ซุนกวนเองแม้จะผูกไมตรีกับจ๊กก๊ก แต่ก็หาทางจะกำจัดเล่าปี่อยู่เสมอ ๆ ถ้ามีโอกาส และซุนกวนเองก็เป็นสาเหตุการตายของกวนอู โดยซุนกวนออกอุบายทำให้จับกวนอูได้ จากนั้นจึงตัดหัวกวนอูส่งไปให้โจโฉ ซึ่งทำให้ทั้งเล่าปี่และเตียวหุยแค้นซุนกวนมาก และทั้งเตียวหุยและเล่าปี่ก็ต้องมาตายด้วยการมาแก้แค้นให้กวนอูทั้งสิ้น และต่อมาใน ปี..252 พระเจ้าซุนกวนสวรรคต รวมเวลาเสวยราชย์อยู่ได้ 24 ปี ภายหลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคตไปแล้ว พระโอรสก็ได้ขึ้นเป็นผู้นำก๊กต่อ แต่สภาพภายในง่อก๊กไม่แข็งแกร่งเหมือนเก่า ขุนนางแตกแยกกันเอง จนนำมาสู่การล่มสลายของก๊กในที.

ใหม่!!: เล่าปี่และซุนกวน · ดูเพิ่มเติม »

ซุนฮูหยิน

ซุนฮูหยิน หรือเดิมชื่อ ซุนซ่างเซียง เป็นธิดาเพียงคนเดียวของซุนเกี๋ยนและนางง่อก๊กไท่ เป็นพระราชกนิษฐาต่างพระมารดาของพระเจ้าซุนกวน เมื่อยังเยาว์วัยชอบฝึกฝนอาวุธ เป็นลูกสาวที่ง่อก๊กไท่ไทเฮารักมาก เมื่อจิวยี่คิดยึดเมืองเกงจิ๋ว ได้คิดอุบายลวงเล่าปี่มาแต่งงานกับซุนฮูหยินและจับเล่าปี่เป็นตัวประกันแลกกับเกงจิ๋ว แต่ขงเบ้งแก้ลำจิวยี่ได้ เล่าปี่จึงได้นางซุนฮูหยินนเป็นภรรยา ตัวเล่าปี่เองก็ไม่ต้องถูกจับ เกงจิ๋วก็ปลอดภัย ทั้งจิวยี่ก็กระอักเลือดด้วยความแค้นจนสลบไป ต่อมา เล่าปี่ไปตีเสฉวนโดยทิ้งนางซุนฮูหยินไว้ที่เกงจิ๋ว ซุนกวนใช้จิวเสี้ยนไปลวงนางซุนฮูหยินว่าแม่ป่วยหนักมาก ให้กลับกังตั๋งไปเยี่ยมแม่และให้เอาอาเต๊าบุตรชายของเล่าปี่ไปด้วย ซุนฮูหยินจึงพาอาเต๊าขึ้นเรือไปกังตั๋ง แต่จูล่งและเตียวหุยมานำตัวอาเต๊าคืน นางซุนฮูหยินจึงเดินทางไปกังตั๋งเพียงผู้เดียว ต่อมาจึงรู้ภายหลังว่าถูกหลอก พระเจ้าซุนกวนได้สั่งให้กักตัวนางไว้ ต่อมา พระเจ้าเล่าปี่สวรรคต พระนางซุนฮูหยินรู้ข่าวจึงเสียพระทัยเป็นอันมาก พระนางจึงกระโดดน้ำสิ้นพระชนม์ตามพระเจ้าเล่าปี่ไป.

ใหม่!!: เล่าปี่และซุนฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

ซีหอง

ซีหอง (Xue Zong) เป็นที่ปรึกษาคนหนึ่งของซุนกวน เคยเจรจาโต้ตอบกับขงเบ้ง เมื่อโจโฉยกทัพใหญ่มาจะตีกังตั๋ง โลซกมาในนามของซุนกวนได้ยืมตัวขงเบ้งจากเล่าปี่เพื่อปรึกษาการศึก ฝ่ายโจโฉได้ส่งหนังสือถึงซุนกวนให้สวามิภักดิ์ มิฉะนั้นจะเข้ายึดกังตั๋ง เตียวเจียวและที่ปรึกษาคนอื่นๆ รวมทั้งซีหอง ได้แนะนำให้ซุนกวนยอมแพ้ แต่โลซกแนะนำเชิญให้ขงเบ้งมาให้คำแนะนำ ซุนกวนจึงให้โลซกเชิญมา โลซกได้พาขงเบ้งมาในที่ประชุมขุนนาง ระหว่างที่รอซุนกวน ขงเบ้งได้เจรจาโต้ตอบกับเตียวเจียว ยีหวน และโปเจ๋าที่โน้มน้าวให้ขงเบ้งแนะนำซุนกวนให้ยอมแพ้ แต่ขงเบ้งก็โต้กลับจนทำให้ทั้งสามเงียบไป ซีหองจึงลุกขึ้นพูดบ้างว่า ท่านรู้หรือไม่ว่าโจโฉเป็นใคร ขงเบ้งตอบว่า โจโฉเป็นโจรราชสมบัติ ท่านจะถามไปไย ซีหองโต้กลับว่า ท่านพูดแบบนี้ก็ไม่ควร บัดนี้ โจโฉมีอำนาจในแผ่นดิน 2 ใน 3 ส่วนแล้ว หากท่านคิดแข็งขืน ก็เหมือนเอาไข่ไปกระทบหิน หาประโยชน์มิได้เลย ขงเบ้งจึงต่อว่าซีหองว่ามิได้กตัญญูต่อแผ่นดิน และได้กล่าวเหตุผลอีกหลายประการจนซีหองเงียบไป จากนั้น ลกเจ๊ก เหยียมจุ้น และเทียตก ก็ได้เจรจาก็ขงเบ้งบ้าง แต่ขงเบ้งก็ตอบด้วยเหตุผลได้ทุกครั้งไป หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ง่อก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และซีหอง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. ประวัติศาสตร์จีนมีทั้งช่วงที่เป็นปึกแผ่นและแตกเป็นหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น เช่น มองโกล แมนจู ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของจีนมีอิทธิพลอย่างสูงต่อชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย และในสังคมโลก ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นไม่มีหลักฐานแน่ชัดนักว่าเริ่มต้นเมื่อไร แต่จากการขุดพบวัตถุโบราณตามลุ่มแม่น้ำฉางเจียงและหวางเหอ แบ่งช่วงเวลานี้ออกได้เป็นสังคมสองแบบ แบบแรกเป็นช่วงที่ผู้หญิงเป็นใหญ่เรียกว่าช่วงวัฒนธรรมหยางเซา และช่วงที่ผู้ชายเป็นใหญ่เรียกว่าวัฒนธรรมหลงซาน ตำนานเล่ากันว่าบรรพบุรุษจีนมีชื่อเรียกว่า หวางตี้ และ เหยียนตี้.

ใหม่!!: เล่าปี่และประวัติศาสตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวอิ๋น

แฮหัวอิ๋น (夏侯恩) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ซึ่งกล่าวกันว่าแฮหัวอิ๋นเกิดปี ค.ศ. 167 เป็นหลานของแฮหัวตุ้น ครั้งหนึ่งได้ช่วยชีวิตโจโฉจากเสือ จึงได้เป็นขุนพลข้างกายโจโฉ ในศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว เมื่อ ค.ศ. 208 เมื่อครั้งที่เล่าปี่พาราษฎรหลบหนีการไล่ล่าของโจโฉ และได้พลัดหลงกับกำฮูหยินและบิฮูหยินกับอาเต๊า (พระเจ้าเล่าเสี้ยน) จูล่ง ทหารเอกของเล่าปี่ได้ฝ่าทัพโจโฉเข้าไปตามหา และต่อสู้กับแฮหัวอิ๋น จูล่งใช้ทวนแทงแฮหัวอิ๋นตายในที่สุด หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และแฮหัวอิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวตุ้น

แฮหัวตุ้น (Xiahou Dun) เป็นนายพลภายใต้ทัพวุยก๊กของโจโฉในยุคสามก๊กในประวัติศาสตร์จีน แฮหัวตุ้นยังเป็นญาติกับโจโฉโดยแต่เดิมโจโฉนามสกุล "แฮหัว" แต่ได้เปลี่ยนตามพ่อบุญธรรมเป็นสามสกุล "โจ" แฮหัวตุ้นเป็นแม่ทัพมือขวาและยังเป็นลูกพี่ลูกน้องที่โจโฉให้ความไว้วางใจมากที่สุดคนหนึ่ง และเขาก็เป็นคนที่อยู่กับโจโฉมาตั้งแรกเริ่มที่โจโฉเริ่มก่อการจวบจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งเขาได้โจโฉขยายอำนาจในการต่อสู้กับ เล่าปี่ ซุนกวน และ ลิโป้ แฮหัวตุ้นสูญเสียดวงตาข้างซ้ายในศึกเสียวพ่าย ในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และแฮหัวตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

แผนหลงจง

วาดแสดงแผนที่ตามแผนหลงจง แผนหลงจง (Longzhong Plan; 隆中對) เป็นชื่อเรียกแผนยุทธศาสตร์ที่จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) นักยุทธวิธีและผู้ปกครองชาวจีนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 เป็นผู้เสนอ แผนดังกล่าวเป็นรากฐานสำหรับแผนใหญ่ของขุนศึกเล่าปี่ (หลิวเป้ย) และจ๊กก๊ก (รัฐฉู่) ในสมัยสามก๊กต่อมา ใจความสำคัญเล็งเห็นการยึดฐานภูมิภาคที่อยู่รอดได้ในภาคใต้ของจีน แล้วโจมตีสองง่ามเพื่อพิชิตภาคเหนือ แม้แผนดังกล่าวจะพุ่งเป้าไปยังวุยก๊ก (รัฐเว่ย์) ที่เข้มแข็ง แต่เป้าหมายบั้นปลายในการสร้างเอกภาพอีกครั้งซึ่งจักรวรรดิราชวงศ์ฮั่นที่ล่มสลายจำเป็นต้องทำลายง่อก๊ก (รัฐอู๋) ของซุนกวน (ซุนเฉวียน) ฝ่ายทิศตะวันออกด้วย จูกัดเหลียงเข้าร่วมกับหลิวเป้ยเป็นโหมวจึ้ (謀士) หรือที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และแผนหลงจง · ดูเพิ่มเติม »

