โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุคสามก๊ก

ดัชนี ยุคสามก๊ก

แผ่นที่แสดงอาณาเขตของแต่ละก๊กในปี พ.ศ. 805 (Wei-วุย) (Wu-ง่อ) (Shu-จ๊ก) สามก๊ก (ค.ศ. 220–280; Three Kingdoms) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน..

320 ความสัมพันธ์: ชัวฮูหยินชัวต๋งชัวโฮบิสีบิฮูหยินบุนเพ่งบุนเอ๋งชู่จฺวีชีสิวชีจิ๋วพ.ศ. 766พ.ศ. 795พ.ศ. 808พระสนมตังกุยฮุยพัวหองพัวโยยพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008กฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการกวนลอกวนหินกวนอูกวนไฮกวนเป๋งกองซุนก๋งกองซุนอวดกองซุนจ้านกองซุนของกองซุนตู้กองซุนเอี๋ยนกัวเต๋าการบุกลงใต้ของจูกัดเหลียงการพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊กการพิชิตง่อก๊กของจิ้นการยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่การรุกรานเกงจิ๋วของลิบองการทัพปราบตั๋งโต๊ะกาอุ้นกาเซี่ยงกำเหลงกิมสวนกิเหลงกุยกีกุยห้วยกุยฮิวจี๋กุยฮุยกุยแกก่วน หนิงก้วนซุนก๋งเต๋า...มอกายมอซือมณฑลเสฉวนมณฑลเหลียวหนิงยำก๋งยุทธการที่กัวต๋อยุทธการที่หว่านเฉิงยุทธการที่หับป๋ายุทธการที่อิเหลงยุทธการที่อ้วนเซียยุทธการที่ผาแดงยุทธการที่ด่านตงก๋วนยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วนยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่นยูสิดราชวงศ์ราชวงศ์สุยราชวงศ์ฮั่นราชวงศ์ฮั่นตะวันออกราชวงศ์จิ้นรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊กรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊กรายพระนามจักรพรรดินีจีนรายนามพระโพธิสัตว์ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊กลิต้ายลิฉุยวุยก๊กสวินโถสะโมโขสามก๊กสามก๊ก (แก้ความกำกวม)สามก๊ก ตอน โจโฉ มหาอุปราชผู้หวังครองแผ่นดินสิบขันทีสิบเกงสิมโพยสุมาหูสุมาอี้สุสานโจโฉสฺวี่ชางสี่ยอดพธูหมั่นโถวหวนจงหวนเตียวหุยง่วนเสียวหงสาจอมราชันย์ห้าทหารเสือห้าทหารเสือแห่งวุยก๊กอองฮูอำเภอน่านพีอุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลงอุยกายอุยเอี๋ยนองโยย (ราชวงศ์จิ้น)อ้วนสุดอ้วนถำอ้วนซงอ้วนเสี้ยวอ้องอุ้นฮกเฮาฮวนห้อมฮองกี๋ฮองฮูสงฮองตงฮัวหยง (สามก๊ก)ฮัวหิมฮัวโต๋ฮันฮกฮันต๋งฮันโฮฮันเหียนฮั่วอี้ฮั่นจงผานกู่จวนจ๋องจักรพรรดินีหลิงเจินจักรพรรดิเว่ยหมิงจิวยี่จิวซุนจูกัดกิ๋นจูกัดสูจูกัดสงจูกัดเกียวจูกัดเก๊กจูกัดเหลียงจูกัดเอี๋ยนจูหวนจูฮงจูเก๋อ จฺวินจี๋ (อาวุธ)จดหมายเหตุสามก๊กจงฮิวจงป้าจงโฮยจ๊กก๊กจ้วงขับเจ้งขันทีขงสิ้วขงหยงขงจีข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊กคว้อเก๋อคูเสงงอก๊กไถ้งอฮูหยินงักหลิมงักจิ้นงักจุ้นงันเหลียงงำเต๊กงิมหุนง่อก๊กตังสินตังไทฮอตันกุ๋ยตันก๋งตันหลิมตันผวนตันซิ่วตันเต๋งตั๋งห้องตั๋งโต๊ะต้านท่ายซัวหยงซินผีซุนกวนซุนหลิม (เหลนของซุนเกี๋ยน)ซุนจุ๋นซุนโหซุนโฮซุนเกียวซุนเกี๋ยนซุนเต๋งซุนเซ็กประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์โลกปู้ฮูหยินแพ่เป๊กแฮหัวหุยแฮหัวฮุย (ภรรยาของสุมาสู)แฮหัวตุ้นแฮหัวป๋าแฮหัวโฮแฮหัวเอี๋ยนแฮหัวเทียนแผนหลงจงโกกันโกะหยงโกซุ่นโกเสียงโลติดโลซกโว่หลงกังโฮอั๋นโฮจิ๋นโฮเฮาโจวจื่อโจสิดโจหยินโจหลี่โจหองโจหุ้นโจจิ๋นโจงั่งโจฉองโจซองโจซุนโจโก๋โจโฉโจเมาโจเฮาโจเปียวโต้สู้โตเกี๋ยมไดนาสตีวอริเออร์ไดนาสตีวอริเออร์ 6ไดนาสตีวอริเออร์ 7ไดนาสตีวอริเออร์ 8เบ้งเฮ็กเกียวก๊กโลเกียดเป๋งเกียงอุยเกงจิ๋วเย่ (เหอเป่ย)เลียวฮัวเล่าชุนเล่าลีเล่าหงีเล่าฮองเล่าขำเล่าต้ายเล่าปี่เล่าป๋าเล่าเหงเล่าเอี๋ยนเล่าเจี้ยงเล่าเตาเล่าเปียวเล่งทองเล่งโฉเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเอียวสิ้วเอียวหงีเอียนสีเฮกเจียวเฮาเสงเฮาเฉียเฮียงทงเผาตำรา ฝังบัณฑิตเจียวจิ๋วเจียวขิมเจียงหนานเทียหยกเขาฮิวเขาเฉียวเคาเจ้งเงียมแปะฮอเตาบูเตาจี๋เตียวกิ๋นเตียวก๊กเตียวหลำเตียวหงีเตียวอุ๋นเตียวซีเตียวซี (จักรพรรดินีองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเล่าเสี้ยน)เตียวโป้ (เจ้าเมืองตองกุ๋น)เตียวเลี้ยวเตียวเหียนเตียวเอ๊กเตียวเจ (ฮั่นตะวันออก)เตียวเจียวเตียวเค้าเตียวเป๋าเตียนห้องเตียนอุยเตงหงีเตงงายเต๊งหงวนเต๊งไก๋เซ็กเธาว์เปาสิ้นเปาต๋งเปาเตียวเปี๋ยนฮี ขยายดัชนี (270 มากกว่า) »

ชัวฮูหยิน

ัวฮูหยิน (Lady Cai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ภรรยาคนที่ 2 ของเล่าเปียวเจ้าเมืองเกงจิ๋ว มารดาของเล่าจ๋อง พี่สาวของชัวมอ ชัวฮูหยินและชัวมอมีความคิดที่จะกุมอำนาจทั้งหมดในเกงจิ๋ว จึงคิดที่จะพยายามทำให้เล่าจ๋องบุตรของเล่าเปียวและชัวฮูหยินเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งของเล่าเปียว และพยายามกำจัดเล่ากี๋ บุตรของเล่าเปียวและภรรยาคนแรก รวมถึงการคิดพยายามกำจัดเล่าปี่ ซึ่งสนับสนุนเล่าเปียวให้ตั้งเล่ากี๋เป็นผู้สืบทอด ทำให้เล่ากี๋ต้องหนีภัยโดยการขอเล่าเปียวให้ตั้งตนให้เป็นเจ้าเมืองกังแฮที่กำลังขาดเจ้าเมืองและไปรับตำแหน่งที่นั้น ส่วนเล่าปี่ก็เคยถูกตามล่าโดยชัวมอมาแล้วสองครั้ง แต่ก็หนีรอดได้ทุกครั้ง ต่อมา เล่าเปียวเสียชีวิต ชัวฮูหยินและชัวมอได้ปลอมแปลงพินัยกรรม โดยตั้งให้เล่าจ๋องขึ้นเป็นเจ้าเมือง หลังจากนั้นไม่นาน โจโฉได้นำทัพใหญ่บุกเกงจ๋ว เล่าจ๋องยอมจำนน โจโฉตั้งให้เล่าจ๋องเป็นเจ้าเมืองเฉงจิ๋วและให้เดินทางไปรับตำแหน่ง เล่าจ๋องเดินทางไปเฉงจิ๋วพร้อมกับชัวฮูหยิน ระหว่างทางอิกิ๋มซึ่งซุ่มอยู่ข้างทางได้บุกมาสังหารเล่าจ๋องและชัวฮูหยินตามคำสั่งของโจโฉ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชัวฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

ชัวต๋ง

ัวต๋ง (Cai Zhong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ลูกพี่ลูกน้องของชัวมอ และพี่ชายของชัว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชัวต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ชัวโฮ

ัวโฮ (Cai He) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ลูกพี่ลูกน้องของชัวมอ และน้อวชายของชัวต๋ง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชัวโฮ · ดูเพิ่มเติม »

บิสี

ี (Fei Shi, ? — ?) มีชื่อรองว่า กงจู เสนาบดีแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก บิสีมีบทบาทสำคัญเมื่อเล่าปี่สถาปนาตนเองขึ้นเป็น พระเจ้าเล่าปี่ จักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กก็ได้มีพระบัญชาให้บิสีไปยังเกงจิ๋วเพื่ออัญเชิญตราตั้งแต่งตั้งให้ กวนอู เป็นหนึ่งในห้าทหารเสือ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและบิสี · ดูเพิ่มเติม »

บิฮูหยิน

ูหยิน (Lady Mi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ภรรยาคนที่สองของเล่าปี่ เป็นน้องสาวของบิต๊กและบิฮอง ขุนนางของโตเกี๋ยม ซึ่งต่อมาก็ได้รับใช้เล่าปี่หลังจากโตเกี๋ยมเสียชีวิตแล้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและบิฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

บุนเพ่ง

บุนเพ่ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ เหวิน พิ่ง ตามสำเนียงกลาง บุคคลใน ยุคสามก๊ก เป็นขุนศึกแห่ง วุยก๊ก แต่เดิมรับใช้ เล่าเปียว เจ้าเมืองเกงจิ๋วต่อมาเมื่อ เล่าจ๋อง บุตรชายของเล่าเปียวซึ่งขึ้นครองเมืองเกงจิ๋วสืบต่อจากบิดาได้ยอมแพ้ต่อ โจโฉ ทำให้บุนเพ่งได้มารับใช้วุยก๊ก ซึ่งบุนเพ่งมีบทบาทสำคัญในการปกป้อง เมืองกังแฮ จากการรุกรานของ ซุนกวน ผู้นำง่อก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและบุนเพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

บุนเอ๋ง

นเอ๋ง (Wen Yang, ค.ศ. 238 — ค.ศ. 291) ชื่อรองว่า จื่อเฉียน (Ciqian) และมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า เหวินฉู่ (Wen Chu) เป็นขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก และ ราชวงศ์จิ้นตะวันตก เป็นบุตรชายของ บุนขิม ขุนศึกแห่งวุยก๊ก เมื่อบุนขิมผู้เป็นบิดาได้ก่อกบฏที่เมืองสิ่วชุ่นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและบุนเอ๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ชู่จฺวี

วาดโบราณการเล่นชู่จฺวีของเด็ก ๆ ชู่จฺวี (蹴鞠; พินอิน: Cùjū; Cuju, Tsu' Chu) เป็นการละเล่นหรือกีฬาชนิดหนึ่งของจีนโบราณ ที่มีลักษณะการเล่นคล้ายกับฟุตบอลในยุคปัจจุบัน คำว่า "ชู่จฺวี" (蹴鞠) นั้นแปลตรงตัวได้เลยว่า "เตะบอล" เป็นกีฬาที่แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย ต่างฝ่ายใช้ขาหรือเท้าเตะลูกบอลทำประตูของอีกฝ่ายให้ได้ โดยห้ามใช้แขนหรือมือ ต่างกับฟุตบอลในปัจจุบันตรงที่ประตูฟุตบอลในปัจจุบันจะเป็นตาข่ายที่ขึงด้วยโครงเหล็ก แต่ประตูชู่จฺวีจะเป็นห่วงไม้ขนาดใหญ่ที่แขวนจากที่สูง ไม่มีหลักฐานว่าชู่จฺวีนั้นเริ่มมีขึ้นมาตั้งแต่เมื่อใด แต่ก็มีหลายกระแสต่างบ่งบอกถึงที่มา เช่น มีที่มาจากตั้งแต่ยุคจักรพรรดิเหลืองหรืออึ่งตี้ (黃帝) เมื่อกว่า 5,000 ปีก่อน โดยเป็นการละเล่นเพื่อผ่อนคลายให้แก่ทหาร หรือเกิดขึ้นเมื่อ 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือราว 2,500 ปีก่อน ในยุคสงครามระหว่างรัฐครั้งใหญ่ แต่ชู่จฺวีนั้นได้รับความนิยมถึงขีดสุดในยุคราชวงศ์ฮั่น (206 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) ปัจจุบันกีฬาชู่จฺวีนั้นได้รับการรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งโดยกลุ่มยุวชนชาวจีน โดยจะแต่งกายด้วยอาภรณ์ย้อนไปในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่น จับกลุ่มเล่นชู่จฺวีกันในสวนสาธารณะปักกิ่งในกรุงปักกิ่ง โดยมีจุดประสงค์ให้ชาวต่างชาติได้รู้จักกับกีฬาชนิดนี้ ซึ่งในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชู่จฺวี · ดูเพิ่มเติม »