โกลำ

กลำ (Gao Lan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เดิมเป็นนายทหารของอ้วนเสี้ยวเช่นเดียวกับเตียวคับในศึกกัวต๋อ เมื่อครั้งที่โจโฉนำกำลังทหารเข้าล้อมเผาเมืองอัวเจ๋า ซึ่งเป็นคลังเสบียงของอ้วนเสี้ยวจนวอดวาย อ้วนเสี้ยวจึงใช้แผนการของกัวเต๋าด้วยการส่งเตียวคับและโกลำให้ไปบุกโจมตีค่ายของโจโฉ แต่ถูกทัพของแฮหัวตุ้นตีแตกพ่าย หลังเตียวคับและโกลำแตกพ่ายยับเยิน กัวเต๋าเกรงกลัวความผิด จึงปัดความผิดให้พ้นตัวเองด้วยการใส่ร้ายโกลำและเตียวคับด้วยข้อหาการเป็นไส้ศึก สร้างความโกรธแค้นแก่อ้วนเสี้ยวเป็นอย่างมาก จึงคิดสั่งการให้ทหารจับตัวเตียวคับและโกลำมารับโทษทางวินัยทหาร แต่ทั้งสองคนหลบหนีไปได้จึงไปสวามิภักดิ์ต่อโจโฉในภายหลัง เมื่อครั้งเล่าปี่นำกำลังทหารบุกโจมตีเมืองฮูโต๋ แต่ต้องพ่ายแพ้แตกพ่ายยับเยินกลับจ๊กก๊ก โกลำนำกำลังทหารจำนวนมากติดตามเพื่อสังหารเล่าปี่ แต่ในขณะที่เล่าปี่เกือบพลาดท่าเสียทีโกลำที่ติดตามมาจนเกือบถึงตัว จูล่งได้เข้ามาช่วยไว้ได้ทัน และสังหารโกลำต.

ใหม่!!: เล่าปี่และโกลำ · ดูเพิ่มเติม »

โกซุ่น

โกซุ่น หรือ กอสุ้น (Gao Shun) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนพลของลิโป้ เป็นขุนพลกองหน้าให้ลิโป้หลายครั้ง ครั้งหนึ่ง ลิโป้ได้ให้โกซุ่นกับเตียวเลี้ยวล้อมเมืองเสียวพ่ายของเล่าปี่ไว้ โจโฉจึงส่งแฮหัวตุ้น แฮหัวเอี๋ยน ลิเตียน ลิยอยไปช่วยเล่าปี่ โกซุ่นได้รบกับแฮหัวตุ้น และแกล้งแพ้ ให้โจเสงทหารคนสนิทยิงเกาทัณฑ์ถูกลูกตาของแฮหัวตุ้น แฮหัวตุ้นดึงเกาทัณฑ์ออกมาลูกตาได้ติดเกาทัณฑ์มาด้วยจึงกินลูกตานั้นไป และเข้าสังหารโจเสงทำให้ทหารโกซุ่นเสียขวัญ แต่โกซุ่นทำศึกชนะแฮหัวตุ้นได้ จนต้องยกทัพกลับ เมื่อโจโฉยึดเมืองแห้ฝือจับตัวลิโป้ได้ โกซุ่นได้ถูกนำตัวมาไต่สวนด้วย และถูกตัดสินให้ถูกประหาร หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และโกซุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โลติด

ลติด (Lu Zhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็น 1 ใน 3 แม่ทัพใหญ่ซึ่งมีหน้าที่ในการปราบปรามโจรโพกผ้าเหลือง อันได้แก่ โลติด ฮองฮูสง จูฮี.

ใหม่!!: เล่าปี่และโลติด · ดูเพิ่มเติม »

โจผี

ระเจ้าโจผี หรือ เฉาพี พระนามรอง จื่อหวน เป็นพระโอรสองค์รองในพระเจ้าโจโฉ ได้สืบต่อตำแหน่ง วุยอ๋อง และอำนาจต่อหลังจากโจโฉสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ภายหลังจึงได้ล้มล้างราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ปราบดาภิเษกเป็นปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์เว่ย (วุยก๊ก) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยเหวินตี้ (- จักรพรรดิแห่งเว่ย) ในปี พ.ศ. 763 โจผีนั้นเป็นบุตรคนรอง แต่ก็ได้มีบทบาทในการสืบทอดอำนาจจากโจโฉ เนื่องจากบุตรชายคนโต คือ โจงั่ง ได้เสียชีวิตไปตั้งแต่ยังอายุน้อยในการติดตามโจโฉไปทำสงคราม ในนิยายสามก๊กได้ โจโฉได้กล่าวถึงโจผี ว่าเป็นคนมีปัญญา จิตใจหนักแน่น โอบอ้อมอารีย์ จึงสมควรจะเป็นสืบทอดอำนาจของตน โจผีเป็นผู้เชี่ยวชาญในการแต่งกลอน กาพย์กวี เช่นเดียวกับโจโฉผู้บิดา และยังได้เคยติดตามบิดาออกไปทำสงครามบ่อยครั้ง ตั้งแต่ยังเยาว์ โจผีมีภรรยาหลวง คือนางเอียนสี ซึ่งได้ตัวมาเมื่อครั้งที่โจโฉทำสงครามกัวต๋อกับตระกูลอ้วน นางเอียนสีนั้นเป็นสาวงามที่มีชื่อว่า เป็นหญิงงามแห่งแผ่นดินทางเหนือ และยังเป็นภรรยาม่ายของอ้วนฮี บุตรชายของอ้วนเสี้ยว คู่ศึกของโจโฉ จึงย่อมถือเป็นเชลยศึก แต่โจผีก็ได้รับนางมาตกแต่งเป็นภรรยาหลวง ในขณะนั้นโจผีอายุได้ 17 ปี ขณะที่นางเอียนสีอายุมากกว่า คือ 22 ปี ซึ่งภายหลังเมื่อโจผีได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้สถาปนานางเป็นฮองเฮา เนื่องจากการที่โจผีขึ้นครองราชย์ สถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ จึงทำให้ซุนกวนและเล่าปี่ต้องสถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ตามไปด้วย ก่อให้เกิดสภาพของสามก๊กอย่างแท้จริง พระเจ้าโจผีเมื่อได้ปราบดาภิเษกเป็นฮ่องเต้ในเบื้องแรกนั้นก็ได้ทรงดำริจะทำการกวาดล้างศัตรูทุกคน รวมไปถึงพระอนุชา คือ โจสิด ซึ่งมีสติปัญญา และฝีมือในเชิงการกวี เช่นเดียวกับพระองค์ และเคยเป็นคู่แข่งในการแต่งตั้งรัชทายาทของโจโฉด้วย แต่โจสิดสามารถเอาตัวรอดได้ โดยการแต่งโคลงมีใจความว่า ต้นถั่วเผาต้นถั่ว ในกระทะถั่วร้องไห้ กำเนิดจากรากเดียวกัน เหตุไฉนคิดทำลาย มีความหมายถึง การที่พี่น้องซึ่งมาจากจุดกำเนิดเดียวกัน กลับต้องมาสังหารเข่นฆ่ากัน ด้วยเหตุใด ทำให้พระเจ้าโจผีสะเทือนพระทัย และไม่อาจสังหารพระอนุชาได้ ซึ่งโคลงบทกวีที่โจสิดแต่งขึ้นเพื่อเอาชีวิตรอดนี้มีชื่อเสียงมาก พระเจ้าเว่ยเหวินตี้ โจผี เป็นฮ่องเต้ที่ครองราชย์ในระยะอันสั้นเพียง 7 ปี เท่านั้น ก็ทรงพระประชวร และเสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ. 769 สิริรวมพระชนมายุได้ 39 พรรษ.

ใหม่!!: เล่าปี่และโจผี · ดูเพิ่มเติม »

โจจู๋

ู๋ (Zuo Ci) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นชาวเมืองหลูเจียง (โลกั๋ง) มณฑลอันเฮวย (อันฮุย) ฉายาเหลียนฟ่าง ตาเสียข้างหนึ่ง ได้ศึกษาคัมภีร์วิเศษลัทธิเต๋า จากเขางูปีสัน ได้แสดงอิทธิฤทธ์ต่างๆ ให้โจโฉดูที่เงียบกุ๋น และแนะนำให้โจโฉมอบแผ่นดินให้เล่าปี่ดูแลแทน โจโฉโกรธให้ฆ่าแต่กลับไม่ตาย แถมยังแสดงอภินิหารเย้ยโจโฉมากมาย และหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอ.

ใหม่!!: เล่าปี่และโจจู๋ · ดูเพิ่มเติม »

โจป้า

ป้า ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ เฉา เป้า ตามสำเนียงกลาง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลแห่งโตเกี๋ยมผู้ปกครองเมืองชีจิ๋ว โจป้าเป็นพ่อตาของลิโป้ เมื่อคราวเล่าปี่ครองเมืองชีจิ๋วต่อจากโตเกี๋ยม โจโฉได้มีหนังสือรับสั่งให้เล่าปี่นำกำลังทหาร ไปรบกับอ้วนสุดที่เมืองลำหยง เล่าปี่จึงนำกำลังทหารไปตามคำสั่งโจโฉโดยมอบหมายให้เตียวหุยดูแลเมืองชีจิ๋ว ฝ่ายเตียวหุยซึ่งอยู่รักษาเมืองชีจิ๋วตามคำสั่งเล่าปี่ โดยมอบหมายให้ตันเต๋งเป็นผู้ว่าราชการฝ่ายพลเรือน ตนเองเป็นผู้ว่าราชการข้างเหล่าทหาร.

ใหม่!!: เล่าปี่และโจป้า · ดูเพิ่มเติม »

โจโฉ

ฉา เชา ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ โจโฉ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220) ชื่อรองว่า เมิ่งเต๋อ (孟德) ชื่อเล่นว่า อาหมาน (阿瞞) และ จี๋ลี่ (吉利)(太祖一名吉利,小字阿瞞。) Pei Songzhi.

ใหม่!!: เล่าปี่และโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกี๋ยม

ตเกี๋ยม (Tao Qian) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองชีจิ๋ว ชื่อรองกงจู่ เป็นคนจิตใจอ่อนโยน เมื่อคราวที่ขบวนของโจโก๋ บิดาของโจโฉผ่านยังเมืองชีจิ๋ว โตเกี๋ยมได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี และมอบหมายให้เตียวคีเป็นผู้คุ้มกันขบวนรถอีกด้วย แต่หลังจากเตียวคีนำทหารห้าร้อยนายติดตามขบวนรถของโจโก๋ เตียวคีเกิดความโลภด้วยเห็นว่าโจโก๋มีทรัพย์สมบัติเป็นจำนวนมาก จึงวางแผนฆ่าโจโก๋และปล้นชิงทรัพย์สินและหลบหนีไป เมื่อโจโฉทราบข่าวการเสียชีวิตของบิดา ก็โกรธแค้นโตเกี๋ยมเป็นอย่างยิ่ง เตรียมนำกองกำลังทหารจำนวนมากหมายเข้าตีเมืองชีจิ๋วให้ราบคาบ โตเกี๋ยมจึงปรึกษากับเหล่าขุนนางถึงการนำทัพมาของโจโฉเพื่อหาทางป้องกันเมือง โตเกี๋ยมตั้งใจจะมอบตัวแก่โจโฉเพื่อให้โจโฉฆ่าเสียให้หายโกรธ เนื่องจากตนเองเป็นต้นเหตุให้ราษฏรในเมืองต้องรับความเดือดร้อน แต่บิต๊กได้ไปขอกำลังทหารจากขงหยงและเล่าปี่มาช่วยป้องกันเมืองชีจิ๋ว เล่าปี่เขียนหนังสือให้ม้าใช้นำไปมอบให้แก่โจโฉ พร้อมกับส่งเตียวหุยไปเป็นทูตเพื่อเจรจาของสงบศึก แต่ในขณะเดียวกันลิโป้ก็นำกำลังทหารบุกเข้าโจมตีค่ายทหารของโจโฉที่เมืองกุนจิ๋ว ซึ่งโจโฉมอบหมายให้โจหยินเป็นผู้ดูแลรักษาค่าย ลิโป้ตีค่ายทหารของโจโฉแตก โจหยินที่ดูแลรักษาค่ายทหารกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อลิโป้ ทำให้โจโฉต้องนำกำลังทหารกลับยังค่ายเพื่อช่วยเหลือโจหยิน หลังจากเล่าปี่ยื่นมือเข้าช่วยเหลือโตเกี๋ยม ซึ่งเห็นว่าเล่าปี่เป็นผู้มีคุณธรรม มีความสามารถและกล้าหาญ สามารถปกครองเมืองชีจิ๋วต่อจากตนได้ จึงเชิญเล่าปี่ให้เป็นเจ้าเมืองชีจิ๋วแทนตน แต่เล่าปี่กลับปฏิเสธพร้อมกับให้เหตุผล ทำให้โตเกี๋ยมผิดหวังเป็นอย่างยิ่ง จนกระทั่งล้มป่วยอย่างหนัก จึงขอร้องให้เล่าปี่รับเป็นเจ้าเมืองชีจิ๋วแทนตน ก่อนสิ้นใจอย่างสงบด้วยอายุ 62 ปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และโตเกี๋ยม · ดูเพิ่มเติม »

ไทสูจู้

ทสูจู้ (Taishi Ci) มีชื่อเสียงจากการชิงฎีกาของศัตรูนายตัวเองทำให้ต้องหลบหนี ช่วยส่งสารให้กับขงหยงเพื่อของความช่วยเหลือจากเล่าปี่ ขี่ม้ายิงธนูฝ่าโจรผ้าเหลือง หลังจากนั้นมารับใช้เล่าอิ้ว เล่าอิ้วแต่งตั้งเป็นคนตรวจตรากองทัพ ในการลาดตระเวนครั้งหนึ่ง พบกับซุนเซ็กโดยบังเอิญ ไทสูจู้ควบม้าเข้าใส่โจมตีทันที ทั้งสองสู้กันไม่รู้แพ้ชนะ ภายหลังเล่าอิ้วพ่ายแพ้ ซุนเซ็กจับตัวไทสูจู้ได้ และปล่อยตัวเขาไปให้ไปดูลาดเลาลูกน้องของเล่าอิ้ว ทั้งที่ลูกน้องซุนเซ็กหลายคนคัดค้าน แต่ไทสูจู้ก็กลับมาหาซุนเซ็ก จนเป็นที่มาของคำว่า "ใช้ไม่ระแวง ระแวงไม่ใช้" ภายหลังเกิดสงครามที่หับป๋า ไทสูจู้อาสาลอบเข้าโจมตีเมืองตอนกลางคืน แต่เตียวเลี้ยวรู้ทันแผนการนี้ จึงสั่งทหารรุมยิงลูกธนูมากมายใส่เขาจนเสียชีวิต.

ใหม่!!: เล่าปี่และไทสูจู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไดกิ นะกะมุระ

กิ นะกะมุระ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1962 ที่จังหวัดโตเกียว กรุ๊ปเลือด A สังกัดค่าย 81 โปรดิวซ์ เคยมีชื่อเสียงโด่งดังมาก จากบท ดาเตะ เซจิ ในเรื่อง ซามูไรทรูปเปอร.

ใหม่!!: เล่าปี่และไดกิ นะกะมุระ · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์

Dynasty Warriors เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็กชันที่สร้างและพัฒนาโดย Koei เนื้อเรื่องและตัวละครส่วนใหญ่ใน Dynasty Warriors มีต้นแบบมาจากวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก โดยก่อนหน้าที่จะสร้างเกมชุด Dynasty Warriors ขึ้นมานั้น Koei เคยสร้างเกมชุดอื่นที่มีต้นแบบมาจากสามก๊กที่ใช้ชื่อว่า Romance of the Three Kingdoms มาก่อน โดยเป็นเกมวางแผนการรบประเภททีละรอบ (Turn Based Strategy) ในภาคแรกของ Dynasty Warriors นั้นทางประเทศญี่ปุ่นให้ชื่อว่า Sangokumusō ซึ่งในภาคแรกนี้ภาพของเกมจะออกมาในรูปแบบ 2D (คล้ายเกมเทคเคน) และเป็นเกมแนวต่อสู้ แต่ในภาคต่อๆมานั้น Dynasty Warriors ได้เปลี่ยนให้ภาพออกมาในรูปแบบ 3D (คล้ายเกม GTA) รวมถึงเปลี่ยนออกมาเป็นเกมแนวแอ็กชันอาร์พีจี และยังได้เปลี่ยนชื่อเป็น Shin Sangokumusō ตั้งแต่ภาค 2 เป็นต้นมาด้วย เกมชุด ไดนาสตีวอริเออร์ ถือเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จเกมนึงของ Koei โดยหากนับรวมเกมชุดทั้งภาคต่อและภาคย่อย ถึงปี 2554 มียอดขายไปแล้วมากกว่า 18 ล้านยูนิต.

ใหม่!!: เล่าปี่และไดนาสตีวอริเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 5

นาสตีวอริเออร์ 5 เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 5 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 2 และเอกซ์บอกซ์ โดยสร้างขึ้นจากนวนิยายจีนสามก๊ก โดยล่อกวนตง.

ใหม่!!: เล่าปี่และไดนาสตีวอริเออร์ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 6

นาสตีวอริเออร์ 6 เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 6 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บอกซ์ 360, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เพลย์สเตชัน 2 และเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล โดยสร้างขึ้นจากประวัติศาสตร์จีนยุคสามก๊ก ในช่วยประมาณปี พ.ศ. 743.

ใหม่!!: เล่าปี่และไดนาสตีวอริเออร์ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 7

นาสตีวอริเออร์ 7 (Dynasty Warriors 7) เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 7 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บอกซ์ 360, และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยสร้างขึ้นจากประวัติศาสตร์จีนยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และไดนาสตีวอริเออร์ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ไป๋ตี้เฉิง

ป๋ตี้เฉิง (Baidicheng) หรือในสามก๊กเรียก เป๊กเต้เสีย เมืองที่ตั้งอยู่บนเขาริมฝั่ง แม่น้ำแยงซี ราว 8 กิโลเมตรทางตะวันออกของ อำเภอเฟิ่งเจี่ย นครฉงชิ่ง เมืองแห่งนี้เป็นที่รู้จักเนื่องจาก พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่ง จ๊กก๊ก ได้เสด็จมาประทับภายหลังจากพ่ายแพ้ใน ยุทธการที่อิเหลง เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และไป๋ตี้เฉิง · ดูเพิ่มเติม »

เบ้งตัด

้งตัด (Meng Da) เป็นขุนนางคนหนึ่งในสามก๊ก มีนิสัยกลับกลอก เป็นคนหลายนาย เป็นเพื่อนสนิทของเตียวสงและหวดเจ้ง ตอนแรกเริ่ม เบ้งตัดเป็นขุนนางของเล่าเจี้ยงเจ้าแคว้นเสฉวน ต่อมาเตียวสงคิดจะช่วยเหลือเล่าปี่ยึดครองเสฉวน จึงสมคบกับหวดเจ้งและเบ้งตัดในการช่วยเล่าปี่ ถึงแม้เตียวสงจะถูกเล่าเจี้ยงสังหารก่อนที่การจะสำเร็จ แต่หวดเจ้งและเบ้งตัดก็ได้ช่วงเหลือเล่าปี่จนได้ขึ้นครองเสฉวนแทนเล่าเจี้ยง ต่อมา เบ้งตัดถูกส่งไปรักษาซ้างหยง (ในสามก๊กฉบับไทยใช้ว่า ซงหยง ซึ่งไปซ้ำกับอีกเมืองหนึ่ง) พร้อมกับเล่าฮอง เมื่อกวนอูเสียทีลิบองต้องเสียเมืองเกงจิ๋ว กวนอูได้ส่งเลียวฮัวไปขอความช่วยเหลือจากเบ้งตัดและเล่าฮอง แต่ทั้งสองไม่ให้ความช่วยเหลือ ต่อมา กวนอูถูกลิบองจับตัวได้และถูกประหาร เบ้งตัดกลัวความผิดที่ตนมีส่วนทำให้กวนอูตายจึงหนีไปสวามิภักดิ์ต่อโจผี ส่วนเล่าฮองได้กลับมาหาเล่าปี่ และถูกเล่าปี่ประหาร หลังจากพระเจ้าเล่าปี่สวรรคต ขงเบ้งได้ออกศึกภาคใต้ปราบเบ้งเฮ็กสำเร็จ จึงยกทัพบุกวุยก๊ก เวลานั้น เบ้งตัดได้เปลี่ยนใจกลับมาสวามิภักดิ์ต่อจ๊กก๊กโดยส่งจดหมายมาขอสวามิภักดิ์ถึงขงเบ้ง และบอกว่าจะร่วมมือกับขงเบ้งเข้าตีลกเอี๋ยงของพระเจ้าโจยอย เพื่อลบล้างความผิดที่เคยก่อไว้ แต่ซินหงีและซินต๋ำ ขุนนางในเมืองส้างหยงที่จงรักภักดีต่อวุยก๊ก ได้ส่งจดหมายลับถึงสุมาอี้ บอกแผนการของเบ้งตัด สุมาอี้จึงยกทัพไปส้างหยงเพื่อปราบเบ้งตัด ในศึกครั้งนี้ ซิหลงต้องสิ้นชีพในการรบ แต่ในที่สุดเบ้งตัดก็ถูกสังหารโดยซินต๋ำ รูปเบ้งตัดจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: เล่าปี่และเบ้งตัด · ดูเพิ่มเติม »

เกียวก๊กโล

เกียวก๊กโล (Qiao Xuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก บิดาของนางไต้เกี้ยวและเสียวเกี้ยว มีบทบาทในตอนเล่าปี่แต่งงานกับซุนฮูหยิน โดยเป็นผู้ยกย่องคุณธรรมของเล่าปี่ให้ง่อก๊กไท่ฟัง และเป็นผู้ช่วยเล่าปี่ให้พ้นจากการหมายปองร้ายของจิวยี่ กีเยวก๊กโล กีเยวก๊กโล.