ชีสิว

อสิว (JuShou) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กจอสิว เป็นชาวเมืองก่วนผิง มฑฑลเหอเป่ย มีความรู้ความคิดสูง ชำนาญในพิชัยสงคราม ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่ปรึกษาของอ้วนเสี้ยว เมื่ออ้วนเสี้ยวจะยกทัพไปรบกับโจโฉที่กัวต๋อ (กวนตู้) ซึ่งเป็นคราวปราชัยอย่างย่อยยับ จอสิวได้ทัดทานไว้เช่นเดียวกับเตียนฮอง และยังได้แนะนำให้อ้วนเสี้ยวใช้ยุทธวิธีถ่วงการรบ เพราะรู้ว่าเสบียงอาหารของกองทัพโจโฉมีน้อย อ้วยเสี้ยวโกรธ หาว่าจอสิวแนะนำไม่เข้าเรื่อง จึงให้เอาตัวจอสิวจำขังไว้ เสร็จศึกจะฆ่าพร้อมด้วยเตียนฮอง ระหว่างถูกขัง จอสิวเห็นดาววิปริต อันตรายจะเกิดแก่อ้วนเสี้ยว สู้ปลุกให้อ้วนเสี้ยวลุกขึ้นระวังคลังเสบียงที่อัวเจ๋า อ้วนเสี้ยวไม่เชื่อ สั่งให้เอาตัวผู้คุมไปประหารชีวิตฐานปล่อยจอสิวออกมาแล้วขังจอสิวไว้ต่อไป ครั้งอ้วนเสี้ยวแตกทัพกลับไปแล้ว โจโฉปลดปล่อยจอสิวออกมา และเกลี้ยกล่อมเอาไว้เป็นพวก จอสิวไม่ยอม ด่าโจโฉต่างๆนานา โจโฉไม่โกรธ ให้แต่งโต๊ะเลี้ยงจอสิวเป็นอันดี พอตกกลางคืน จอสิวลักม้าตัวหนึ่ง จะหนีไปหาอ้วนเสี้ยว ทหารโจโฉจับตัวได้ โจโฉจึงสั่งให้ประหารชีวิต แล้วให้ฝังศพไว้ริมแม่น้ำเหลืองและให้จารึกบนศิลาสดุดีความซื่อตรงจงรัก ภักดีต่อนายขงจอสิวเป็นอันมาก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชีสิว · ดูเพิ่มเติม »

ชีจิ๋ว

ซีจิ๋ว หรือ จังหวัดจิ๋ว เป็น 1 ใน 9 จังหวัดของเมืองจีนในอดีต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและชีจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 766

ทธศักราช 766 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพ.ศ. 766 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 795

ทธศักราช 795 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพ.ศ. 795 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 808

ทธศักราช 808 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพ.ศ. 808 · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมตังกุยฮุย

ระสนมตังกุยฮุย (Consort Dong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก โดยเป็นพระสนมในพระเจ้าฮั่นเลนเต้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพระสนมตังกุยฮุย · ดูเพิ่มเติม »

พัวหอง

ัวหอง (Pan Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลของฮันฮก เจ้าเมืองกิจิ๋ว ใช้ขวานใหญ่เป็นอาวุธ ออกไปดวลกับ ฮัวหยง ขุนพลของตั๋งโต๊ะ และถูกสังหาร รูปพัวหองจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพัวหอง · ดูเพิ่มเติม »

พัวโยย

ัวโยย (Pan Jun, ? – ค.ศ. 239) ขุนนางแห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ในตำแหน่งเสนาธิการ พัวโยยเคยรับใช้ เล่าเปียว และ เล่าปี่ จนกระทั่งเกิด การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพัวโยย · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร

ัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร หรือ อุทยานมังกรสวรรค์ สร้างขึ้นตามความต้องการของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เริ่มออกแบบและจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรขึ้นภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารยธรรมจีน เพื่อเป็นอนุสรณ์สัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ครบ 20 ปีใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 2008 ณ สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง (สนามกีฬารังนก) กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยเริ่มเมื่อเวลา 20.00 น. (8:00 PM) ตามเวลาท้องถิ่น หรือ 19.00 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีจาง อี้โหมว ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีนที่มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Hero, House of Flying Daggers และCurse of the Golden Flower เป็นต้น และ จาง ฉีกัง รับหน้าที่กำกับการแสดง ซึ่งการแสดงทั้งหมดจะเน้นถึงอารยธรรมจีนโบราณ ผสมผสานกับความทันสมัยในโลกปัจจุบัน โดยใช้นักแสดงกว่า 15,000 คน พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ได้รับคำชื่นชมว่าเป็นพิธีเปิดโอลิมปิกที่ดีที่สุดเท่าที่มีการจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

กฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการ

กฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการ (Eight Deliberations) เป็นกฎหมายจีนดั้งเดิมประเภทหนึ่งที่ใช้เป็นข้อพิจารณาในการลดโทษสำหรับอภิชนบางกลุ่ม เช่น สมาชิกราชวงศ์ ขุนนาง และชนชั้นสูงอื่น ๆ กฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการตราขึ้นในวุยก๊ก สมัยสามก๊ก โดยพัฒนามาจากกฎแห่งโจว อันมีหลักว่า ผู้กระทำความผิดอาญา หากมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ให้ได้รับการลดโทษ คือ เป็นประยูรญาติขององค์อธิปัตย์ เป็นสหายสนิทชิดเชื้่อกับองค์อธิปัตย์ เป็นผู้มีคุณความดีอย่างใหญ่หลวง เป็นผู้มีคุณธรรมมาก เป็นข้าราชการชั้นสูง เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับการยกเว้นเป็นพิเศษ หรือเป็นอาคันตุกะขององค์อธิปัตย์หรือเป็นประยูรญาติของประมุขแห่งรัฐคนก่อน ต่อมาได้รับการตราไว้ในมาตรา 7 แห่งประมวลกฎหมายราชวงศ์ถัง และคงได้รับนามตามเดิม โดยตามมาตรา 7 นี้ การไต่สวนและพิจารณาพิพากษาผู้มีลักษณะข้างต้นต้องได้รับราชานุญาตจากพระจักรพรรดิเสียก่อน ทว่า ในมาตรา 8 บัญญัติยกเว้นว่า มิให้ใช้มาตรา 7 หากบุคคลดังกล่าวกระทำความผิดร้ายแรงตามกฎว่าด้วยความชั่วสิบประการ ซึ่งประมวลกฎหมายของราชวงศ์ต่อ ๆ มาของจีนก็มีหลักการเดียวกัน กฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกฎว่าด้วยเอกสิทธิ์แปดประการ · ดูเพิ่มเติม »

กวนลอ

กวนลอ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าก่วนลู่ (ค.ศ. 209 - ค.ศ. 256) มีชื่อรองว่ากงหมิง (ฺGongming) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองเพงงวนก๋วน มณฑลซานตุง มีชื่อรองกงหมิง ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก กวนลอเป็นคนรูปร่างขี้ริ้ว มีความสามารถในการทำนายเหตุการณ์ต่าง ๆ ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำ นิสัยสมถะ รักความสงบไม่หวังผลลาภยศตอบแทน ชื่นชอบสุราเช่นเดียวกับการชอบดูดาว ศึกษาดาราศาสตร์แตกฉาน กวนลอมีนิสัยชอบทำตามใจและอารมณ์ของตนเอง ใจกว้าง ชำนาญการคำนวณเป็นเล.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกวนลอ · ดูเพิ่มเติม »

กวนหิน

กวนหิน 関興 มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากวนซิง (Guan Xing) มีชื่อรองว่าอันกั๋ว (ฺAnguo) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายคนโตของกวนอู มีฝีมือไม่แพ้กวนอูผู้เป็นบิดา ออกศึกกับพระเจ้าเล่าปี่ครั้งแรกที่ศึกอิเหลง เพื่อแก้แค้นซุนกวนให้กวนอูและเตียวหุยที่ถูกฆ่าตาย กวนหินแสดงฝีมือให้เป็นที่ประจักษ์หลายครั้ง แต่ศึกครั้งนี้ พระเจ้าเล่าปี่ต้องพ่ายให้กับสติปัญญาของลกซุน จนต้องถอยทัพไปที่เป๊กเสีย และตรอมพระทัยสวรรคต หลังพระเจ้าเล่าปี่สวรรคต กวนหินก็คอยช่วยเหลือขงเบ้งในศึกต่าง ๆ หลายครั้ง โดยมักจะได้รับคำสั่งให้ทำงานพร้อมกับเตียวเปา บุตรชายของเตียวหุย จนกระทั่งกวนหินล้มป่วยลงจนเสียชีวิต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกวนหิน · ดูเพิ่มเติม »

กวนอู

กวนอู เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อวันที่ 24 เดือนมิถุนายน จีนศักราชเอี่ยงฮี ปี พ.ศ. 704 ในรัชกาลฮั่นฮวนเต้ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เดือนกรกฎาคม จีนศักราชเคี่ยงเซ้ง ปี 763 ในรัชกาลฮั่นเหี้ยนเต้ มีชื่อรองว่า "หุนเตี๋ยง" (Yunchang) เป็นชาวอำเภอไก่เหลียง ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก กวนอูเป็นผู้มีรูปร่างสูงใหญ่ 9 ฟุตจีนหรือประมาณ 6 ศอก ใบหน้าแดงเหมือนผลพุทราสุก นัยน์ตายาวรี คิ้วดั่งหนอนไหม หนวดเครางามถึงอก มีง้าวรูปจันทร์เสี้ยว ยาว 11 ศอก หนัก 82 ชั่ง เป็นอาวุธประจำกายเรียกว่า ง้าวมังกรเขียว หรือง้าวมังกรจันทร์ฉงาย ในจินตนาการของศิลปินมักวาดภาพหรือปั้นภาพให้กวนอูแต่งกายด้วยชุดสีเขียวและมีผ้าโพกศีรษะ กวนอูมีความเชี่ยวชาญและเก่งกาจวิทยายุทธ จงรักภักดี กตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและซื่อสัตย์เป็นเลิศ ในวัยหนุ่มฉกรรจ์กวนอูได้พลั้งมือฆ่าปลัดอำเภอและน้าชายตายจนต้องหลบหนีการจับกุมกวนอู ตัวละครสำคัญในสามก๊ก, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกวนอู · ดูเพิ่มเติม »

กวนไฮ

กวนไฮ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าก่วนไฮ่ (Guan Hai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นแม่ทัพของกบฏโพกผ้าเหลือง หลังจากที่กบฏโพกผ้าเหลืองในยุคแรกถูกกวาดล้างกวนไฮก็ได้กลายเป็นโจรป่าจนกระทั่งได้มีการฟื้นคืนชีพกบฏโพกผ้าเหลืองขึ้นมาอีกครั้ง ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกวนไฮ · ดูเพิ่มเติม »

กวนเป๋ง

กวนเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 220)บันทึกจือจื้อทงเจี้ยนระบุว่ากวนเป๋งถูกจับและถูกประหารในเดือน 12 ปีที่ 24 ของศักราชเจี้ยนอัน (ค.ศ. 196-220) ในรัชสมัยของพระเจ้าเหี้ยนเต้ ตามเนื้อความในบันทึกจือจื้อทงเจี้ยน เล่มที่ 68 ดังนี้: (... 十二月,璋司馬馬忠獲羽及其子平於章鄉,斬之,遂定荊州。) ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกวนเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนก๋ง

กองซุนก๋ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนกง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กเป็นบุตรชายของกองซุนตู้เจ้าเมืองเลียวตั๋ง และเป็นน้องชายของกองซุนของซึ่งต่อมาสืบทอดตำแหน่งเจ้าเมืองเลียวตั๋งต่อจากกองซุนตู้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนอวด

กองซุนอวด มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนเยว่ (Gongsun Yue) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นน้องชายของกองซุนจ้าน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนอวด · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนจ้าน