ใหม่!!: เล่าปี่และเกียวก๊กโล · ดูเพิ่มเติม »

เกียดเป๋ง

กียดเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 218) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าจี๋เปิ่น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นแพทย์หลวงในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในประวัติศาสตร์ เกียดเป๋งร่วมกับพรรคพวกหลายคนก่อกบฏขึ้นในเมืองหลวงฮูโต๋ในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และเกียดเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

เกงจิ๋ว

กงจิ๋ว หรือ จังหวัดเกง หรือ จิ้งโจว (Jingzhou, Jing Province; 荆州; พินอิน: Jīngzhōu) เป็น 1 ใน 9 จังหวัดหรือมณฑลของประวัติศาสตร์จีนในอดีต โดยเป็นเขตการปกครองในช่วงของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ก่อน ค.ศ. 141– ค.ศ. 87) ของราชวงศ์ฮั่น เป็นเมืองที่ติดกับแม่น้ำแยงซี ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในยุคสามก๊ก และปรากฏในวรรณกรรมสามก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และเกงจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เภาเจ๋ง

เภาเจ๋ง (Pu Jing) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นหลวงจีนอาศัยอยู่ในวัดที่ด่านกิสุยก๋วน เมื่อครั้งที่กวนอูฝ่าด่านทั้งห้า พาพี่สะใภ้ไปหาเล่าปี่ เมื่อถึงด่านกิสุยก๋วนที่มีรักษาการอยู่ ได้เชิญกวนอูไปพัก เภาเจ๋งได้ยื่นดาบให้กวนอูดูว่ามีมือสังหารอยู่ กวนอูจึงสังหารเปี๋ยนฮี แล้วลาเภาเจ๋งไป เมื่อกวนอูถูกประหารชีวิตโดยซุนกวน ได้เจอกับเภาเจ๋ง เภาเจ๋งบอกกับกวนอูว่าแม่ทัพที่ท่านสังหารไป จะไปเอาหัวกับใคร กวนอูทราบแล้วลาจากไป ภเาเจ๋ง.

ใหม่!!: เล่าปี่และเภาเจ๋ง · ดูเพิ่มเติม »

เลียวฮัว

ลียวฮัว (Liao Hua) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งจ๊กก๊ก ชื่อรองเหยียนเจี้ยนโดยก่อนหน้านั้นเป็นอดีตแม่ทัพของกบฏโจรโพกผ้าเหลือง เป็นตัวละครในเรื่องสามก๊กที่เจนศึกตั้งแต่โจรโพกผ้าเหลืองยันจ๊กก๊กล่มสลายคนนึง.

ใหม่!!: เล่าปี่และเลียวฮัว · ดูเพิ่มเติม »

เล่ากี๋

ล่ากี๋ (Liu Qi) เป็นบุตรของเล่าเปียว ที่เกิดจากนางต้านซี เล่ากี๋เป็นผู้ที่มีสติปัญญาปานกลาง(พอใช้ได้) แต่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอยู่เสมอๆ เล่าเปียวคิดจะยกให้เป็นผู้ครองเมืองเกงจิ๋ว เนื่องจากเป็นบุตรคนโต แต่อำนาจทางทหารอยู่ในมือของฝ่ายนางชัวฮูหยินภรรยาอีกคน ซึ่งนางชัวฮูหยินต้องการให้เล่าจ๋องลูกชายของตนเองครองเมืองเกงจิ๋ว จึงจะหาโอกาสกำจัดเล่ากี๋อยู่เสมอๆ ในช่วงนั้นเล่าเปียวป่วยหนักอยู่ด้วย เล่ากี๋รู้ว่าชัวฮูหยินวางแผนจะทำร้ายอยู่เสมอๆ แต่เล่ากี๋ก็ยังแก้ปัญหาไม่ได้ จนวันนึงเล่ากี๋ที่กำลังมืดแปดด้านอยู่ ขงเบ้งกับเล่าปี่ก็มาหา เล่ากี๋จึงได้อ้อนวอนขอให้ขงเบ้งช่วย ซึ่งตอนแรกขงเบ้งก็ปฏิเสธ แต่เล่ากี๋สวมบทเล่าปี่ บีบน้ำตาจะเอากระบี่เชือดคอตาย จนขงเบ้งแนะนำให้เล่ากี๋ขอไปเป็นเจ้าเมืองกังแฮ เพื่อหนีภัย (แต่ความจริงขงเบ้งวางแผนจะยึดเกงจิ๋วอยู่แล้ว เลยให้เล่ากี๋ไปอยู่ที่อื่น เพื่อที่จะได้ตัดอำนาจ) เมื่อเล่าเปียวตาย เล่ากี๋ได้มาเยี่ยม แต่ถูกชัวมอ ชัวฮูหยิน และเล่าจ๋องขัดขวางไม่ยอมให้เข้าพบ เล่ากี๋จึงต้องกลับไปเมืองกังแฮด้วยความชอกช้ำ แต่ภายหลังโจโฉได้ยึดเมืองเกงจิ๋ว เล่าปี่และก๊วนพรรคประชาอุปถัมภ์ได้หนีโจโฉไปได้อย่างทุลักทุเล และก็ได้หนีไปอยู่กับเล่ากี๋ที่เมืองกังแฮ เมื่อชนะโจโฉในศึกเซ็กเพ็กแล้ว ขงเบ้งได้จัดการยึดเกงจิ๋ว ซุนกวนเคืองมาก ส่งทูตไปทวงคืน แต่เล่าปี่ก็ได้ให้เล่ากี๋ปกครองเกงจิ๋ว ทำให้ซุนกวนยังเข้าครองเกงจิ๋วไม่ได้ แต่วันๆเล่ากี๋ก็แทบไม่ได้ทำอะไรเลยนอกจากนอนอยู่บนเตียง เพราะ ปัญหาทางด้านสุขภาพ หลังจากนั้นเล่ากี๋ก็สุขภาพทรุดโทรมด้วยปัญหาสุขภาพ อาการหนักเข้าๆ ก็ได้ป่วยตายในที่สุด เมื่ออายุได้เพียง 20 กว่าๆเท่านั้น.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่ากี๋ · ดูเพิ่มเติม »

เล่าลี

ล่าลี (Liu Li; ? — 244) พระนามรอง เฟิ่งเซี่ยว (Fengxiao) องค์ชายแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก ของจีนพระองค์เป็นพระราชโอรสของ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กและเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของ พระเจ้าเล่าเสี้ยน จักรพรรดิองค์ที่ 2 และองค์สุดท้ายของจ๊กก๊ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าลี · ดูเพิ่มเติม »

เล่าสง

ล่าสง (Su Shuang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นพ่อค้าม้าชาวเมืองจงซาน เป็นเพื่อนสนิทกับเตียวสิเผงซึ่งเป็นพ่อค้าม้าด้วยกัน เมื่อเล่าปี่ กวนอู เตียวหุยได้สาบานเป็นพี่น้องร่วมสาบาน และรวบรวมผู้คนได้ 500 คนเพื่อเตรียมทำศึกกับโจรโพกผ้าเหลือง แต่ยังขาดอาวุธยุทโธปกรณ์และม้าศึก ขณะนั้น เตียวสิเผงและเล่าสงซึ่งจะนำม้าไปขายที่มณฑลภาคเหนือ แต่โจรโพกผ้าเหลืองปิดเส้นทาง จึงต้องนำม้ากลับมาทางเมืองตุ้นก้วน และได้พบกับเล่าปี่ เล่าปี่ได้ขอม้าจากเตียวสิเผงและเล่าสงเพื่อนำไปใช้ในการศึก เตียวสิเผงและเล่าสงได้ยินเคยชื่อเสียงของเล่าปี่ และได้เห็นท่าทางที่อ่อนน้อมของเล่าปี่ จึงได้มอบม้าให้ 50 ตัว ทั้งยังมอบเหล็กให้อีก 1,000 ชั่ง และเงินอีก 500 ตำลึงให้แก่เล่าปี่อีกด้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าสง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าอ้วนกี

ล่าอ้วนกี (Liu Yuanqi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นน้องชายของเล่าเหง เป็นอาของเล่าปี่ เล่าปี่นั้นพ่อตายตั้งแต่เล็ก ทั้งครอบครัวก็ยากจน เล่าอ้วนกีซึ่งเป็นอาจึงให้ความอนุเคราะห์แก่เล่าปี่และมารดาเสมอ เมื่อเล่าปี่ยังเด็กเล่นกับเด็กคนอื่นๆ เคยประกาศไปว่าถ้าตนได้เป็นกษัตริย์จะนำต้นหม่อนที่บ้านไปทำเศวตฉัตรกั้น เล่าอ้วนกีได้ยินจึงชมว่าเล่าปี่จะมีบุญเป็นมั่นคง แล้วจึงทำนุบำรุงให้เงินทองแก่เล่าปี่อยู่เสมอ.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าอ้วนกี · ดูเพิ่มเติม »

เล่าฮอง

ล่าฮอง (Liu Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลของจ๊กก๊ก เป็นบุตรบุญธรรมของเล่าปี่ เล่าฮองเดิมชื่อเค้าฮอง หลานเล่าปิด ลูกของเค้าล่อ ต่อมาเล่าปี่รับเป็นบุตรบุญธรรม หลังจากที่เล่าปี่ปราบกบฏเตียวบูกับตันสูน ตามคำขอของเล่าเปียวได้แล้ว จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นเล่าฮอง กวนอูไม่ค่อยพอใจนักกับการที่เล่าปี่รับเล่าฮอง มาเป็นลูกบุญธรรม กวนอูกล่าวกับเล่าปี่ว่า"บุตรท่านก็มีอยู่ เหตุไฉนจึงจะเอาผู้อื่นมาเป็นเนื้อ เหมือนหนึ่งเลี้ยงลูกปูลูกหอย นานไปจะได้รับความเดือดร้อน" เล่าปี่จึงว่า "ถึงผู้อื่นนอกเนื้อก็จริง แต่เรารักใคร่เสมอบุตร ได้เอามาเลี้ยงไว้ก็จะมีกตัญญูรักใคร่ เห็นจะไม่คิดร้ายต่อเรา" กวนอูได้ฟังดังนั้นก็ขัดใจนิ่งอยู่มิได้ตอบประการใด และเมื่อเล่าปี่ตีเอาเมืองซงหยงได้ เล่าปี่จึงให้เล่าฮองปกครองเมืองซงหยงอยู่กับเบ้งตัด อดีตขุนนางในของเล่าเจี้ยงที่เล่าปี่ไปยึดเมืองมา เมื่อครั้งเกงจิ๋วถูกซุนกวนยึดในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าฮอง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าขำ