กองซุนจ้าน มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนจ้าน (Gongsun Zan) มีชื่อรองว่า โป๋กุย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองปักเป๋ง กองทัพส่วนใหญ่ของกองซุนจ้านส่วนใหญ่ขี่ม้าสีขาว เนื่องจากกองซุนจ้านปราบพวกชนเผ่าพื้นเมืองเกียง เข้าผนวกทัพของตน กองซุนจ้านเป็นเพื่อนกับเล่าปี่มาตั้งแต่ครั้งยังเรียนหนังสือด้วยกัน ในสงครามปราบตั๋งโต๊ะ ในที่ประชุมพล อ้วนเสี้ยวถามว่าคนที่ยืนอยู่ข้างหลังกองซุนจ้านเป็นใคร กองซุนจ้านจึงแนะนำว่า ผู้นี้เป็นสหายข้าพเจ้า ชื่อเล่าปี่ เป็นเชื้อสายราชวงศ์ฮั่น บรรดาขุนพลจึงได้รู้จักเล่าปี่เป็นครั้งแรก และเป็นที่มาของวีรกรรมกวนอู เมื่ออาสาตัดหัวฮัวหยงได้โดยที่สุราที่โจโฉรินอวยพรให้ ยังอุ่น ๆ อยู่ เมื่อครั้งเล่าปี่ตกอับ กองซุนจ้านได้เขียนฎีกาทูลฮ่องเต้ ให้อภัยโทษแก่เล่าปี่ ต่อมาอ้วนเสี้ยวอยากได้กิจิ๋ว ซึ่งเจ้าเมืองกิจิ๋วคือฮันฮก เป็นคนอ่อนแอ อ้วนเสี้ยวคิดแผนการไม่ออก ฮองกี๋จึงแนะแผนการใช้กองซุนจ้านนำทัพมา แล้วให้อ้วนเสี้ยวนำทัพไปกิจิ๋ว อ้างว่ามาช่วย สุดท้ายอ้วนเสี้ยวยึดเมืองกิจิ๋วไว้เอง กองซุนจ้านส่งกองซุนอวดน้องชายตนไปเจรจา แต่กลับถูกทหารอ้วนเสี้ยวปลอมเป็นทหารตั๋งโต๊ะดักยิงตาย กองซุนจ้านโกรธเป็นอย่างมาก จึงได้รบกับอ้วนเสี้ยวอยู่หลายครั้ง เมื่อครั้งกองซุนจ้านนำทัพมาเผชิญหน้ากับกองทัพของอ้วนเสี้ยวที่สะพานจีเกี้ยว บุนทิวนายทหารเอกของอ้วนเสี้ยว ได้บุกมาจับกองซุนจ้าน จนกองซุนจ้านจนตรอก แต่ดีที่จูล่ง มาช่วยไว้ทันและได้เป็นทหารของกองซุนจ้านในกาลต่อมา ภายหลังกองซุนจ้านสติวิปลาส ไม่ดูแลลูกน้องของตนเองให้ดี เมื่ออ้วนเสี้ยวยกทัพมา ก็ไม่ส่งทหารไปช่วยเหล่าเมืองขึ้น จนสุดท้ายอ้วนเสี้ยวบุกมาถึงเมืองอี้จิง กองซุนจ้านสั่งทหารสร้างกำแพงแน่นหนา แต่ก็ไม่วาย อ้วนเสี้ยวส่งทหารขุดอุโมงค์ไปจับกองซุนจ้าน กองซุนจ้านเมื่อจนตรอก จึงฆ่าบุตรและภรรยา และก็ฆ่าตัวตาย ในปี พ.ศ. 742 อันเป็นปีเดียวกับที่อ้วนสุด น้องชายอ้วนเสี้ยวตาย รูปกองซุนจ้านจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 กองซุนจ้าน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนจ้าน · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนของ

กองซุนของ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนคาง (Gongsun Kang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นเจ้าเมืองเลียวตั๋ง และเป็นบุตรชายของกองซุนตู้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนของ · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนตู้

แผนที่แสดงอาณาเขตของขุนศึกราชวงศ์ฮั่นในคริสต์ทศวรรษ 190 รวมถึงกองซุนตู้ กองซุนตู้ (เสียชีวิตปี ค.ศ. 204) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนตู้ มีชื่อรองว่าเซิงจี้ (ฺShengji) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นขุนพลและขุนศึกในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นเจ้าเมืองเลียวตั๋ง และเป็นบิดาของกองซุนของ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนตู้ · ดูเพิ่มเติม »

กองซุนเอี๋ยน

กองซุนเอี๋ยน มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากงซุนยวน (เสียชีวิต ค.ศ. 238) มีชื่อรองว่าเหวินอี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายของกองซุนของ ต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองเลียวตั๋งแทนพ่อที่เสียชีวิต กองซุนเอี๋ยน ยกทัพ 10 หมื่นรุกบุกเข้ามายังตงหงวนเพื่อตีเมืองลกเอี๋ยงของโจยอย โจยอยส่งสุมาอี้ไปกำราบ สุมาอี้ใช้กลยุทธ์จับตัวกองซุนเอี๋ยนได้ แต่ถึงแม้กองซุนเอี๋ยนจะยอมสวามิภักดิ์ แต่สุมาอี้ก็ไม่สนใจแล้งก็สั่งประหารกองซุนเอี๋ยน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกองซุนเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

กัวเต๋า

กัวเต๋า มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากัวถู (Guo Tu) มีชื่อรองว่ากงเจ๋อ (ฺBodian) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของอ้วนเสี้ยว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกัวเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

การบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง

การบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง (Zhuge Liang's Southern Campaign) สงครามในที่เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊ก

แผนที่สามก๊กใน ค.ศ. 262 ก่อนเกิดยุทธการพิชิตจ๊กก๊ก ยุทธการพิชิตจ๊กก๊ก (Conquest Shu by Wei) สงครามครั้งสำคัญใน ยุคสามก๊ก ที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนกันยายน — พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตง่อก๊กของจิ้น

ยุทธการพิชิตง่อก๊ก (Conquest Wu by Jin) สงครามรวบรวมแผ่นดินจีนของ ราชวงศ์จิ้น ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก ซึ่งในที่สุด พระเจ้าซุนโฮ ก็ได้ยอมแพ้ต่อ ราชวงศ์จิ้น เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 280 ทำให้ยุคสามก๊กได้สิ้นสุดลง หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการพิชิตง่อก๊กของจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่เป็นการทัพของขุนศึกเล่าปี่เพื่อเข้ายึดครองเอ๊กจิ๋วที่ผู้ว่าราชการเล่าเจี้ยงปกครองในราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตอนปลาย การทัพนี้เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง

การรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง (Lü Meng's invasion of Jing Province) สงครามครั้งสุดท้ายในยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ก่อนจะเข้าสู่ ยุคสามก๊ก โดยเป็นการปะทะกันระหว่างกองทัพง่อก๊กภายใต้การนำของลิบองและกองทัพจ๊กก๊กภายใต้การนำของกวนอูและกวนเป๋ง สงครามครั้งนี้สืบเนื่องมาจาก ยุทธการที่อ้วนเซีย โดยกวนอูได้ไล่ติดตามกองทัพของ โจหยิน มาจนถึงกับดักที่ลิบองได้วางเอาไว้จนกวนอูและกวนเป๋งลูกบุญธรรมถูกจับตัวได้โดยไม่มีกองหนุนมาช่วยเหลือเนื่องจาก บิฮอง และ สูหยิน รองแม่ทัพกลับแปรพักตร์ไปเข้ากับง่อก๊กทางด้านซุนกวนได้พยายามเกลี้ยกล่อมกวนอูและกวนเป๋งให้มาเข้ากับง่อก๊กแต่ทั้งสองได้ปฏิเสธไปจึงถูกประหารชีวิตพร้อมกับส่งหัวของกวนอูไปให้ โจโฉ เพื่อให้ เล่าปี่ เข้าใจโจโฉผิดแต่เล่าปี่ไม่หลงกลซึ่งเหตุการณ์นี้ได้นำไปสู่ ยุทธการที่อิเหลง ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการรุกรานเกงจิ๋วของลิบอง · ดูเพิ่มเติม »

การทัพปราบตั๋งโต๊ะ

ศึกปราบตั๋งโต๊ะ เป็นหนึ่งในสงครามที่สำคัญในยุคสามก๊ก สงครามครั้งนี้ได้เกิดขึ้นเมื่อจอมทรราชตั๋งโต๊ะได้สร้างความวุ่นวายในราชสำนักด้วยการปลดห้องจูเปียนออกจากราชสมบัติและตั้งห้องจูเหียบ พระราชอนุชาขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้และขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนทำให้มีอำนาจบาตรใหญ่ในราชสำนัก เหล่าขุนนางต่างหวั่นเกรงกลัวอำนาจของตั๊งโต๊ะ แต่โจโฉได้อาสาที่จะลอบสังหารแต่ไม่สำเร็จจึงหนีไปยังบ้านเกิดขายทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตนเป็นทุนเพื่อรับทหารอาสาสมัครจำนวนหนึ่ง จากนั้นไปสมทบกับอ้วนเสี้ยวและส่งสาส์นไปยังเมืองต่างๆให้มาช่วยรบเพื่อโค่นล้มอำนาจของตั๋งโต๊ะ ปรากฏว่า มีหัวเมืองทั้งหมดสิบแปดหัวเมืองได้เข้าร่วมรบในศึกครั้งนี้ ผลลัพธ์ปรากฏว่ากองทัพผสมสิบแปดหัวเมืองสามารถเอาชนะกองทัพตั๊งโต๊ะได้ในด่านเฮาโลก๋วนและกำลังจะบุกตีเมืองลกเอี๋ยงอันเป็นราชธานี แต่ตั๊งโต๊ะได้อัญเชิญพระเจ้าเหี้ยนเต้ไปยังเมืองเตียงอันและสั่งให้ทหารของตนไปปล้นฆ่าราษฏรในเมืองและริบทรัพย์สินมาทั้งหมด เผาลกเอี๋ยงให้ราบ จากนั้นก็ได้สร้างเตียงฮันเป็นราชธานีใหม่โดยนำเงินที่ปล้นมาเป็นทุน ส่วนกองทัพของสิบแปดหัวเมืองไม่ได้คิดตามไปตีเตียงอันแต่ก็ได้มีแตกแยกกันทำให้กองทัพพากันสลายตัวในที่สุด หมวดหมู่:สามก๊ก หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและการทัพปราบตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

กาอุ้น

กาอุ้น หรือ แกฉง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า เจี่ยชง (Jia Chong) มีชื่อรองว่า กงลวี้ (ฺGonglü) เป็นเสนาธิการแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ในช่วงหลัง ยุคสามก๊ก กาอุ้นเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกาอุ้น · ดูเพิ่มเติม »

กาเซี่ยง

กาเซี่ยง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า เจี๋ยสวี่ (Jia Xu) มีชื่อรองว่าเหวินเหอ (ฺWenhe) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ที่ปรึกษาคนสำคัญของเตียวสิ้ว ได้รับยกย่องว่าเป็นบุคคลที่เสมือนเอาตันแผงและเตียวเหลียงมารวมกัน เป็นที่ปรึกษาที่วางแผนไม่เคยผิดพลาด มีชื่อรองว่า เหวินเหอ เป็นคนมีประสบการณ์สูงและมีสติปัญญาเป็นเลิศ เริ่มแรกเป็นที่ปรึกษาให้แก่ลิฉุยและกุยกี ด้วยสติปัญญาอันสูงส่ง สามารถทำให้ลิฉุย กุยกีอยู่บนอำนาจได้นาน แต่ต่อมาเกิดไม่พอใจลิฉุยและกุยกี จึงไปอยู่กับเตียวสิ้ว กาเซี่ยงมีเพื่อนที่เป็นที่ปรึกษาอยู่เตงเชีย คือ เลียวตู้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกาเซี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

กำเหลง

กำเหลง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่ากานหนิง (Gan Ning) มีชื่อรองว่าซิงป้า (ฺXingba) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นแม่ทัพที่อาจหาญ และบ้าบิ่นที่สุดคนหนึ่งในเรื่อง สามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกำเหลง · ดูเพิ่มเติม »

กิมสวน

กิมสวน (เสียชีวิต ค.ศ. 209) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จินเสฺวียน มีชื่อรองว่าเยฺหวียนจี เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนศึกในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นเจ้าเมืองบุเหลงซึ่งเป็นหัวเมืองหนึ่งในแคว้นเกงจิ๋ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกิมสวน · ดูเพิ่มเติม »

กิเหลง

กิเหลง (Ji Ling) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กขุนพลของอ้วนสุด เป็นชาวซานตุง มีอาวุธเป็นง้าว 3 คม หนัก 50 ชั่ง เมื่อเล่าปี่ยกมาตีลำหยง อ้วนสุดได้ให้กิเหลงเป็นแม่ทัพหน้าต้านเล่าปี่ กิเหลงปะทะกับกวนอู รบไม่แพ้ชนะกัน ต่อมาเล่าปี่ถูกลิโป้ยึดเมืองชีจิ๋ว ลิโป้ให้เล่าปี่อยู่เมืองเสียวพ่าย อ้วนสุดได้ให้กิเหลงเป็นแม่ทัพหน้านำทหารสิบหมื่นไปตีเมืองเสียวพ่าย เล่าปี่จึงส่งจดหมายไปขอความช่วยเหลือจากลิโป้ ลิโป้จึงเรียกทั้งเล่าปี่และกิเหลงมาที่ค่ายของตนและอ้างมติสวรรค์ยิงเกาทัณฑ์ให้โดนปลายทวน โดยนำทวนไปปักที่ประตูค่ายห่างจากจุดที่ลิโป้ยืน 150 ก้าว ถ้ายิงเกาทัณฑ์ไม่โดนปลายทวนให้ทั้งสองทัพทำสงครามกันต่อไปโดยลิโป้ไม่ขอยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป แต่ถ้ายิงถูกปลายทวนทั้งสองฝ่ายต้องเลิกรบกัน ผลปรากฏว่าลิโป้ยิงถูกปลายทวนได้อย่างแม่นยำ ทำให้เล่าปี่รอดจากการโจมตีของกิเหลง ต่อมาเล่าปี่ยกมาตีอ้วนสุดที่กำลังเดินทัพไปหาอ้วนเสี้ยวผู้พี่ อ้วนสุดได้ให้กิเหลงออกรบ กิเหลงรบกับเตียวหุยและถูกเตียวหุยฆ่าต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกิเหลง · ดูเพิ่มเติม »

กุยกี

กุยกี (Guo Si) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ขุนพลของตั๋งโต๊ะคู่กับลิฉุย เมื่อตั๋งโต๊ะถูกลิโป้ฆ่า กุยกี พร้อมกับลิฉุย เตียวเจ หวนเตียว จัดตั้งกองทัพบุกยึดอำนาจในเมืองหลวง (เตียงฮัน) มาได้ ทำให้ลิโป้ต้องหนีออกมา และกลายเป็นขุนพลเร่ร่อน ส่วนอ้องอุ้นถูกประหาร ต่อมาได้ทูลขอตำแหน่งในเมืองหลวง จึงได้เป็นแม่ทัพหลัง (ส่วนลิฉุยได้เป็นสมุหนายก) เมื่อมีอำนาจก็กระทำการหยาบช้าไม่ต่างจากสมัยของตั๋งโต๊ะ ต่อมา เอียวปิวได้ทำให้ลิฉุยกับกุยกีผิดใจกัน แต่ก็ให้เกิดความวุ่นวายขึ้น จนทำให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ต้องย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่ลกเอี๋ยง ต่อมา ลิฉุย กุยกีได้กลับมาร่วมมือกันอีกครั้งหวังปลงพระชนม์ฮ่องเต้ แต่กองทัพของลิฉุย กุยกีก็ถูกโจโฉปราบปรามจนสิ้น ลิฉุย กุยกีหนีรอดมาได้ แต่ก็ถูกตวนอุย งอสิบ ฆ่าตายในเวลาต่อมา รูปกุยกีจากเกม Romance of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกุยกี · ดูเพิ่มเติม »

กุยห้วย

กุยห้วย (Guo Huai) หรือ กวยหวย (ชื่อในสามก๊กฉบับพระยาคลัง) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกุยห้วย · ดูเพิ่มเติม »

กุยฮิวจี๋

กุยฮิวจี๋ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กัวโยวจือ มีชื่อรองว่าเหยี่ยนฉาง เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนนางของจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองลำหยง (南陽 หนานหยาง ปัจจุบันคือเมืองหนานหยาง มณฑลเหอหนาน) จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) อัครมหาเสนาบดีแห่งจ๊กก๊ก ได้เขียนกล่าวถึงกุยฮิวจี๋ในฎีกาออกศึก (出師表 ชูชือเปี่ยว) ฉบับแรกในปี ค.ศ. 227 ว่ากุยฮิวจี๋เป็นผู้มีความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์เป็นอย่างสูง กุยฮิวจี๋ถูกระบุชื่อพร้อมด้วยตังอุ๋นและบิฮุยว่าเป็นขุนนางมีความสามารถที่สามารถให้คำปรึกษาในราชการทั้งใหญ่และน้อยแก่พระเจ้าเล่าเสี้ยนได้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกุยฮิวจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

กุยฮุย

กุยฮุย หรือ จักรพรรดินีกัวหนี่หวาง (Empress Guo Nüwang; 8 เมษายน 184 — 14 มีนาคม 235) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีเหวินเต๋อ จักรพรรดินีองค์แรกแห่ง วุยก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนพระนางอภิเษกกับ พระเจ้าโจผี ปฐมจักรพรรดิแห่งวุยก๊ก พระนางเป็นธิดาของ กัวหยง หรือในสามก๊กเรียก กุยเฮง ซึ่งมาจากครอบครัวขุนนางชั้นผู้น้อยในท้องถิ่นแต่ด้วยความที่พระนางมีพระสิริโฉมงดงามและความฉลาดหลักแหลมตั้งแต่ยังเยาว์บิดาของพระนางจึงได้มอบชื่อใหม่ให้พระนางว่า หนี่หวาง มีความหมายว่า จักรพรรดินีผู้ปกครองแผ่นดิน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกุยฮุย · ดูเพิ่มเติม »

กุยแก

กุยแก (Guo Jia) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ยอดกุนซือแห่งวุยก๊ก เป็นชาวเมืองอิ่งชวน เอี๋ยงตี๋ (เมืองอวี๋ มณฑลเหอหนานในปัจจุบัน) ชื่อรองฟ่งเสี้ยว เดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่อ้วนเสี้ยวเป็นผู้นำที่ใช้คนไม่เป็น กุยแกจึงมาอยู่กับโจโฉในวัยเพียง 27 ปี ด้วยการแนะนำของซุนฮก กุยแกเป็นนักวางแผนคนสำคัญ เป็นผู้สรุปข้อดี 10 ประการของโจโฉ และสรุปข้อด้อย 10 ประการของอ้วนเสี้ยวเปรียบเทียบให้โจโฉฟัง ซึ่งเป็นแรงดลใจให้โจโฉทำสงครามแตกหักกับอ้วนเสี้ยว แม้จะมีกำลังคนน้อยกว่าอ้วนเสี้ยวถึง 10:1 แต่โจโฉเอาชนะอ้วนเสี้ยวได้ กุยแกเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่าเฉลียวฉลาดมาก อาจเทียบได้กับขงเบ้งของเล่าปี่ ทว่าทั้งคู่ไม่มีโอกาสได้ประชันฝีมือกัน เพราะกุยแกเสียชีวิตเสียก่อน ด้วยป่วยตายที่เมืองลกเอี๋ยงในวัยเพียง 38 ปี ระหว่างที่โจโฉทำสงครามติดตามอ้วนซง และอ้วนถำ บุตรชายของอ้วนเสี้ยว ที่หนีไป ภายหลังอ้วนเสี้ยวตายไปแล้ว ก่อนตาย กุยแกได้เขียนจดหมายถึงโจโฉว่า ไม่จำเป็นต้องไล่ติดตามคนทั้ง 2 ไปไกล เพราะไม่นานทั้ง 2 จะแตกกันเองและจะมีผู้จัดการให้ในที่สุด ซึ่งก็ปรากฏเป็นจริงดังคำของกุยแก เพราะเมื่ออ้วนซงและอ้วนฮีหนีไปอยู่กับกองซุนข้อง กองซุนข้องระแวงคนทั้ง 2 อยู่แล้ว จึงฆ่าและตัดหัวมามอบให้แก่โจโฉ เมื่อกุยแกตาย โจโฉร่ำไห้อาลัยมาก รำพึงรำพันว่า กุยแกตายแต่ยังหนุ่ม เหมือนสวรรค์กลั่นแกล้งตน และอีกครั้งหลังพ่ายแพ้ย่อยยับจากศึกเซ็กเพ็ก โจโฉรำพันว่า ถ้ากุยแกยังอยู่จะต้องห้ามปรามตน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและกุยแก · ดูเพิ่มเติม »

ก่วน หนิง

ก่วน หนิง (ค.ศ. 158 – ค.ศ. 241) มีชื่อรองว่า โย่วอัน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นนักเขียนและบัณฑิตในวุยก๊ก เป็นชาวอำเภอจูซฺวี (朱虛縣 จูซฺวีเซี่ยน) เมืองปักไฮ (北海郡 เป๋ยไห่จฺวิ้น) ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณใกล้อำเภอหลิงฉฺวี มณฑลซานตง บิดาของก่วน หนิงเสียชีวิตเมื่อก่วน หนิงอายุ 16 ปี ก่วน หนิง เป็นเพื่อนสนิทของฮัวหิมและปิ่งหยวน ทั้งสามคนได้รับการยกย่องรวมกันว่าเป็นตัวมังกร โดยฮัวหิมเป็นตัวมังกร ปิ่งหยวนเป็นท้องมังกร และก่วน หนิง เป็นหางมังกร วันหนึ่งก่วน หนิงและฮัวหิมนั่งอ่านหนังสือด้วยกัน ข้างนอกมีเสียงเอะอะเพราะมีผู้มีอิทธิพลนั่งรถผ่านมา ก่วน หนิง ยังคงนั่งเฉย แต่ฮัวหิมกลับทิ้งหนังสือเดินออกไปดู ตั้งแต่นั้นมาก่วน หนิง ก็ดูถูกฮัวหิมแล้วเลิกคบเป็นเพื่อนกับฮัวหิม ต่อมาก่วน หนิง ไปอยู่ที่เลียวตั๋ง ใช้ชีวิตอย่างสันโดษ ตลอดชีวิตไม่เคยรับราชการกับวุยก๊กเลย ในวรรรณกรรมสามก๊กของล่อกวนตง เรื่องราวของก่วน หนิง เล่าแทรกไว้ในตอนที่ 66 เพื่อแนะนำประวัติความเป็นมาของฮัวหิม แต่ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ไม่ปรากฏชื่อของก่วน หนิง เพราะไม่ได้แปลเนื้อเรื่องในส่วนนี้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและก่วน หนิง · ดูเพิ่มเติม »

ก้วนซุน

ก้วนซุน หรือ กวนกี มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าหมิ่นฉุน มีชื่อรองว่าโป๋เตี่ยน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นขุนนางในเมืองกิจิ๋ว รับราชการกับฮันฮก เจ้าเมืองกิจิ๋ว ชื่อของก้วนซุนในสำเนียงจีนกลางตามประวัติศาสตร์คือหมิ่นฉุน ส่วนในวรรณกรรมสามก๊กของล่อกวนตง ชื่อของก้วนซุนในสำเนียงจีนกลางเรียกเป็น กวนฉุน (Guan Chun) ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จึงเรียกเป็นก้วนซุน นอกจากนี้ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ยังมีการเรียกชื่อก้วนซุนเป็นกวนกีอีกชื่อหนึ่ง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและก้วนซุน · ดูเพิ่มเติม »

ก๋งเต๋า

ก๋งเต๋า มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กงตู (Gong Du) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพของอ้วนเสี้ยวซึ่งในอดีตเคยเป็นแม่ทัพของ กบฏโพกผ้าเหลือง มาก่อน เมื่อกองทัพกบฏโพกผ้าเหลืองถูกปราบปรามจนราบคาบก๋งเต๋าจึงได้มารับใช้อ้วนเสี้ยวผู้ตรวจการแห่งกิจิ๋วใน ศึกกัวต๋อ ก๋งเต๋าถูกส่งไปช่วย เล่าปี่ ในการโจมตีเมืองยีหลำซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของ โจโฉ และได้ปะทะกับ แฮหัวเอี๋ยน แม่ทัพมากฝีมือของโจโฉแต่สู้กันได้ไม่นานก็ถูกแฮหัวเอี๋ยนสังหารเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและก๋งเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

มอกาย

มอกาย (อังกฤษ: Mao jie; จีน:毛玠) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองตันลิว มณฑลเหอหนาน มีชื่อรองว่า เสี้ยวเซียน เป็นคนสุภาพ รักความเป็นธรรม เข้ารับราชการกับโจโฉพร้อมกับ หมันทองและลิยอย ศึกเซ็กเพ็ก เมื่อโจโฉหลงกลจิวยี่โดยสั่งประหารชัวมอกับเตียวอุ๋น ผู้ชำนาญในการเรือของเกงจิ๋วแล้ว ได้ให้มอกายกับอิกิ๋ม เป็นผู้ฝึกหัดทหารเรือแทน บั้นปลายชีวิต มอกายถูกใส่ร้าย จึงจำใจออกจากราชการกลับไปอยู่ภูมิลำเนาเดิมจนสิ้นชีวิตในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและมอกาย · ดูเพิ่มเติม »

มอซือ

มอซือ หรือ จักรพรรดินีเหมา (Empress Mao; สิ้นพระชนม์ 22 กันยายน 237) พระนามเดิม ไม่ทราบ ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีหมิงเต้า จักรพรรดินีแห่ง วุยก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนพระนางอภิเษกกับ พระเจ้าเว่ยหมิง หรือ พระเจ้าโจยอย จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของวุยก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและมอซือ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเสฉวน

มณฑลเสฉวน หรือ ซื่อชวน หรือชื่อย่อว่า ชวน(川)หรือ สู่(蜀)เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศจีน มีเมืองเอกชื่อเฉิงตู มณฑลเสฉวนอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนตอนบนของแม่น้ำแยงซีเกียง มีพื้นที่ 485,000 ตาราง ก.ม. มีประชากรประมาณ 87,250,000 คน นับเป็นมณฑลที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของจีน ทั้งขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร ความหนาแน่น 180/ก.ม. จีดีพี 655.6 พันล้านเหรินหมินปี้ ต่อประชากร 7,510 ชื่อ "เสฉวน" มีความหมายว่า "แม่น้ำสี่สาย" เพราะมณฑลเสฉวนตั้งอยู่บนพื้นที่ของแม่น้ำ 3 สายมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำแยงซีเกียง, แม่น้ำหลินเจียง, แม่น้ำจินซางเจียง สภาพอากาศเป็นแบบกึ่งร้อนชื้น สภาพโดยทั่วไปจะมีความชื้นในอากาศสูง สภาพอากาศจึงค่อนข้างครึ้มไม่ค่อยมีแสงแดด โดยในรอบสัปดาห์จะมีแสงแดดหรือเห็นพระอาทิตย์เพียงไม่กี่วัน แต่จะมีหมอกปกคลุมเป็นปกติ จนได้รับฉายาว่า "เมืองในหมอก" หรือ "หมาเห่าพระอาทิตย์" และได้รับการกล่าวขานว่า เพราะสภาพอากาศเป็นเช่นนี้ ผู้หญิงในมณฑลเสฉวนมีผิวสวยที่สุดในประเทศจีน ในทางประวัติศาสตร์เคยเป็นราชธานีก๊กสู่ฮั่นของเล่าปี่และขงเบ้งในสมัยสามก๊ก ปลายราชวงศ์ฮั่น ขงเบ้งได้เลือกเอาเสฉวนเป็นราชธานีของก๊กสู่ เพื่อหมายฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและมณฑลเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหลียวหนิง

มณฑลเหลียวหนิง (จีนตัวย่อ: 辽宁省 จีนตัวเต็ม: 遼寧省) ชื่อย่อ เหลียว(辽)ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ทิศตะวันตกติดเหอเป่ย์ เหนือติดจี๋หลิน มองโกเลียใน ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีแม่น้ำยาลู่ว์เจียงกั้นเขตแดนกับประเทศเกาหลีเหนือ ทางใต้เป็นทะเลเหลืองและทะเลป๋อไฮ่ มีเมืองหลวงชื่อ เฉิ่นหยาง มีเนื้อที่ 145,900 ก.ม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและมณฑลเหลียวหนิง · ดูเพิ่มเติม »

ยำก๋ง

ำก๋ง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นนายทหารของกองซุนจ้าน มีบทบาทเมื่อกองซุนจ้านรบกับอ้วนเสี้ยว เพราะอ้วนเสี้ยวฆ่าน้องชายตน กองซุนจ้านให้ยำก๋งนำกองทหารม้าขาวบุกตะลุยเข้าไป แต่พลาดท่ากับซกยี่สมุนขออ้วนเสี้ยวที่ดักรออยู่ สุดท้ายถูกซกยีสังหาร...