ล่าขำ (Liu Chen) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก พระราชบุตรในพระเจ้าเล่าเสี้ยนแห่งจ๊กก๊ก มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือเล่ายอย เล่าเอียว เล่าจ้อง เล่าจ้าน เล่าสุนและเล่ากี่ ภายหลังจากเตงงายนำกองกำลังทหารบุกโจมตีจ๊กก๊ก เล่าขำเป็นพระราชบุตรเพียงคนเดียวที่ไม่ยอมให้พระเจ้าเล่าเสี้ยนเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊ก พร้อมกับจัดสิ่งของบรรณาการออกไปคำนั.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าขำ · ดูเพิ่มเติม »

เล่าป๋า

ล่าป๋า (Liu Ba, ? — ค.ศ. 222) มีชื่อรองว่า จื่อชู (Zichu) เกิดที่ตำบลเจิ้งหยัง เมืองหลิงหลิง มณฑลหูหนานเป็นเสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก แต่เดิมเล่าป๋ารับใช้ เล่าเจี้ยง เจ้าเมืองเอ๊กจิ๋วเมื่อ เล่าเจี้ยงประกาศยอมแพ้ ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าป๋า · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเพ็ก

ล่าเพ็ก (Liu Pi) ตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนอยู่จริงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮั่น เป็นทหารเอกของ เล่าปี่ เมื่อเล่าปี่เสีย เมืองยีหลำ ให้กับ โจโฉ ก็ได้หนีมาโดยแตกแยกกับขุนพลและที่ปรึกษาแต่ระหว่างทางพบเล่าเพ็กและ ซุนเขียน เล่าเพ็กได้พาครอบครัวของเล่าปี่หนีมาและบอกให้เล่าปี่เดินทางไปที่อื่น และเล่าปี่ก็เจอกับ โกลำ ขุนพลของโจโฉเล่าเพ็กอาสาออกไปสู้กับโกลำแต่เล่าเพ็กก็ถูกสังหารด้วยฝีมือของโกลำต่อมาโกลำก็ถูก จูล่ง ใช้ ทวน ฟันตายด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าเพ็ก · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเสี้ยน

ระเจ้าเล่าเสี้ยน หรือ หลิวส้าน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย พระมหาจักรพรรดิผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดของยุคสามก๊ก ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชสกุลเล.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเหง

ล่าเหง(Liu Hong เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บิดาของเล่าปี่ เป็นเชื้อพระวงศ์ราขวงศ์ฮั่น สืบเชื้อสายจากจงซานจิ้งอ๋องซึ่งพระราชโอรสองค์ที่ 7 ในพระเจ้าฮั่นเกงเต้ เล่าเหงตายตั้งแต่เล่าปี่ยังเล็ก.

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าเหง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเจี้ยง

ล่าเจี้ยง (Liu Zhang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเสฉวน เป็นบุตรของเล่าเอียง เล่าเจี้ยงเป็นคนที่โลเลและใช้คนไม่เป็น แต่เล่าเจี้ยงมีเหล่าที่ปรึกษาและขุนพลที่มีฝีมือมากมาย แต่ต่อมา เสฉวนถูกเล่าปี่ยึดครอง และส่งตัวเล่าเจี้ยงไปอยู่ที่เมืองกองอั๋นชายแดนเกงจิ๋ว เมื่อเกงจิ๋วถูกซุนกวนยึด เล่าเจี้ยงจึงถูกย้ายมาอยู่ที่กังตั๋งจนกระทั่งเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าเจี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเตา

ล่าเตา (Liu Du ? — ?) ขุนนางแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก แต่เดิมเล่าเตารับใช้ เล่าเปียว กระทั่งช่วง ศึกผาแดง เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และเล่าเตา · ดูเพิ่มเติม »

เอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก

อสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก (อังกฤษ SD Gundam Sangokuden Brave Battle Warriors) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 2010 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ หลอ กว้านจง เรื่อง สามก๊ก นำแสดงโดย ยูกิ คาจิ, ฮิโรกิ ยาสุโมโตะ, มาซายูกิ คาโต้,ซาโตรุ อิโนะอุเอะ ออกอากาศทางช่อง การ์ตูนคลับ ในไท.

ใหม่!!: เล่าปี่และเอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เฮียงทง

ียงทง (Xiang Chong, ? — ค.ศ. 240) ขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เฮียงทงเริ่มรับราชการในรัชสมัย พระเจ้าเล่าปี่ ก่อนจะถูกฆ่าตายโดยชนเผ่าป่าเถื่อนระหว่างยกทัพไปปราบชนเผ่าป่าเถื่อนในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และเฮียงทง · ดูเพิ่มเติม »

เจาเจ้ง

้ง (Zou Jing) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นแม่ทัพของเล่าเอี๋ยน เจ้าเมืองอิวจิ๋ว ในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก.

ใหม่!!: เล่าปี่และเจาเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เจียวจิ๋ว

ียวจิ๋ว (Qiao Zhou, ? — ค.ศ. 270) มีชื่อรองว่า หย่งหนาน เกิดที่เมืองปาซีเป็นขุนนางแห่งจ๊กก๊กใน ยุคสามก๊ก เจียวจิ๋วเคยรับใช้ เล่าเจี้ยง มาก่อนในฐานะที่ปรึกษามีความรู้ทางโหราศาสตร์เคยทำนายว่าเสฉวนจะต้องเปลี่ยนผู้ปกครองใหม่ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริง ๆ เมื่อเล่าเจี้ยงยอมแพ้ต่อ เล่าปี่ จึงได้มารับใช้เล่าปี่จนกระทั่งเล่าปี่สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิเจียวจิ๋วจึงได้เป็นขุนนางแห่งจ๊กก๊กรับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ จนกระทั่งถึงรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน ใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และเจียวจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลเพ่ย์

เทศมณฑลเพ่ย์ (Pei County) เป็นเทศมณฑลหนึ่งของมณฑลเจียงซู ประเทศจีน เทศมณฑลเพ่ย์เป็นนิวาสสถานที่ประสูติของ จักรพรรดิฮั่นเกา หรือ หลิวปัง ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก และเป็นส่วนหนึ่งของ ชีจิ๋ว ปกครองโดย โตเกี๋ยม กระทั่งก่อนโตเกี๋ยมสิ้นใจได้ฝากฝังชีจิ๋วให้แก่ เล่าปี่ หมวดหมู่:มณฑลเจียงซู.

ใหม่!!: เล่าปี่และเทศมณฑลเพ่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทียอ้วนจี้

เทียอ้วนจี้ (Cheng Yuanzhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นหัวหน้ากองโจรของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือง เทียอ้วนจี้ได้นำกองโจร 50,000 นาย ยกไปตีเมืองอิวจิ๋ว เล่าเอี๋ยนเจ้าเมืองจึงให้เล่าปี่ พร้อมด้วยกวนอู เตียวหุย ยกกองทหาร 500 ไปปราบโจร กงอกำลังทั้งสองยกไปประจันหน้ากันที่เขาไทเหียงสัน กวนอูได้เข้าต่อสู้กับเทียอ้วนจี้ และสามารถสังหารเทียอ้วนจี้ได้ในง้าวเดียว ส่วนกองโจรเมื่อนายตายก็หมดกำลังใจรบจึงถูกกองทหารของเล่าปี่ตีแตกพ่าย ทีเยอ้วนจี้ ทีเยอ้วนจี้ en:List of fictional people of the Three Kingdoms#Chapter 1.

ใหม่!!: เล่าปี่และเทียอ้วนจี้ · ดูเพิ่มเติม »

เขาเตงกุนสัน

ตงกุนสัน หรือ เขาเตงกุน (定军山; พินอิน: Dìngjūn Shān) เป็นภูเขาที่ตั้งอยู่ในเมืองฮันต๋ง (ฮั่นจง ในปัจจุบัน) ทางตอนใต้ของมณฑลส่านซี ประเทศจีน เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับสามก๊ก เนื่องจากคราวที่จ๊กก๊ก ของ เล่าปี่ บุกเข้าตีเมืองฮันต๋งของวุยก๊ก ที่ดูแลโดย แฮหัวเอี๋ยน โดยทั้งสองฝ่ายได้ทำสงครามกันที่ภูเขานี้และเป็นฝ่ายจ๊กก๊กที่ได้ชัยชนะเนื่องจาก ฮองตง ยอดขุนพลเสือเฒ่าและหนึ่งในห้าทหารเสือ ของเล่าปี่ได้ฆ่าและตัดหัวมามอบให้กับเล่าปี่และในเวลาต่อมากองทัพจ๊กก๊กได้บุกเข้ายึดเมืองฮันต๋งได้สำเร็จและเล่าปี่ก็ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นอ๋องที่เมืองนี้ในที่สุด และเขาเตงกุนสันนี้ก็เป็นที่ฝังศพของจูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) และฮองตง อีกด้วยซึ่งในภายหลังหลุมศพของฮองตงได้ถูกย้ายไปที่เฉิงตู ในสมัยราชวงศ์ชิง และได้ถูกทำลายไปในสมัยปฏิวัติวัฒนธรรม.