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยำก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่กัวต๋อ

ึกกัวต๋อ (官渡之戰, Battle of Guandu) เกิดขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำฮวงโหในปี ค.ศ. 200 เป็นศึกที่โจโฉได้ชัยชนะต่ออ้วนเสี้ยว จุดตัดสินผลการรบของศึกนี้อยู่ที่การลอบโจมตีทัพขนเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่อัวเจ๋า ทำให้ทัพอ้วนเสี้ยวขาดเสบียงและเกิดความระส่ำระสายไปทั้งกองทัพ จากแผนการของเขาฮิว ซึ่งเดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่มาอยู่ข้างโจโฉ เพราะคาดการณ์ว่าอ้วนเสี้ยวต่อไปจะพ่ายแพ้แน่ ทั้ง ๆ ที่เริ่มต้นกองทัพของอ้วนเสี้ยวมีมากกว่าโจโฉถึง 10:1 แต่โจโฉนำทัพอย่างใจเย็นค่อย ๆ รุกคืบ และฝ่ายอ้วนเสี้ยวก็โลเลไม่ยอมทำศึกแตกหัก จึงต้องประสบความพ่ายแพ้ในที่สุด ภายหลังศึกนี้ อ้วนเสี้ยวเสียใจมาก อีกทั้งลูกชาย 2 คน คือ อ้วนซีกับอ้วนถำก็บาดหมางถึงขนาดฆ่ากัน จนต้องกระอักเลือดชีวิตในเวลาต่อมาไม่นาน ศึกนี้นำมาสู่การล่มสลายของตระกูลอ้วน เมื่อบุคคลสำคัญ ๆ ในตระกูลได้ล้มตายหมดสิ้น อีกทั้งเป็นศึกที่โจโฉได้สร้างชื่อเสียงไว้มาก และทำให้ได้ครองอำนาจใหญ่แต่เพียงผู้เดียวในดินแดนภาคเหนือของจีน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโจโฉใช้เวลาทำศึกครั้งนี้นานถึง 7 ปี ในสามก๊ก เริ่มแรกจากที่เล่าปี่ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในพระราชวัง จากที่มีความดีความชอบในการปราบตั๋งโต๊ะและลิโป้ พระองค์ทรงให้ตรวจพงศาวลี พบว่าเล่าปี่สืบสายเชื้อสายมาจากตงสานเชงอ๋องจริง จึงให้ความเคารพเล่าปี่และทรงเรียกเล่าปี่ว่า พระเจ้าอา และเชื้อเชิญให้ไปปรึกษาราชการเป็นการส่วนพระองค์ ทำให้โจโฉเกิดความระแวงในตัวเล่าปี่ อีกทั้งในเวลาเดียวกันนั้น ตังสินร่วมมือกับเกียดเป๋งหมายจะลอบฆ่าโจโฉ แต่ไม่สำเร็จ โจโฉยิ่งเพิ่มความระแวงในตัวผู้ที่อยู่ตรงกันข้าม เล่าปี่จึงตัดสินใจหนีออกจากเมืองไปเข้าร่วมกับอ้วนเสี้ยว เพื่อชักชวนให้ปราบโจโฉ โจโฉได้ทำการฝังศพอ้วนเสี้ยวอย่างสมเกียรติ และได้ซื้อใจราษฎรด้วยการงดภาษีถึง 1 ปี และต่อมาได้ร่างโคลงถึงการรบในครั้งนี้ด้วย ที่เขาจรดทะเลเช่นเดียวกับฮั่นอู่ตี้ อดีตฮ่องเต้ผู้ยิ่งใหญ่ในราชวงศ์ฮั่นเคยกระทำ หลังจากชนะศึกที่นี่เช่นกัน สำหรับฝ่ายเล่าปี่ นี่เป็นศึกอย่างเป็นทางการครั้งแรกที่ทำให้เล่าปี่แตกหักกับฝ่ายโจโฉอย่างสิ้นเชิง ซึ่งนับต่อจากนี้ทั้งคู่จะขับเขี่ยวกันไปตลอ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่กัวต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่หว่านเฉิง

ึกหว่านเฉิง (Battle of Wancheng) สงครามครั้งหนึ่งในสมัย สามก๊ก ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่หว่านเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่หับป๋า

ึกหับป๋า (The Battle of Hefei; ปี ค.ศ. 215) เป็นสงครามที่มีชื่อและมีความสำคัญมากอีกสงครามหนึ่งในสมัยสามก๊ก เป็นการรบกันระหว่างฝ่ายง่อที่มีจำนวนทหารมากกว่าฝ่ายวุยที่รักษาการณ์ที่หับป๋าหลายเท่า แต่กลับเป็นฝ่ายง่อที่พ่ายแพ้และถูกกดดันให้ถอยทัพกลับ ซึ่งถือว่าเป็นศึกที่สำคัญมากต่อฝ่ายวุย เพราะถ้าวุยพลาดเสียหับป๋าให้กับฝ่ายง่อ ก็เท่ากับว่าซุนกวนและกองทัพง่อสามารถเดินทัพอย่างสะดวกเข้าสู่ใจกลางของก๊กวุยและเมืองหลวงได้ ผลจากสงครามครั้งนี้นั้นทำให้ ฝ่ายวุยมั่นคงปลอดภัยที่สามารถรักษาหับป๋าซึ่งเป็นเสมือนประตูสู่ดินแดนวุยได้ ถ้าฝ่ายง่อได้ชัยชนะในครั้งนี้ การที่ซุนกวนจะยกทัพเข้าบุกถึงเมืองหลวงก็มีความเป็นไปได้ เพราะว่าโจโฉได้นำทัพส่วนใหญ่ไปบุกยึดฮันต๋ง เหลือทหารไว้เฝ้าเมืองหลวงไม่มาก อย่างไรก็ดี เรื่องความสามารถของซุนกวนนั้น ในประวัติของเตียวเลี้ยวบอกไว้ว่าซุนกวนเกรงกลัวไม่กล้ามาสู้กับเขา แต่หลาย ๆ บันทึกว่าไว้ว่าซุนกวนนั้นมีความสามารถเรื่องขี่ม้า ยิงธนู กล้าหาญและมีความเป็นนักรบ เสียแต่ว่าซุนกวนไม่มีประวัติความสำเร็จในการนำทัพโจมตีเลย มีเพียงความสามารถในการป้องกันทัพโจโฉจำนวนมากที่บุกมาโจมตีทางปากแม่น้ำยี่สูก่อนหน้าศึกนี้ ซุนกวนนำทัพป้องกันได้เป็นอย่างดี จนโจโฉยังชมเชยว่า ถ้ามีบุตรต้องมีให้ได้อย่างซุนกวน เป็นครั้งสุดท้ายของโจโฉที่บุกง่อก๊กและยิ่งไม่มีโอกาสที่จะกรีฑาทัพบุกง่อก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่หับป๋า · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่อิเหลง

ึกอิเหลง (Battle of Xiaoting) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่อิเหลง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่อ้วนเซีย

ึกอ้วนเซีย (The Battle of Fancheng ปี ค.ศ. 219) เป็นศึกที่มีชื่อเสียงมากอีกศึกหนึ่งในสามก๊ก เป็นสงครามระหว่างจ๊กและวุย ตามด้วยสงครามระหว่างจ๊กและง่อโดยเริ่มจากกวนอูของจ๊กก๊กบุยเมืองห้วนเสียของโจหยิน อาศัยน้ำท่วมหลากชิงล้อมเมืองไว้ แต่ต่อมาโจโฉใช้ซิหลงมาช่วยโจหยิน ในขณะเดียวกันลิบองของง่อก๊กได้วางแผนชิงเมืองเกงจิ๋ว ผลสุดท้าย กวนอูพ่ายแพ้ต่อซิหลง และเมืองเกงจิ๋วถูกลิบองยึดทำให้กวนอูต้องถอยทัพอย่างรวดเร็ว และต้องจบชีวิตในที.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่อ้วนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ผาแดง

แผนที่บริเวณศึก ยุทธการที่ผาแดง หรือ ศึกผาแดง (Battle of Red Cliffs) หรือ ศึกเซ็กเพ็ก หรือ ศึกเปี๊ยะเชียะ หรือ ศึกชื่อปี้ (Battle of Chìbì) เป็นสงครามที่มีความสำคัญที่สุดสงครามหนึ่งในยุคปลายราชวงศ์ฮั่นในรัชสมัยของพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของยุคสามก๊กในประเทศจีนในเวลาต่อมา ศึกผาแดงนี้เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่ผาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ด่านตงก๋วน

ทธการที่ด่านตงก๋วน (Battle of Tong Pass (211)) สงครามในช่วง ยุคสามก๊ก และช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่ด่านตงก๋วน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วน

ทธการที่ด่านแฮบังก๋วน (Battle of Jiameng Pass) สงครามใน ยุคสามก๊ก ที่เป็นความขัดแย้งระหว่าง เล่าปี่ และ เตียวฬ่อ ซึ่งสงครามครั้งนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นของการแบ่งเป็นสามก๊กอย่างชัดเจนในเวลาต่อมา ยุทธการครั้งนี่ไม่ปรากฏว่าอยู่ในจดหมายเหตุสามก๊ก จึงสันนิษฐานกันว่ายุทธการครั้งนี้น่าจะเป็นเพียงเรื่องแต่งเท่านั้น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุทธการที่ด่านแฮบังก๋วน · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่น

แผนที่แสดงอาณาเขตของเหล่าขุนศึกช่วงก่อนสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น สิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น (End of the Han Dynasty) ยุคหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน ที่ดำเนินไประหว่าง..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ยูสิด

ูสิด (Yu She) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลของอ้วนสุด เจ้าเมืองลำหยง ถูกฮัวหยง ขุนพลของตั๋งโต๊ะสังหาร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและยูสิด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty, ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) (37 ปี) เป็นราชวงศ์ที่ทรงอำนาจทางการทหารแต่มีระยะเวลาการปกครองที่ค่อนข้างสั้น สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 581 ภายหลังจากยุคสามก๊ก โดยจักรพรรดิสุยเหวินตี้(หยางเจียน) อดีตแม่ทัพแห่งราชวงศ์โจวเหนือ โดยในรัชกาลของพระองค์ทรงสามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่ราชวงศ์สุยมีอันต้องล่มสลายลงในปี ค.ศ. 617 ในรัชกาลจักรพรรดิสุยหยางตี้(หยางกว่าง) พระราชโอรสองค์รองของสุยเหวินตี้ ฮ่องเต้หยางเจียน ทรงดำเนินนโยบายอย่างแยบยล โดยการหล่อหลอมเอาวัฒนธรรมแต่ละแคว้นเข้าด้วยกัน เพื่อผสมผสานให้แต่ละแคว้นมีความเป็นปึกแผ่น หลังจากที่แตกสลายหลังสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น โดยมีการผสมผสานหลักการของศาสนาพุทธที่หยางเจียนนับถือ เข้ากับลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า แล้วนำมาพัฒนาเป็นการสร้างความมั่นคงให้แก่กฎหมายของราชวงศ์ โดยแม้ต่อมา ราชวงศ์ถังจะสถาปนาขึ้น ก็ยังรับเอาวัฒนธรรมการหล่อหลอมคำสอนศาสนามาใช้ต่อเนื่อง หลังจากนั้น ทรงดำเนินนโยบายให้ขุนนางในราชสำนักรวมไปถึงเชื้อพระวงศ์ได้แต่งงานกับชนเผ่าต่าง ๆ เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรี เพราะโดยพื้นเพเดิมนั้น ทั้งหยางเจียนและพระมเหสี ก็ทรงเป็นตระกูลจีนแท้ผสมกับชนเผ่าเติร์กอยู่แล้ว หยางเจียนทรงดำเนินนโยบาย ขุดคลองต้ายุ่นเหอขนาดมหึมา ยาวกว่า 1,800 กิโลเมตร เชื่อมต่อกรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในจีนซีกเหนือ กับเมืองหางโจว ซึ่งเป็นจีนซีกใต้ เพื่อเป็นการเชื่อมแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง เพื่อผูกขาดเศรษฐกิจของจีนให้เป็นหนึ่งเดียว รวมไปถึง การสร้างยุ้งฉางกักตุนสินค้าขนาดใหญ่โต เพื่อรองรับสินค้าเกือบตลอดแนวคลอง มีการริเริ่มการสอบจอหงวน เป็นครั้งแรก ทั่วราชอาณาจักร เพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถเข้ามารับราชการในตำแหน่งขุนนาง ทำให้แต่เดิม ที่ขุนนางจะมีเพียงแต่ชนชั้นสูงที่สืบทอดสกุลต่อกันมา ทำให้อาจจะมีแต่ตำแหน่งแต่ไร้ความสามารถ จึงได้ผู้ที่มีฝีมือและความรู้อย่างแท้จริง ซ้ำยังทำให้ประชาชนได้มีโอกาสมารับราชการในราชวัง นับว่าเป็นการลดการเหลื่อมล้ำทางสังคมอีกด้วย แต่ต่อมา เมื่อหยางกว่างขึ้นครองราชย์ ทรงประกาศสงครามกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้ทรงขยายพื้นที่ทางด้านตะวันตกได้พอสมควร ซ้ำยังยกทัพไปบุกเกาหลีและแมนจู แต่ไม่ประสบความสำเร็จเพราะด้วยประสบกับความหนาวเหน็บ ซ้ำยังไม่มีการควบคุมทัพที่ดีพอ ทำให้พ่ายศึก ตามพงศาวดารกล่าวไว้ว่า ซึ่งสุยหยางตี้บัญชาให้ยกทัพขนาดมหึมานี้ ถึง 4 ครั้ง ทำให้ราชวงศ์สุย เสียหายอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้ จึงการการก่อจลาจลทั่วทุกหัวระแหง ที่ใหญ่ ๆ มี 3 กลุ่ม อันได้แก่ กองกำลังหวากัง นำโดยใจ๋หยางและหลี่มี่ กองกำลังเจียงไหว นำโดยตู้ฝูเว่ย และกองกำลังเหอเป่ย นำโดยโต้วเจี้ยนเต๋อ รวมไปถึงการก่อกบฏในราชสำนักเองอีกด้วย สุดท้าย สุยหยางตี้ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพระประยูรฐาติของพระองค์ นำโดยอวี้เหวินฮั่วจี๋ ราชวงศ์สุยถึงกาลอาวสาน เมื่อปีพ.ศ. 1161.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและราชวงศ์สุย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่น

มเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่นสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ราชวงศ์ฮั่น (ภาษาจีน: 漢朝 พ.ศ. 337 - พ.ศ. 763) เป็นราชวงศ์จีนที่ปกครองต่อจากราชวงศ์ฉิน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก

มื่อพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ขึ้นครองราชย์แล้ว อำมาตย์หยวนเซ่า (อ้วนเสี้ยว) เริ่มกำจัดขันทีกว่า 2000 คน อันเป็นการกวาดล้างอิทธิพลของขันทีทั้งหมด ต่อมาต่งจัว (ตั๋งโต๊ะ) นำกองทหารบุกโจมตีลั่วหยางและปลงพระชนม์พระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ แล้วยก พระเจ้าฮั่นเซี่ยนตี้ (เหี้ยนเต้) ขึ้นครองราชย์แทน พร้อมกับบีบให้หยวนเซ่าออกจากเมืองหลวง ไม่นานหยวนเซ่ากับพันธมิตรยกทัพมาตีต่งจัว เขาจึงพาจักรพรรดิลี้ภัยไปฉางอาน (เตียงอัน) ต่อมา หลี่ปู้ (ลิโป้) กับพวก วางแผนลอบสังหารต่งจัวสำเร็จ จักรพรรดิจึงเดินทางกลับลั่วหยัง (ลกเอี๋ยง) แต่ถูกนายทัพเฉาเชา (โจโฉ) ย้ายพระองค์ไปอยู่ที่เมืองสี่ชาง (ฮูโต๋) ตั้งแต่บัดนั้นมาเฉาเชาจึงควบคุมและใช้อำนาจบริหารบ้านเมืองในนามจักรพรรดิ ถือเป็นผู้ครองอำนาจสูงสุดแท้จริง ปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและราชวงศ์ฮั่นตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและราชวงศ์จิ้น · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก

ลในยุคสามก๊ก แสดงรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก รายชื่อนี้แสดงชื่อไทย อังกฤษ และจีน ของแต่ละคน บุคคลเหล่านี้นำไปสู่วรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เรื่องสามก๊ก เนื่องจากสามก๊กภาษาไทย อ่านชื่อคนด้วยสำเนียงฮกเกี้ยน แต่ภาษาอังกฤษอ่านแบบภาษาจีนกลาง การออกเสียงจึงไม่เหมือนกัน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ช รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร บ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร พ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ก รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฝ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ภ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ม รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ย รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ว รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ส รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ห รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร อ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฮ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร จ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ถ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ท รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ข รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ค รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ง รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฉ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ซ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ป รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก แสดงรายชื่อของบุคคลที่เป็นตัวละครสมมติที่ปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก รายชื่อประกอบด้วยตัวละครสมมติที่ปรากฏในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊กของล่อกวนตง (คือเป็นตัวละครที่แต่งเสริมขึ้นมา ไม่ปรากฏชื่อในหลักฐานทางประวัติศาสตร์) และชื่อของตัวละครสมมติที่ปรากฏในแหล่งอื่นที่อิงประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ชื่อตัวละครที่ปรากฏในวรรณกรรม สามก๊ก เรียงตามลำดับตามการปรากฏชื่อในวรรณกรรม แบ่งตามตอนที่ปรากฏชื่อครั้งแรก (ในรายชื่อนี้แบ่งตอนของวรรณกรรมสามก๊ก เป็น 120 ตอนตามวรรณกรรมฉบับภาษาจีน ต่างจากสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ที่แบ่งเป็น 87 ตอน).

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายพระนามจักรพรรดินีจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามพระโพธิสัตว์

ระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายานมีดังนี้ พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ พระจันทรประภาโพธิสัตว์ และพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระจุนทีโพธิสัตว์ พระนางตารา พระนาคารชุนะ พระปัทมสัมภวะ พระนางปรัชญาปารมิตา พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ นางวสุธระ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอากาศครรภโพธิสัตว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและรายนามพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก แสดงลำดับเหตุการณ์ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊ก โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) และระบุปีที่เกิดเหตุการณ์เป็นพุทธศักราช (พ.ศ.) เหตุการณ์บางเหตุการณ์อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แต่มีระบุไว้ในวรรรณกรรม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ลิต้าย

ลิต้าย หรือ ลฺหวี่ไต้ (Lü Dai; 161 — 21 ตุลาคม 256) ชื่อรอง ติงกง (Dinggong) ขุนพลแห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ของจีนเขาเริ่มต้นรับราชการในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ภายใต้ขุนศึก ซุนกวน ซึ่งภายหลังเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งง่อก๊กใน ยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและลิต้าย · ดูเพิ่มเติม »

ลิฉุย

ลิฉุย (Li Jue) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นายทหารของตั๋งโต๊ะ มีความทะเยอทะยานสูงไม่แพ้เจ้านาย เมื่อตั๋งโต๊ะถูกลิโป้ฆ่า ลิฉุยได้ร่วมมือกับกุยกี เตียวเจ หวนเตียว จัดตั้งกองทัพบุกยึดอำนาจในเมืองหลวงมาได้ ทำให้ลิโป้ต้องหนีออกมา และกลายเป็นขุนพลเร่ร่อน ส่วนอ้องอุ้นถูกประหาร เมื่อมีอำนาจก็กระทำการหยาบช้าไม่ต่างจากสมัยของตั๋งโต๊ะ ต่อมา เอียวปิวได้ทำให้ลิฉุยกับกุยกีผิดใจกัน แต่ก็ให้เกิดความวุ่นวายขึ้น จนทำให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ต้องย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่ลกเอี๋ยง ต่อมา ลิฉุย กุยกีได้กลับมาร่วมมือกันอีกครั้งหวังปลงพระชนม์ฮ่องเต้ แต่กองทัพของลิฉุย กุยกีก็ถูกโจโฉปราบปรามจนสิ้น ลิฉุย กุยกีหนีรอดมาได้ แต่ก็ถูกตวนอุย งอสิบ ฆ่าตายในเวลาต่อมา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและลิฉุย · ดูเพิ่มเติม »

วุยก๊ก

วุยก๊ก หรือ เฉาเวย (พินอิน: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 - พ.ศ. 808 (ปี ค.ศ. 220-265) วุยก๊กครอบครองพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศจีน ปกครองโดยโจโฉ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นราชวงศ์วุยโดยพระเจ้าโจผีและได้สถาปนาโจโฉเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์วุยอีกพระองค์หนึ่ง วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สวินโถ

วินโถ (Xun Yi, ? — ค.ศ. 274) มีชื่อรองว่า จิงเฉียน เป็นขุนนางแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ในอดีตเคยรับใช้ ราชวงศ์วุย ในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก สวินโถเป็นบุตรชายคนที่ 6 ของ ซุนฮก ที่ปรึกษารุ่นแรกของ โจโฉ ผู้ก่อตั้งวุยก๊กในรัชสมัย พระเจ้าโจฮอง จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์วุยสวินโถได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชครูหรือพระอาจารย์ของพระเจ้าโจฮอง เมื่อสุมาเอี๋ยนได้ปลด พระเจ้าโจฮวน จักรพรรดิองค์ที่ 5 และองคค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์วุยลงจากราชบัลลังก์ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสวินโถ · ดูเพิ่มเติม »

สะโมโข

มโข (Sha Moke) เป็นหัวหน้าชนเผ่าหนึ่งทางตอนใต้ของเกงจิ๋ว ในยุคสามก๊ก เมื่อเล่าปี่ส่งม้าเลี้ยงไปพัฒนา 4 หัวเมืองทางตอนใต้ของเกงจิ๋ว ซึ่งในบริเวณนั้นมีชนเผ่าของสะโมโขอยู่ ม้าเลี้ยงได้ส่งเสบียงไปให้ชนเผ่าของสะโมโข สะโมโขเห็นว่าม้าเลี้ยงมีความสามารถอีกทั้งมีเมตตากรุณา จึงยอมสวามิภักดิ์ต่อเล่าปี่ และได้ส่งเสบียงคืนอีกด้วย ต่อมา พระเจ้าเล่าปี่ยาตราทัพบุกกังตั๋ง เพื่อแก้แค้นให้กวนอูที่ถูกฆ่าตาย พระเจ้าเล่าปี่ให้ม้าเลี้ยงไปขอทหารของสะโมโขซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าเมืองลำมันมาช่วย สะโมโขตอบตกลง แล้วร่วมทัพกับพระเจ้าเล่าปี่ ในศึกครั้งนั้นสะโมโขยิงเกาทัณฑ์ถูกกำเหลงบาดเจ็บ และเสียชีวิตในเวลาต่อมา พระเจ้าเล่าปี่ได้ชัยในตอนต้นศึก แต่เมื่อลกซุนได้มาคุมทัพกังตั๋งรบกับพระเจ้าเล่าปี่ ก็สามารถชนะกองทหารที่มีเป็นจำนวนมากของพระเจ้าเล่าปี่ได้ ส่วนสะโมโขก็ถูกจิวท่ายสังหารในการร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสะโมโข · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (แก้ความกำกวม)

มก๊ก สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสามก๊ก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก ตอน โจโฉ มหาอุปราชผู้หวังครองแผ่นดิน

มก๊ก ตอน โจโฉ มหาอุปราชผู้หวังครองแผ่นดิน เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสามก๊ก ตอน โจโฉ มหาอุปราชผู้หวังครองแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สิบขันที

ันที หรือ สิบเสียงสี (Ten Attendants) เป็นกลุ่มของขุนนางขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ (ฮั่นหลิงตี้ ครองราชย์ ค.ศ. 168 - ค.ศ. 189) แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของประเทศจีน แม้ว่าจะถูกเรียกว่าเป็นกลุ่มของคน 10 คน แต่จริงๆแล้วกลุ่มสิบขันทีประกอบด้วยขันทีจำนวน 12 คน และทุกคนดำรงตำแหน่งจงฉางชื่อ (中常侍; "ขันทีส่วนกลาง") ในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ ขันทีทั้ง 12 คนได้แก่ เตียวเหยียง (張讓 จางร่าง), เตียวต๋ง (趙忠 เจ้าจง), เห้หุย (夏惲 เซี่ยยฺหวิน), ก๊กเสง (郭勝 กัวเซิ่ง), ซุนจาง (孫璋), ปี้หลัน (畢嵐), ลี่ซง (栗嵩), ต๋วนกุย (段珪 ตฺวั้นกุย), เกาว่าง (高望), จางกง (張恭), หันคุย (韓悝) และซ่งเตี่ยน (宋典) (張讓者,潁川人;趙忠者,安平人也。... 是時讓、忠及夏惲、郭勝、孫璋、畢嵐、栗嵩、段珪、高望、張恭、韓悝、宋典十二人,皆為中常侍,...) โฮ่วฮันชู เล่มที่ 78.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสิบขันที · ดูเพิ่มเติม »

สิบเกง

กง (Gong Jing) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กเจ้าเมืองเฉงจิ๋ว เมื่อโจรโพกผ้าเหลืองยกทัพมาล้อมเมืองเฉงจิ๋ว สิบเกงได้ส่งสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากเล่าเอี๋ยน เจ้าเมืองอิวจิ๋ว เล่าเอี๋ยนได้ให้เล่าปี่และเจาเจ้งนำทัพห้าพันนายไปช่วยสิบเกงปราบโจรโพกผ้าเหลืองได้สำเร็.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสิบเกง · ดูเพิ่มเติม »

สิมโพย

มโพย (Shen Pei) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของอ้วนเสี้ยว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสิมโพย · ดูเพิ่มเติม »

สุมาหู

มาหู หรือ ซือหม่าฝู ในภาษาจีนกลาง (Sima Fu; 180 — 3 เมษายน 272) พระนามรอง ชูต๋า (Shuda) องค์ชายและรัฐบุรุษแห่ง ราชวงศ์จิ้น ซึ่งก่อนหน้านั้นพระองค์รับราชการเป็นขุนนางแห่ง วุยก๊ก ก่อนที่พระนัดดาของพระองค์ สุมาเอี๋ยน (จักรพรรดิจิ้นหวู่) จะโค่นล้มวุยก๊กใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสุมาหู · ดูเพิ่มเติม »

สุมาอี้

มาอี้ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ ซือหม่าอี้ ตามสำเนียงกลาง (司马懿; Sima Yi; ค.ศ. 179-251) นายทหารคนสำคัญของวุยก๊ก หลังยุคที่โจโฉสิ้นไปแล้ว เป็นคู่ปรับที่สำคัญของขงเบ้ง และเป็นผู้ที่วางรากฐานให้กับทายาทผู้สืบทอดตระกูลจนได้รวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียว กลายเป็นพระจักรพรรดิ์องค์ใหม่ และก่อตั้งราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์จิ้น อันเป็นการสิ้นสุดยุคสามก๊กที่ดำเนินมานานถึง 111 ปี สามชั่วอายุคน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสุมาอี้ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานโจโฉ

ทางเข้าหลุมศพหมายเลข 2 สุสานหลวงของโจโฉ (Cao Cao Mausoleum) สุสานที่ฝังศพของ โจโฉ ขุนศึกผู้มีชื่อเสียงช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และเป็นผู้ก่อตั้ง วุยก๊ก แห่ง ยุคสามก๊ก สุสานหลวงแห่งนี้ได้ถูกค้นพบโดยบังเอิญโดยช่างทำอิฐคนหนึ่งใน มณฑลเหอหนาน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสุสานโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี่ชาง

วี่ชาง เป็นนครระดับจังหวัด (地级市; prefecture-level city) ในใจกลางมณฑลเหอหนาน ภาคกลางของประเทศจีน ด้านตะวันตกเฉียงเหนือติดกับนครเจิ้งโจว (郑州) เมืองเอกของมณฑลเหอหนาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับนครไคเฟิง (开封) ด้านตะวันออกติดกับนครโจวโข่ว (周口) ด้านตะวันออกเฉียงใต้ติดกับนครลั่วเหอ (漯河) และด้านตะวันตกเฉียงใต้ติดกับนครผิงติ่งชาน (平顶山) นครสฺวี่ชาง สมัยสามก๊ก มีชื่อว่า สฺวี่ตู หรือ ฮูโต๋ ในสำเนียงฮกเกี้ยน (許都) แปลว่า นครสฺวี่/ฮู ปัจจุบัน มีประชากร 4,307,488 คน ตามสำมะโนครัว..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสฺวี่ชาง · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดพธู

ี่ยอดพธู (Four Beauties) เป็นคำเรียกสตรีสี่คนที่ได้ชื่อว่างดงามที่สุดในประวัติศาสตร์จีนโบราณ โดยทั้งสี่คนนี้มีบทบาทสำคัญที่ทำให้สถานการณ์บ้านเมืองพลิกผันถึงขั้นล่มสลายของอาณาจักรหรือเป็นจุดเปลี่ยนของประวัติศาสตร์ คำโคลงจีนที่ใช้เรียกสตรีทั้งสี่นี้ได้แก่ "沉鱼落雁,闭月羞花" ถาวร สิกขโกศล แปลเป็นไทยว่า รายชื่อนามสตรีทั้งสี่ เรียงตามช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ดังนี้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและสี่ยอดพธู · ดูเพิ่มเติม »

หมั่นโถว

หมั่นโถวสีขาว หมั่นโถว เป็นซาลาเปาที่ไม่มีไส้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและหมั่นโถว · ดูเพิ่มเติม »

หวนจง

หวนจง (Huang Chong, ? — ค.ศ. 263) ขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก หวนจงเป็นบุตรชายของ อุยก๋วน อดีตขุนนางของจ๊กก๊กที่ได้ไปรับใช้ วุยก๊ก แต่ยังมีความจงรักภักดีต่อจ๊กก๊กซึ่งหวนจงมีบทบาทสำคัญในช่วงวาระสุดท้ายของจ๊กก๊กเมื่อเขาและ จูกัดเจี๋ยม บุตรชายของ จูกัดเหลียง อดีตอัครมหาเสนาบดีคนแรกแห่งจ๊กก๊กได้ยกทัพไปต้านทานการบุกโจมตีของวุยก๊กที่ด่านกิมก๊กหรือเหมียนจู่แต่ต้านทานไม่ไหวถูกฆ่าตายพร้อมกับจูกัดเจี๋ยมที่เชือดคอตัวเองตายเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและหวนจง · ดูเพิ่มเติม »

หวนเตียว

หวนเตียว (Fan Chou) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นขุนพลคนสนิทคนหนึ่งของตั๋งโต๊ะ หลังจากตั๋งโต๊ะเสียชีวิต หวนเตียวร่วมมือกับลิฉุย กุยกี และเตียวเจ เข้ายึดเมืองเตียงฮันและประหารอ้องอุ้น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและหวนเตียว · ดูเพิ่มเติม »

หุยง่วนเสียว

หุยง่วนเสียว (Pei Yuanshao,?-200) เป็นบุคคลใน ยุคสามก๊ก หุยง่วนเสียว แต่เดิมเป็นขุนพลของ โจรโพกผ้าเหลือง หลังจากโจรโพกผ้าเหลืองสลายตัวไปได้เป็นโจรป่าอยู่ที่ เขาโงจิวสัน หุยง่วนเสียว ถูกฆ่าโดย จูล่ง เมื่อปี ค.ศ. 200 ระหว่างจะเข้าปล้นทรัพย์ หมวดหมู่:สามก๊ก en:Pei Yuanshao.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและหุยง่วนเสียว · ดูเพิ่มเติม »

หงสาจอมราชันย์

หงสาจอมราชันย์ เป็นการ์ตูนจีนที่สร้างสรรค์โดยเฉินเหมา นักเขียนชาวฮ่องกง เรื่องราวหยิบยกเอาเหตุการณ์ใน สามก๊ก จากทั้งวรรณกรรมและพงศาวดารมาเป็นโครงเรื่อง โดยมีตัวละครเอกคือสุมาอี้ และ จูล่ง โครงเรื่องหลักอ้างอิงเนื้อเรื่องจากประวัติศาสตร์วรรณคดีสามก๊ก ฉบับหลอ กว้านจง ซึ่งตัวละครและเหตุการณ์ต่างๆปรากฏขึ้นตามวรรณกรรมไม่ผิดเพี้ยน หากแต่มีการตีความเหตุการณ์ต่างๆ ในรูปแบบอื่น และแต่งเติมเรื่องราวรายละเอียดเข้าไปใหม่ คล้ายกับเป็นเบื้องลึกเบื้องหลังของวรรณกรรม หรือช่องว่างที่ขาดหายไปจากประวัติศาสตร์ ที่มีความซับซ้อนกว่าการบันทึกดั้งเดิม ตัวอย่างเช่น การนำ สุมาอี้ หรือ ลกซุน ที่โดดเด่นในช่วงท้ายยุคสามก๊ก แต่กลับไม่ค่อยมีบันทึกประวัติในวัยเยาว์ มาใส่บทบาทในเหตุการณ์ต่างๆ การให้บทของ เตียวเสี้ยน เป็นมือสังหารอาชีพที่เชี่ยวชาญการใช้ธนูและการล่อลวงด้วยความงาม หรือการตีความขุนพลที่โด่งดังในความบ้าบิ่น เช่น ลิโป้ และ เตียวหุย ว่าแท้จริงมีปัญญาหลักแหลม การเพิ่มบทบาทของ จูล่ง และ ม้าเฉียว ที่ไร้บทบาทในบันทึกประวัติศาสตร์บ่อยครั้ง ว่าแท้จริงเป็นผู้ที่ไปกระทำการต่างๆเบื้องหลัง เช่นเป็นมือสังหารหรือสายลับ ปัจจุบันนอกจากฮ่องกงกับไต้หวันแล้ว หงสาจอมราชันย์ ยังถูกซื้อลิขสิทธิ์ไปตีพิมพ์ในหลาย ๆ ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม สิงคโปร์ และ ไท.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและหงสาจอมราชันย์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าทหารเสือ

รูปปั้น 5 ทหารเสือในเมืองเฉิงตู ประเทศจีน ห้าทหารเสือ หรือ ห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊ก หรือห้าขุนพลพยัคฆ์ ในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ห้าทหารเสือเป็นตำแหน่งเรียกขานขุนศึกผู้มีฝีมือเก่งกาจ เป็นที่เลื่องลือกล่าวขานทั่วทั้งแผ่นดินจำนวน 5 คนของพระเจ้าเล่าปี่ในสมัยยุคสามก๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นทหารเสือที่เอก ภายหลังจากเล่าปี่ครองเมืองเสฉวนและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระเจ้าฮันต๋งแห่งแคว๊นจ๊ก ห้าทหารเสือที่ได้รับการแต่งตั้งได้แก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและห้าทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าทหารเสือแห่งวุยก๊ก

ห้าทหารเสือแห่งวุยก๊ก(อังกฤษ:Five Wei Generals) ในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ห้าทหารเสือเป็นตำแหน่งเรียกขานขุนศึกผู้มีฝีมือเก่งกาจ เป็นที่เลื่องลือกล่าวขานทั่วทั้งแผ่นดินจำนวน 5 คนของโจโฉในสมัยยุคสามก๊ก ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นทหารเสือที่เอกภายหลังจากโจโฉสถาปนาตนเองขึ้นเป็นวุยอ๋องแห่งวุยก๊ก ห้าทหารเสือที่ได้รับการแต่งตั้งได้แก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและห้าทหารเสือแห่งวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

อองฮู

อองฮู (Wang Fu, ? – พ.ศ. 765) ชื่อรอง กัวฉาน (Guoshan) ขุนนางแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก อองฮูถึงแก่กรรมเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอองฮู · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอน่านพี

อำเภอน่านพี (Nanpi County) หรือในวรรณกรรมสามก๊กเรียก เงียบกุ๋น อำเภอใน มณฑลเหอเป่ย์ ภายใต้การปกครองของ เมืองคังโจว ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอำเภอน่านพี · ดูเพิ่มเติม »

อุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง

อุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง (Incident at Gaoping Tombs) ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นใน วุยก๊ก ช่วงปลาย ยุคสามก๊ก เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง · ดูเพิ่มเติม »

อุยกาย

อุยกาย (ตามสำเนียงฮกเกี้ยน) หรือ หวงก้าย (ตามสำเนียงจีนกลาง) (Huang Gai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งง่อก๊ก ชื่อรอง กงฟู่ รับใช้ตระกูลซุนถึง 3 สมัย ตั้งแต่สมัยของซุนเกี๋ยนแต่ครั้งศึกโจรโพกผ้าเหลือง ซุนเซ็กในสมัยศึกปราบตั๋งโต๊ะและศึกปราบลิโป้ และซุนกวนในศึกเซ็กเพ็ก จนได้ชื่อว่า "แม่ทัพสามแผ่นดิน".

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอุยกาย · ดูเพิ่มเติม »

อุยเอี๋ยน

อุยเอี๋ยน (Wei Yan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งจ๊กก๊กรูปร่างสูงใหญ่ ชื่อรองบุ้นเตีย ใช้ง้าวคู่เป็นอาวุธ ปรากฏบทบาทครั้งแรกที่เมืองเกงจิ๋ว เมื่อเล่าปี่ได้อพยพราษฎรจากซินเอี๋ยและอ้วนเสียข้ามน้ำมาจากการตามล่าของโจโฉขอให้ชาวบ้านอยู่ในเมืองด้วย พวกทหารและเสนาธิการจะแยกไปทันที แต่ชัวมอที่บังคับเล่าจ๋องอยู่ไม่ยอมเปิดประตูให้ อุยเอี๋ยนซึ่งเป็นทหารเกงจิ๋วกลับนำทหารส่วนหนึ่งมาเปิดประตูให้เล่าปี่ยกเข้าเมือง แต่บุนเพ่งแม่ทัพคนหนึ่งของเกงจิ๋วได้ออกมาขัดขวาง พร้อมด่าว่า เจ้าจะเป็นกบฏหรือ อุยเอี๋ยนกับบุนเพ่งจึงได้สู้กัน เล่าปี่อนาถใจที่เห็นทั้งคู่มาสู้กันเอง จึงยกทัพแยกไป.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอุยเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

องโยย (ราชวงศ์จิ้น)

องโยย หรือ หฺวังจุน ในภาษาจีนกลาง (Wang Jun; 206 — 28 มกราคม 286) ชื่อรอง ซื่อจื้อ (Shizhi) ขุนพลผู้มีชีวิตอยู่ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก และช่วงต้น ราชวงศ์จิ้น หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์จิ้น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์จิ้นตะวันตก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและองโยย (ราชวงศ์จิ้น) · ดูเพิ่มเติม »

อ้วนสุด

อ้วนสุด (Yuan Shu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก น้องชายของอ้วนเสี้ยว อ้วนสุดเป็นคนที่นิสัยเหมือนกับอ้วนเสี้ยวญาติผู้พี่ คือ โลเลเหลาะแหละ ชอบแต่คนประจบสอพลอ ซ้ำยังมีความละโมบโลภมากกว่า เมื่อซุนเซ็กนำตราหยกมาจำนำเพื่อยืมทหาร จึงยึดเป็นของตนเอง ก่อนจะสถาปนาตนเป็นฮ่องเต้ ทรงพระนามว่า "ต๋องซือ" ในการปราบตั๋งโต๊ะร่วมกับหลายเมือง อ้วนสุดเกรงว่าซุนเกี๋ยนจะนำทัพเข้าตีเข้าเมืองลกเอี๋ยงได้ จะได้ความดีความชอบ จึงแกล้งไม่ส่งเสบียงให้ เป็นต้นเหตุให้กองทัพของเมืองเตียงสาต้องแพ้ ทั้ง ๆ ที่กำลังจะได้ชัยชนะอยู่แล้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอ้วนสุด · ดูเพิ่มเติม »