ใหม่!!: เล่าปี่และเขาเตงกุนสัน · ดูเพิ่มเติม »

เคาเจ้ง

้ง (Xu Jing, ? — ค.ศ. 222) มีชื่อรองว่า เหวินซิ่ว เป็นเสนาบดีแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เคาเจ้งเกิดที่เมืองยีหลำเป็นญาติกับ เขาเฉียว หมอดูชื่อดังที่เคยทำนายโชคชะตาให้กับ โจโฉ ทำให้มีความสามารถในการทำนายดวงชะตาและทำนายลักษณะของคนต่อมาได้เข้ามารับใช้ เล่าเจี้ยง ในตำแหน่งที่ปรึกษา ต่อมาเมื่อเล่าเจี้ยงได้ยอมแพ้ต่อ เล่าปี่ ทำให้เคาเจ้งได้เข้ามารับใช้เล่าปี่ในตำแหน่งที่ปรึกษาจากนั้นใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และเคาเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เงียมหงัน

งียมหงัน (Yan Yan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เจ้าเมืองปากุ๋น หลังจากที่เล่าปี่และบังทองเดินไปเพื่อยึดเสฉวนของเล่าเจี้ยง บังทองถูกธนูรุมยิงตายที่เนินหงส์ร่วงแล้ว เล่าปี่จำต้องถอยทัพไปที่ด่านโปยสิก๋วน และรีบส่งหนังสือไปยังขงเบ้ง ให้ขงเบ้งยกทัพมาช่วย ขงเบ้งกับเตียวหุยทำสัญญาเดินทางแข่งกันไปให้ถึงเสฉวน โดยขงเบ้งเดินไปทางเรือพร้อมกับจูล่ง และเตียวหุยเดินไปทางบก และให้กวนอูรักษาเมืองเกงจิ๋วไว้ ก่อนออกเดินทางเตียวหุยทำสัญญาไว้กับขงเบ้งว่า จะรักษาวินัยทหาร โดยตนจะไม่กินเหล้าและไม่เฆี่ยนตีทหารด้วยอารมณ์ด้วย ปรากฏว่า เตียวหุยสามารถรักษาระเบียบวินัยกองทัพไว้ได้อย่างดี สามารถชนะใจประชาชนและเอาชนะเมืองต่าง ๆ ได้โดยดี แต่ติดอยู่กับเมืองปากุ๋นของเงียมหงัน ที่ตีเท่าไหร่ก็ไม่ได้สักที เงียมหงันแม้จะอายุมากถึง 60 ปีแล้ว แต่ชำนาญการใช้ธนูและป้องกันเมืองไว้ได้อย่างดี เงียมหงันได้ประกาศไว้ว่า "ทหารเสฉวนยอมหัวขาด ไม่มีทหารยอมแพ้" เตียวหุยเข้าตีเท่าไหร่ก็ไม่สามารถหักตีเข้าไปได้ เงียมหงันก็สั่งให้รักษาเมืองไว้อย่างเดียว ไม่ต้องยกออกไปรบ เตียวหุยคิดไม่ตกว่าจะทำอย่างไร จึงโมโหกินเหล้าแล้วเฆี่ยนตีทหารอีก ขณะที่เฆี่ยนตีอยู่นั้น เตียวหุยคิดอุบายขึ้นได้ จึงแสร้งหลอกว่า ตนกินเหล้าเมามายแล้วเฆี่ยนตีทหารอีกเพื่อลวงเงียมหงัน และให้ทหารกองลาดตระเวณทำทีสำรวจเส้นทางเพื่อดูว่ามีทางไหนที่จะเล็ดรอดเมืองปากุ๋นไปได้ไหม ในที่สุดก็พบเส้นทางเล็ก ๆ สายหนึ่ง เตียวหุยสั่งให้เดินทางออกตอนตี 3 เงียมหงันซึ่งส่งสายลับเข้าไปปะปนในกองทัพเตียวหุยรายงานเช่นนั้น จึงจะยกทัพตามตีตลบหลังเตียวหุยตามเวลานั้น แต่กลับโดนกลอุบายของเตียวหุยจนเสียท่าถูกจับเป็นเชลย เมื่อตกอยู่ในเงื้อมมือเตียวหุย เตียวหุยได้ตัดสินใจที่จะประหารเงียมหงันซึ่งเงียมหงันได้ยินดีที่จะตาย และกล่าวว่า "ท่านจงประหารเร็วเถิด เสฉวนมีแต่แม่ทัพที่หัวขาด แต่ไม่มีแม่ทัพที่ยอมแพ้" เมื่อเตียวหุยได้ยินเช่นนั้นก็คิดว่าแม่ทัพคนนี้มีความจงรักภักดีอย่างหนักแน่นมั่นคง มิย่อท้อเมื่อเผชิญความตายจึงนับถือน้ำใจ และแก้มัดออกพร้อมกล่าวขอโทษเงียมหงันที่ตนล่วงเกิน เงียมหงันเห็นดังนั้นจึงลุกขึ้นคำนับเตียวหุย และอาสาเป็นกองหน้า สำหรับเดินทัพต่อไป เมือไปถึงด่านใดตำบลใด นายด่านทั้งปวงก็ออกมายอมเข้าด้วย เพราะเงียมหงันเป็นทัพหน้า และได้ไปสมทบกับทัพเล่าปี่ ก่อนขงเบ้ง ซึ่งมาทางน้ำเสียอีก ต่อมา เมื่อเล่าปี่ บุกเมืองฮันต๋ง ทางด่านแฮบังก๋วนก็ถูกบุกโจมตีโดย โจหอง และเตียวคับ ฝ่ายฮักจุ้นกับเบ้งตัด ซึ่งรักษา แฮบังก๋วนอยู่นั้นเห็นจะเหลือกำลัง จึงส่งสาส์นไปขอกำลังเสริมจากเล่าปี่ เล่าปี่จึงส่งฮองตงและเงียมหงันไปช่วย เมื่อมาถึง เบ้งตัด และฮักจุ้น ก็ดูถูก2เฒ่านี้เป็นอันมาก ฮองตงจึงให้เงียมหงันซุ่มกำลังอยู่หลังค่ายเตียวคับ เมื่อเห็นฮองตงออกรบเมื่อไร ก็ให้ตีกระ หนาบเข้ามา หลังจากนั้นฮองตงได้ออกไปร้องท้าทายเตียวคับ เตียวคับจึงพาทหารออกจากค่ายเงียมหงันเห็นว่าได้ทีจึงคุมทหาร ออกมา ฆ่าทหารเตียวคับล้มตายเป็นอันมาก ต่อมา เงียมหงันก็แนะนำฮองตงให้ตัดเสบียงศัตรูที่เทียนตองสัน ฮองตงจึงทำกลอุบายแกล้งถอยหนีเพื่อให้ข้าศึกเอา อาวุธ และเสบียงมารวมกันไว้ และปล้นค่ายของเตียวคับ โดยให้เงียมหงันซุ่มทหารอยู่หลังค่ายตีทหารเตียวคับ แตกไป หลังจากน้น เมื่อขงเบ้งจะบุกขึ้นเหนือ ขงเบ้งแต่งตั้งเงียมหงันเป็นที่ปรึกษาทางการทหาร เงียมหงัน ได้แก่ตาย ในปี..

ใหม่!!: เล่าปี่และเงียมหงัน · ดูเพิ่มเติม »

เตียวกิ๋น

ตียวกิ๋น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนนางสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นเพื่อนสมัยเรียนของเล่าปี่ ต่อมาก็ได้เป็นเสนาธิการของแม่ทัพโลติด และได้พบเล่าปี่อีกครั้งที่หลังจากได้นำทหารอาสาเข้าทำการปราบปรามโจรโพกผ้าเหลืองจนมีความดีความชอบมากมายแต่กลับไม่ได้รับปูนบำเหน็จต้องรอคอยข่าวอยู่นอกเมืองหลวง ทั้งๆที่มีแต่แม่ทัพจากกองทัพหลวงต่างได้รับกันไปหมด เตียวกิ๋นเห็นสงสารจึงได้ไปกราบบังคับทูลเข้าเฝ้าต่อพระเจ้าเลนเต้และเตือนพระสติเรื่องสาเหตุที่เกิดโจรกบฏโพกผ้าเหลืองก็เพราะสิบขันที นอกจากนั้นจึงได้กราบทูลขอให้กำจัดสิบขันทีเสียเพื่อความสงบสุขต่อแผ่นดิน แต่ในที่สุดเตียวกิ๋นกลับถูกเหล่าสิบขันทีรุมสังหาร.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวกิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

เตียวล่อ

ตียวฬ่อ (Zhang Lu; 张鲁) เป็นเจ้านครฮันต๋ง และเป็นศัตรูคู่แค้นกับตระกูลของ เล่าเจี้ยง เมื่อครั้งเล่าปี่บุกตีเสฉวนของเล่าเจี้ยงด้วยอุบายอันแยบยลของขงเบ้งทำให้เล่าเจี้ยงต้องละทั้งความเป็นศัตรูและเข้าเป็นพวกกับเตียวล่อในตอนนั้นพวกม้าเฉียวที่หนีกองทัพของโจโฉก็ได้เข้ามาพึ่งกับเตียวล่อ เตียวล่อจึงให้ม้าเฉียวไปช่วยเล่าเจี้ยง แต่เหตุการณ์กลับตาลปัตรเมื่อขงเบ้งเห็นม้าเฉียวเป็นคนมีความสามารถและเป็นศัตรูกับโจโฉ จึงวางแผนให้ม้าเฉียวมาเป็นพวกและก็สามารถยึดเสฉวนได้ โจโฉกลัวว่าหากเล่าปี่ยึดเสฉวนได้จะขยายอำนาจไปยึดเมืองฮันต๋งต่อ โจโฉจึงยกทัพมาที่ฮันต๋ง เตียวล่อรู้ดีว่ากองทัพของตนไม่มีทางสู้กับโจโฉได้ แต่เหมือนสวรรค์บันดาลเมื่อ บังเต๊ก ทหารเอกของม้าเฉียวยังอยู่ เพราะตอนที่ม้าเฉียวไปช่วยเล่าเจี้ยงตอนนั้นบังเต๊กป่วยจึงไม่ได้ไปด้วย เตียวล่อจึงให้บังเต๊กเป็นแม่ทัพไปรบกับโจโฉ แต่ก็ถูกกลลวงของโจโฉจึงต้องเป็นพวกกับโจโฉ เตียวโอย น้องชายจึงอาสาไปรบแทนแต่ก็ถูกเคาทูฆ่าตายในสนามรบ เตียวล่อหมดทางสู้จึงยอมจำนนต่อโจโฉ นครฮันต๋งจึงตกอยู่ภายใต้อำนาจของโจโฉแต่สุดท้ายเมืองฮันต๋งก็ถูกเล่าปี่ยึดไปได้ด้วยกลยุทธ์อันล้ำลึกของขงเบ้ง.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวล่อ · ดูเพิ่มเติม »

เตียวสิเผง

ตียวสิเผง (Zhang Shiping) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นพ่อค้าม้าชาวเมืองจงซาน เป็นเพื่อนสนิทกับเล่าสงซึ่งเป็นพ่อค้าม้าด้วยกัน เมื่อเล่าปี่ กวนอู เตียวหุยได้สาบานเป็นพี่น้องร่วมสาบาน และรวบรวมผู้คนได้ 500 คนเพื่อเตรียมทำศึกกับโจรโพกผ้าเหลือง แต่ยังขาดอาวุธยุทโปกรณ์และม้าศึก ขณะนั้น เตียวสิเผงและเล่าสงซึ่งจะนำม้าไปขายที่มณฑลภาคเหนือ แต่โจรโพกผ้าเหลืองปิดเส้นทาง จึงต้องนำม้ากลับมาทางเมืองตุ้นก้วน และได้พบกับเล่าปี่ เล่าปี่ได้ขอม้าจากเตียวสิเผงและเล่าสงเพื่อนำไปใช้ในการศึก เตียวสิเผงและเล่าสงได้ยินเคยชื่อเสียงของเล่าปี่ และได้เห็นท่าทางที่อ่อนน้อมของเล่าปี่ จึงได้มอบม้าให้ 50 ตัว ทั้งยังมอบเหล็กให้อีก 1,000 ชั่ง และเงินอีก 500 ตำลึงให้แก่เล่าปี่อีกด้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวสิเผง · ดูเพิ่มเติม »

เตียวสง

รูปเตียวสงจากเกม ''Romance Of The Three Kingdoms XI'' เตียวสง (Zhang Song; จีนตัวเต็ม: 張松; จีนตัวย่อ: 张松) (? — ค.ศ. 213) ไม่ทราบว่าเป็นชาวเมืองใด มีฉายาว่า หย่งเหนียน ร่างเตี้ย ไม่ถึง 5 ฟุต หน้าฝากโหนก ศีรษะรี จมูกเฟ็ด ฟันเสี้ยม แต่สติปัญญาไหวพริบดี เล่ห์เหลี่ยมจัด ความจำดีมาก อะไรที่ผ่านสายตาแล้วจำได้หมด รับราชการอยู่กับเล่าเจี้ยง ผู้ครองแคว้นเอกจิว (เสฉวน) เล่าเจี้ยงเกรงเตียวฬ่อ เจ้าเมืองอันต๋ง ซึ่งเป็นคู่อริจะยกทัพมาโจมตี จึงให้เตียวสงเป็นทูตไปเจรจาขอกำลังจากโจโฉ เตียวสงไปแสดงความเปรื่องปราดกับโจโฉจนเกินตัว คืออ่านตำราพิชัยสงครามที่โจโฉแต่งเพียงเที่ยวเดียวก็จำได้หมด แล้วบอกว่าหนังสืออย่างนี้เหมือนเด็ก ๆ ในเสฉวนอ่านเล่นทั้งเมืองเพราะเป็นคำโบราณที่ผู้มีปัญญาแต่งไว้ พลางสาธยายข้อความในหนังสือของโจโฉ มิได้วิปลาสสักข้อ โจโฉถูกลบเหลี่ยมเช่นนั้นก็โกรธ ขับเตียวสงออกไปจากเมืองไป เตียวสงจึงไปหาเล่าปี่ โดยได้รับการรับรองเป็นอันดี จนเตียวสงหลงใหล เลยคิดทรยศต่อนาย ต้องการให้เล่าปี่ไปปกครองแคว้นเอกจิวแทนเล่าเจี้ยง ถึงกับมอบแผนที่ยุทธศาสตร์และให้ความลับต่าง ๆ แก่เล่าปี่ด้วย เมื่อเตียวเสียวกลับมาถึงเอกจิวแล้ว ก็ได้จูงใจให้เล่าเจี้ยงเชิญเล่าปี่มาอยู่เอกจิว และคุ้มครองให้พ้นจากการรุกรานของเตียวฬ่อ พอเล่าปี่ยาตราทัพเข้ามาแล้ว ความลับจึงแตกขึ้น โดยเตียวซก พี่ชายของเตียวสงจับจดหมายลับที่เตียวสงติดต่อให้เล่าปี่ได้ ก็นำความไปแจ้งแก่เล่าเจี้ยง เตียวสงกับบุตรภรรยาจึงถูกประหารชีวิต แต่ในที่สุดเล่าปี่ก็ยึดแคว้นเอกจิว และเล่าเจี้ยงถูกปลดจากตำแหน่งไป.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวสง · ดูเพิ่มเติม »

เตียวหลำ

ตียวหลำ (Zhang Nan, ? — ค.ศ. 222) ชื่อรองว่า เหวินจิ้น เป็นขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เตียวหลำเกิดที่แคว้นเกงจิ๋วต่อมาได้เข้ามารับใช้ เล่าปี่ เมื่อคราวเล่าปี่เข้ายึดเกงจิ๋วและได้ตามไปรับใช้เมื่อเล่าปี่เข้ายึดแคว้นเอ๊กจิ๋วจนกระทั่งถูกฆ่าตายในสนามรบใน ศึกอิเหลง เมื่อ..

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวหลำ · ดูเพิ่มเติม »

เตียวหุย

ตียวหุย (เสียชีวิต ค.ศ. 221) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จางเฟย์ มีชื่อรองว่า เอ๊กเต๊ก หรือ อี้เต๋อ เป็นแม่ทัพในวรรณกรรมจีนเรื่องสามก๊ก เป็นบุคคลคนหนึ่งที่อยู่ในสังกัดห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊กเป็นคนที่ 2.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวหุย · ดูเพิ่มเติม »

เตียวซี

ตียวซี (Xing Cai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ภรรยาของพระเจ้าเล่าเสี้ยน.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวซี · ดูเพิ่มเติม »

เตียวโป้ (โจรโพกผ้าเหลือง)

เตียวโป้ (Zhang Bao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นหนึ่งในแกนนำของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือง เป็นน้องชายคนรองของเตียวก๊ก ได้รับการแต่งตั้งจากพี่ชายให้เป็นเจ้าพระยาแผ่นดิน เคยเผชิญหน้ากับเล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ในการรบครั้งหนึ่ง เตียวโป้ได้เสกหุ่นฟางให้เป็นทหารเข้าโจมตีกองทัพของเล่าปี่จนต้องหนีแตกไป ในการรบครั้งต่อไป เล่าปี่ใช้อุบายสาดเลือดสัตว์ใส่หุ่นฟาง เพื่อสลายมนต์ของเตียวโป้ เตียวโป้จึงหนีเข้าเมืองไม่ยอมออกมารบอีก ต่อมา ลูกน้องของเตียวโป้ได้ทรยศสังหารเตียวโป้และออกมาสวามิภักดิ์กับทางการ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ตีเยวโป้ ตีเยวโป้.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวโป้ (โจรโพกผ้าเหลือง) · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเอ๊ก

ตียวเอ๊ก (Zhang Yi, ? — ค.ศ. 264) มีชื่อรองว่า ป้อกง เป็นขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก เตียวเอ๊กเกิดที่ตำบลอู่หยัง เมืองเจียนอุ๋ยเป็นทายาทที่สืบเชื้อสายจาก เตียวเหลียง ที่ปรึกษาคนสำคัญของ จักรพรรดิฮั่นเกา ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก มีความสามารถทางทหารได้รับพระราชทานยศเป็น ต้าเจียงจวิน (จอมพล) แรกเริ่มเดิมที เตียวเอ็กรับราชการอยู่กับเล่าเจี้ยงแห่งเอ็กจิ๋วแต่หลังจากเล่าปีเข้ายึดครองเอ็กจิ๋วแล้วเขาก็ได้เข้าร่วมกับเล่าปี่ เขาได้เข้าต่อสู้เพื่อจ๊กก๊กหลายครั้ง เช่นศึกชิงฮันต๋ง ศึกอิเหลง และติดตามขงเบ้งบุกขึ้นปราบวุยก๊กที่ภาคเหนือ เมื่อ ขงเบ้ง อัครมหาเสนาบดีและสมุหนายกแห่งจ๊กก๊กถึงแก่กรรมใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวเอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเปา

ตียวเปา (Zhang Bao) เป็นบุตรชายคนโตของเตียวหุย อายุมากกว่ากวนหิน (บุตรชายกวนอู) 1 ปี เตียวเปาเป็นนักรบที่มีฝีมือไม่แพ้พ่อ ออกศึกกับพระเจ้าเล่าปี่ครั้งแรกที่ศึกอิเหลง (ออกศึกพร้อมกับกวนหิน) เพื่อแก้แค้นซุนกวนให้กวนอูและเตียวหุยที่ถูกฆ่าตาย เตียวเปาแสดงฝีมือให้เป็นที่ประจักษ์หลายครั้ง แต่ศึกครั้งนี้ พระเจ้าเล่าปี่ต้องพ่ายให้กับสติปัญญาของลกซุน จนต้องถอยทัพไปที่เป๊กเสีย และตรอมพระทัยสวรรคต หลังพระเจ้าเล่าปี่สวรรคต เตียวเปาก็คอยช่วยเหลือขงเบ้งในศึกต่างๆ หลายครั้ง โดยมักจะได้รับคำสั่งให้ทำงานพร้อมกับกวนหิน ต่อมา เตียวเปาป่วยหนัก ในขณะที่ขงเบ้งไปตีวุยกก๊ก ในระหว่างที่กำลังได้ชัยสุมาอี้ ขงเบ้งกลับได้รับข่าวร้ายว่าเตียวเปาเสียชีวิตแล้ว ขงเบ้งเสียใจมากจนล้มป่วยต้องถอยทัพกลับไป.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียวเปา · ดูเพิ่มเติม »

เตียนห้อง

ตียนห้อง (Tian Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เสนาธิการของอ้วนเสี้ยว มีความคิดความอ่านดี แต่เลือกนายผิด ในช่วงที่โจโฉยกทัพกำลังมาตีเล่าปี่ที่ชีจิ๋ว เล่าปี่ส่งจดหมายถึงอ้วนเสี้ยวให้ช่วยตีฮูโต๋เพื่อทำให้โจโฉห่วงหน้าพะวงหลัง แต่อ้วนเสี้ยวอ้างว่าอ้วนซงบุตรคนเล็กของตนป่วยไม่มีจิตใจจะทำสงคราม เตียนห้องพยายามชี้ข้อดีของการบุกตี แต่อ้วนเสี้ยวไม่ฟัง ต่อมา อ้วนเสี้ยวคิดยกทัพตีโจโฉ เตียนห้องมาห้ามแล้วว่าครั้งก่อนที่ฮูโต๋ว่างเปล่ากลับไม่เข้าตี มาตีเมื่อโจโฉมีกำลังพร้อมสรรพต้องพ่ายแพ้อย่างแน่นอน อ้วนเสี้ยวโกรธกล่าวหาว่าเตียนห้องพูดทำลายขวัญกองทัพ แล้วให้นำตัวไปขัง ต่อมา อ้วนเสี้ยวพ่ายแพ้โจโฉราบคาบในศึกกัวต๋อสมดังคาดของเตียนห้อง อ้วนเสี้ยวคิดถ้าปล่อยเตียนห้องออกจากห้องขัง เตียนห้องต้องเยาะเย้ยตนแน่ จึงส่งคนไปสังหารเตียนห้อง แต่เตียนห้องรู้ชะตาตนเองดี จึงได้ปลิดชีวิตตนเองไปก่อนหน้านี้แล้ว.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตียนห้อง · ดูเพิ่มเติม »