อ้วนถำ

อ้วนถำ Yuan Tan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บุตรชายคนโตของอ้วนเสี้ยว มีฉายาว่า เสียนซือ บิดาให้ไปกินเมืองเซียงจิ๋ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอ้วนถำ · ดูเพิ่มเติม »

อ้วนซง

อ้วนซง Yuan Shang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บุตรคนสุดท้องของอ้วนเสี้ยว เกิดจากนางเล่าซือภรรยาน้อย มีฉายาว่า เสี่ยนฟุ่ อ้วนเสี้ยวรักมาก อยากให้ครองแคว้นกิจิ๋วแทนตน รูปร่างหน้าตาสง่างาม กล้าหาญในการสงคราม แต่ไม่รู้จักพลิกแพลงตัวเองให้เหมาะสมกับกาลเท.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอ้วนซง · ดูเพิ่มเติม »

อ้วนเสี้ยว

อ้วนเสี้ยว (Yuan Shao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก มีบทบาทในช่วงต้นเรื่อง ด้วยเป็นผู้นำก๊กที่มีกองกำลังใหญ่ที่สุด เข้มแข็งที่สุด แต่ท้ายสุดก็ต้องมาล่มสลายเพราะความไม่เอาไหนของตน อ้วนเสี้ยวเคยเป็นทหารติดตาม ที่มีความศรัทธาในตัวของแม่ทัพโฮจิ๋น ผู้เคยมีอาชีพขายเนื้อในเมือง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอ้วนเสี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

อ้องอุ้น

หวัง ยฺหวิ่น ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ อ้องอุ้น ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 137–192) ชื่อรองว่า จื่อชือ (子师) เป็นข้าราชการชาวจีนปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ดำรงตำแหน่งอุปราช (司徒) ในรัชกาลพระเจ้าหลิว เสีย (劉協) หรือหองจูเหียบ เข้าสู่อำนาจโดยวางแผนให้ขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) สังหารอุปราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) แต่ในไม่ช้า ผู้ใต้บัญชาของต่ง จั๋ว ก็ก่อการกำเริบ เป็นผลให้หวัง ยฺหวิ่น ถูกประหารพร้อมครอบครัว ในนวนิยายเรื่อง สามก๊ก (三國演義) หวัง ยฺหวิ่น เป็นบิดาบุญธรรมของตัวละครหญิงชื่อ เตียวฉัน/เตียวเสียน (貂蟬) ซึ่งเขาใช้ไปยุแยงให้ลฺหวี่ ปู้ และต่ง จั๋ว บาดหมางกัน จนลฺหวี่ ปู้ สังหารต่ง จั๋ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและอ้องอุ้น · ดูเพิ่มเติม »

ฮกเฮา

ระนางฮกเฮา (Empress Fu Shou) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ทรงเป็นสมเด็จพระอัครมเหสี(ฮองเฮา)ในพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ และทรงธิดาของฮกอ้วน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮกเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ฮวนห้อม

ฮวนห้อม หรือ หฺวานฟ่าน (Huan Fan; ถึงแก่กรรม 9 กุมภาพันธ์ 249) ชื่อรอง ยฺเหวียนเจ๋อ (Yuanze) ขุนนางและขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮวนห้อม · ดูเพิ่มเติม »

ฮองกี๋

องกี๋ หรือ ห้องกี (อังกฤษ: Feng Ji, จีนตัวเต็ม: 逢紀, จีนตัวย่อ: 逢纪, ?-ค.ศ.202) เดิมเป็นเสนาธิการของอ้วนเสี้ยว หลังจากอ้วนเสี้ยวถึงแก่กรรม ฮองกี๋จึงรับใช้อ้วนซงบุตรชายของอ้วนเสี้ยวต่อม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮองกี๋ · ดูเพิ่มเติม »

ฮองฮูสง

องฮูสง (Huangfu Song) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก เป็น 1 ใน 3 แม่ทัพใหญ่ซึ่งมีหน้าที่ในการปราบปรามโจรโพกผ้าเหลือง อันได้แก่ โลติด ฮองฮูสง จูฮี เป็นผู้ที่ปราบทัพ เตียวเหลียง เตียวโป้ ด้วยการใช้ไฟ หลังจาก เตียวก๊ก ตายก็ยังทำลายสุสานและขโมยหัวเตียวก๊กออกมาจากศพ หลังเสร็จศึกปราบโจรโพกผ้าเหลือง ฮองฮูสงก็ได้รับยศเป็นแม่ทัพบัญชาการกลาง ต่อมาเหล่าสิบขันทีได้เรียกให้จ่ายสินบน แต่ฮองฮูสงกลับปฏิเสธ เหล่าสิบขันทีก็ได้ฮองฮูสงปลดจากตำแหน่งลง รูปฮองฮูสงจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮองฮูสง · ดูเพิ่มเติม »

ฮองตง

องตง Huang Zhong; เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพแห่งจ๊กก๊ก ฉายา ฮั่นสินแห่งหนานหยาง เป็นชาวเมืองหนานหยาง (บ้านเดียวกับขงเบ้ง) เชี่ยวชาญในการใช้ง้าวและเกาทัณฑ์ เป็นผู้ที่มีคุณธรรม เป็น 1 ใน 5 ทหารเสือของจ๊กก๊ก โดยฮองตงเป็นคนที่ 4 เดิมเป็นขุนพลที่รักษาเมืองเตียงสา ของเล่าเปียว เมื่อออกรบเคยพลาดท่าในสนามรบ และกวนอูไว้ชีวิต ในการต่อสู้ครั้งต่อมา จึงจงใจยิงเกาทัณฑ์พลาด เป็นการทดแทนบุญคุณกลับคืน แต่เจ้าเมืองเตียงสาเข้าใจว่า ฮองตงเอาใจข้างข้างฝ่ายเล่าปี่ จึงกล่าวหาว่าฮองตงเป็นกบฏ เมื่อเล่าปี่เข้าเมืองเตียงสาได้แล้ว ได้ไปพบฮองตงที่บ้านพัก พบฮองตงนอนเมาอยู่ด้วยความเสียใจที่ไม่สามารถรักษาเมืองได้ เล่าปี่ กวนอู และเตียวหุยทำการคาราวะฮองตงว่า เป็นนักรบที่มีฝีมือและคุณธรรมอย่างแท้จริง พร้อมเกลี้ยกล่อมให้มาเข้าร่วมด้วย ฮองตงจึงเข้าร่วมกับเล่าปี่เมื่ออายุได้ 60 ปี และได้เป็น 1 ใน 5 ทหารเสือของจ๊กก๊ก ฮองตงสร้างผลงานอีกครั้ง เมื่อแฮหัวเอี๋ยนยกทัพมา ขงเบ้งแสร้งพูดยั่ว โดยกล่าวว่าฮองตงแก่ชราแล้ว คงจะไม่มีเรี่ยวแรง ฮองตงจึงเกิดมานะ แสดงพละกำลังด้วยการหักคันธนูและรำง้าวให้ดู ฮองตงหนีไปตั้งหลักที่ยอดเขาเตงกุนสัน เพื่อให้แฮหัวเอี๋ยนที่อยู่ริมเขาตะโกนท้าทายให้ลงมาสู้ แต่ฮองตงก็ไม่ยอมสู้ เพราะการที่ฮองตงไม่ลงมาโจมตีนั้นเพราะหวดเจ้งยังไม่ยกธงแดง เมื่อยกธงแดงจึงฉวยโอกาสโจมตีในตอนที่แฮหัวเอี๋ยนอ่อนล้าเองในเวลาบ่าย ทหารทุกคนกำลังนอนหลับ ฮองตงจึงได้บุกลงมาจากเขา ในขณะที่แฮหัวเอี๋ยนกำลังใส่ชุดเกราะ ฮองตงขี่ม้าประชิดตัวและยกง้าวฟันลำตัวขาดทันที ฮองตงเสียชีวิต ณ ค่ายทหารฝ่ายจ๊กก๊ก หลังจากถูกยิงด้วยเกาทัณฑ์ของทหารฝ่าย ง่อก๊ก เข้าซอกคอ ครั้งเล่าปี่ยกทัพไปรบเพื่อล้างแค้นให้กวนอูในศึกอิเหลง เมื่ออายุได้ 75 ปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮองตง · ดูเพิ่มเติม »

ฮัวหยง (สามก๊ก)

รูปฮัวหยงจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI ฮัวหยง (Hua Xiong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลคนสำคัญของตั๋งโต๊ะ มีฝีมือรองจากลิโป้ เป็นชาวเมืองกวนซี ไหล่เรียวคล้ายลิง หน้าคล้ายเสือดาว สูง 6 ศอกเศษ เป็นผู้ต้านทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองที่ด่านกิสุยก๋วน สามารถสังหารขุนพลได้หลายคน และทำให้กองทัพซุนเกี๋ยนแตกกระเจิง แต่ฮัวหยงกลับถูกสังหารโดยกวนอูในชั่วเวลาที่สุรายังไม่หายอุ่น ในประวัติศาสตร์ฮัวหยงได้ถูกกวนอูฆ่าตายระหว่างทำศึกกับซุนเกี๋ยน ส่วนในวรรณกรรมฮัวหยงตีทัพซุนเกี๋ยนแตกโดยไม่ทันได้ตั้งตัว แล้วนำทัพไปค่ายของอ้วนเสี้ยว สังหารขุนพลฝ่ายพันธมิตรไปหลายคน และสุดท้ายถูกกวนอูสังหาร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮัวหยง (สามก๊ก) · ดูเพิ่มเติม »

ฮัวหิม

ัวหิม (Hua Xin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นคนมีควมรู้ความสามารถในการปกครอง แต่มีนิสัยทะเยอทะยาน ประจบสอพลอ แต่เดิมรับราชการอยู่กับซุนเซ็ก แต่ต่อมาก็มาเข้ากับโจโฉ ในวรรณกรรมเป็นผู้บีบบังคับให้พระเจ้าเหี้ยนเต้สละราชสมบัติให้โจผี แต่ในประว้ติศาสตร์หาได้เป็นเช่นนั้นไม่ รูปฮัวหิมจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮัวหิม · ดูเพิ่มเติม »

ฮัวโต๋

ัวโต๋ (Hua Tuo) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวตำบลเจากุ๋น เมืองไพก๊ก มณฑลเจียงซู มีชื่อรองว่าเหยียนหัวะ มีอาชีพเป็นหมอ ฮัวโต๋เป็นผู้ที่มีฝีมือในด้านการรักษาโรคอันยอดเยี่ยม วิธีการรักษาคนไข้ด้วยการให้กินยาและผ่าตั.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮัวโต๋ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันฮก

ันฮก (Han Fu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองอิ่งชวน (เองฉวน) มณฑลเหอหนาน มีฉายาว่าอุ๋นเจ๋ย์ เป็นคนขี้ขลาด ไม่กล้าทำงานใหญ่ๆ ติดสินบนตั๋งโต๊ะจึงได้ครองแคว้นกิจิ๋ว ครั้นหัวเมืองต่างได้ยกทัพมาปราบตั๋งโต๊ะ ณ เมื่อทำการไม่สำเร็จ ก็ถอยทัพกลับ เพราะอ้วนเสี้ยวรู้กำพืดของฮันฮกดี จึงสมคบกับกองซุนจ้าน เจ้าเมืองปักเป๋งจะเข้ามาแย่งเอาแคว้นกิจิ๋ว กองซุนจ้านตกลงด้วย อ้วนเสี้ยวจึงมีจดหมายบอกให้ฮันฮกเป็นเชิงแจ้งให้รู้ว่า กองซุนจ้านปรึกษาจะยกทัพมาตีกิจิ๋ว ฮันฮกตกใจ รีบเชิญอ้วนเสี้ยวเข้ามาอารักขาแคว้นกิจิ๋วทันที อ้วนเสี้ยวก็ได้แคว้นกิจิ๋วโดยไม่ต้องเสียเลือด ส่วนฮันฮกรีบหนีเอาตัวรอดไปอยู่เมืองตันลิว และเป็นทุกข์กระวนกระวายใจ กลัวคนนั้นจะทำราย คนนี้จะทำร้าย ในที่สุดเลยต้องฆ่าตัวตาย รูปฮันฮกจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮันฮก · ดูเพิ่มเติม »

ฮันต๋ง

ันต๋ง (Han Dang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งง่อก๊ก รับใช้ตระกูลซุนตั้งแต่รุ่นซุนเกี๋ยน ซุนเซ็ก ถึงซุนกวน เข้ารับราชการกับซุนเกี๋ยนในเวลาไล่เลี่ยกับเทียเภาและอุยกาย มีความสามารถในการรบ ทำศึกมีความชอบหลายครั้ง รวมถึงการมีบทบาทในศึกผาแดงอีกด้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮันต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮันโฮ

ันโฮ (Han Hao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลของโจโฉ และเป็นน้องชายของฮันเหียนเจ้าเมืองเตียงสา ปรากฏตัวในสามก๊กครั้งแรกในศึกทุ่งพกบ๋องภายหลังถูกเรียกให้ไปช่วย เตียวคับ สู้กับฮองตงพร้อมกับ