เตงฮอง

ตงฮอง (Ding Feng) เป็นแม่ทัพแห่งง่อก๊ก ชาวเมืองโลกั๋ง มักจะได้รับมอบหมายงานพร้อมกับชีเซ่ง เช่นในตอนที่จิวยี่สั่งให้ไปฆ่าขงเบ้ง(แต่ไม่สำเร็จ) และในตอนที่สกัดขบวนของเล่าปี่และซุนฮูหยินที่ยกกลับเกงจิ๋ว (แต่ไม่สำเร็จเพราะไม่กล้าสังหารซุนฮูหยิน) สมัยยังหนุ่มเขามีชื่อเสียงจากการต่อสู้ในกองทัพอยู่เรื่อย ๆ ว่าเป็นคนที่กล้าหาญที่สุดในกองทัพ เตงฮองมีความดีความชอบมากมายในศึกหลายครั้ง ครั้งสำคัญที่สุดคือการต่อต้านการโจมตีของ จูกัดเอี๋ยนแห่งวุยก๊ก หลังจากซุนฮิวขึ้นเป็นฮ่องเต้ต่อจากซุนเหลียง เตงฮองได้ช่วยซุนฮิวสังหารซุนหลิม ผู้สำเร็จราชการที่คุกคามฮ่องเต้ ทำให้เขาได้รับตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ รูปเตงฮองจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตงฮอง · ดูเพิ่มเติม »

เตงเมา

เตงเมา (Deng Mao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นสมาชิกของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือง แม่ทัพรองของเทียอ้วนจี้ เทียอ้วนจี้และเตงเมาได้นำกองโจร 50,000 นาย ยกไปตีเมืองอิวจิ๋ว เล่าเอี๋ยนเจ้าเมืองจึงให้เล่าปี่ พร้อมด้วยกวนอู เตียวหุย ยกกองทหาร 500 ไปปราบโจร กงอกำลังทั้งสองยกไปประจันหน้ากันที่เขาไทเหียงสัน เตียวหุยได้เข้าต่อสู้กับเตงเมา และสามารถสังหารเตงเมาได้ ส่วนเทียอ้วนจี้ถูกกวนอูสังหาร ส่วนกองโจรเมื่อนายตายก็หมดกำลังใจรบจึงถูกกองทหารของเล่าปี่ตีแตกพ่าย ตเงเมา en:List of fictional people of the Three Kingdoms#Chapter 1.

ใหม่!!: เล่าปี่และเตงเมา · ดูเพิ่มเติม »

เต๊กเลา

ต๊กเลา (De Lao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เต๊กเลาไม่ใช่ชื่อของม้า แต่เป็นลักษณะม้าอีกประเภทหนึ่งในสามก๊ก เต๊กเลาเป็นม้ามีขนสีขาวทั้งตัว จัดเป็นยอดอาชาไนยอีกตัว แต่จะให้โทษแก่เจ้าของ เนื่องจากมีร่องน้ำตาใต้ตา เต็กเลาเดิมเป็นม้าของเตียวบู หัวหน้ากบฏผู้หนึ่ง เมื่อเตียวบูถูกจูล่งฆ่าตาย ได้จูงเต๊กเลามาให้เล่าปี่ เล่าปี่เห็นเป็นม้าที่ดีจึงยกให้เล่าเปียว แต่เก๊งอวดที่ปรึกษาของเล่าเปียวเห็นว่ามีลักษณะให้โทษแก่เจ้าของจึงบอกโบ้ยคืนให้กับเล่าปี่ ม้าเต๊กเลา แม้เป็นม้าที่ให้โทษก็จริง แต่ก็เคยพาเล่าปี่กระโดดข้ามแม่น้ำตันเข หนีการตามล่าของชัวมอและเตียวอุ๋นจากเมืองเกงจิ๋ว ได้อย่างปาฏิหาริย์ จนกระทั่งได้พบกับสุมาเต๊กโช เมื่อลาจากสุมาเต๊กโชไปแล้ว เล่าปี่และจูล่งได้พบกับชีซีที่ปลอมชื่อปลอมตัวเป็นตันฮก ตันฮกแกล้งแหย่เพื่อลองใจเล่าปี่ว่า ม้าตัวนี้มีลักษณะให้โทษแก่เจ้าของ วิธีแก้ง่าย ๆ ก็คือ ถ้าไม่ชอบใครก็ยกม้าตัวให้แก่ผู้นั้น แต่เล่าปี่ไม่เห็นด้วยกับวิธีนี้ ตันฮกจึงได้รับรู้ถึงคุณธรรมของเล่าปี่อย่างแท้จริง และเล่าปี่ก็ไม่เคยเปลี่ยนม้าเลย ม้าเต๊กเลาปรากฏให้โทษแก่ผู้ขี่จริง ๆ คือ ตอนที่บังทองและเล่าปี่แยกย้ายเข้าเมืองเสฉวนไปกันคนละทาง โดยบังทองไปในทางที่แคบ เล่าปี่ไปในทางที่กว้างกว่า ก่อนแยกกันบังทองเกิดพลัดตกม้า เล่าปี่จึงให้สลับม้ากับตน เมื่อเดินทางไปถึงเนินหงส์ร่วง เตียวหยิมทหารของเล่าเจี้ยงดักซุ่มยิงอยู่ด้วยธนูด้วยเจตนาจะสังหารเล่าปี่ แต่ไม่รู้ว่าเล่าปี่หน้าตาเป็นยังไง พอดีมีทหารคนหนึ่งพูดขึ้นว่า เล่าปี่ชอบขี่ม้าสีขาว เมื่อเห็นบังทองขี่ม้าสีขาวมา จึงสั่งให้รุมยิงจนบังทองถึงแก่ความต.

ใหม่!!: เล่าปี่และเต๊กเลา · ดูเพิ่มเติม »

เต๊งไก๋

นศึกในช่วง ค.ศ. 194 เต๊งไก๋ (Tian Kai, ?— ค.ศ. 199) ผู้ตรวจการแห่งเฉงจิ๋วซึ่งรับใช้ กองซุนจ้าน ขุนศึกที่มีชื่อเสียงแห่ง ยุคสามก๊ก ในช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เมื่ออ้วนเสี้ยวได้ก่อตั้งกองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองเพื่อปราบตั๋งโต๊ะที่เข้ายึดอำนาจจากราชสำนักฮั่นซึ่งกองซุนจ้านก็เป็นหนึ่งในแม่ทัพใหญ่ที่ได้เข้าร่วมเต๊งไก๋จึงได้ติดตามกองซุนจ้านเข้าทำศึกในครั้งนี้ด้วย หลังจากที่กองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองได้สลายตัวไปใน..

ใหม่!!: เล่าปี่และเต๊งไก๋ · ดูเพิ่มเติม »

เปาสูหยิน

เปาสูหยิน (Fu Shiren) เป็นหนึ่งในตัวละครจาก สามก๊ก โดยเป็นแม่ทัพใต้บัญชาของกวนอู ต่อมาได้ร่วมมือกับบิฮอง น้องชายของบิต๊ก ที่ปรึกษาคนสำคัญของเล่าปี่ ทรยศกวนอูไปสวามิภักดิ์กับซุนกวน ทำให้กวนอูกับกวนเป๋ง ลูกบุญธรรมถูกจับประหารชีวิตในที่สุด ต่อมาเปาสูหยินได้กลับมาสวามิภักดิ์ต่อเล่าปี่ แต่เล่าปี่ไม่ยอมและจับเปาสูหยินกับบิฮองประหารชีวิตเพื่อล้างแค้นแทนกวนอูและกวนเป๋ง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ป.

ใหม่!!: เล่าปี่และเปาสูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

เปาจิด

ปาจิด (Bu Zhi) เป็นบัณฑิตหนึ่งในที่ปรึกษาของซุนกวน ก่อนจะเริ่มศึกเซ็กเพ็ก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ปรึกษาที่สนับสนุนให้ ซุนกวน จำนนต่อโจโฉ ในขณะที่ฝ่ายกองทัพ ต้องการที่จะสู้ หลังจากนั้นเมื่อ ขงเบ้งเดินทางเพื่อเจรจาชักชวนให้ ซุนกวน ทำศึก และทำสงครามวาทะกับเหล่าที่ปรึกษาของง่อ เปาจิดก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย และระหว่างการบุกวุยก๊กของกวนอู เขาเป็นคนคาดการณ์ การเคลื่อนไหวของกวนอูและโจหยิน ทำให้ง่อก๊กได้เกงจิ๋วคืนมา นอกจากนี้ ยังเป็นผู้เสนอแผนให้ส่งหัวของ ฮอมเกียงและเตียวตัด คนที่ฆ่าเตียวหุย เพื่อสงบศึกกับเล่าปี.

ใหม่!!: เล่าปี่และเปาจิด · ดูเพิ่มเติม »

เนินหงส์ร่วง

ลและสุสานของบังทอง ในปัจจุบัน เนินหงส์ร่วง (Valley of the Fallen Phoenix) เป็นชื่อสถานที่ที่บังทอง เสนาธิการกองทัพของเล่าปี่ถูกซุ่มยิงด้วยเกาทัณฑ์มากมายจนเสียชีวิต เป็นช่องเขาที่แยกเข้าเมืองลกเสีย เมืองหน้าด่านของมณฑลเสฉวน ในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เรียก "ลกห้องโห" ปัจจุบันนี้อยู่ในแขวงหลิวเจียง เมืองเต๋อหยาง มณฑลเสฉวน และมีศาลและสุสานของบังทองตั้งอยู่ และกลายเป็นหนึ่งในหกสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้รับความคุ้มครองในระดับชาติของจีน ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เล่าปี่และเนินหงส์ร่วง · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเรื่องสามก๊ก

นื้อเรื่องสามก๊ก เป็นเนื้อเรื่องฉบับย่อของวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร..

ใหม่!!: เล่าปี่และเนื้อเรื่องสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เล่าปี่และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หลิว เป้ย์หลิวเป้ยพระเจ้าเล่าปี่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »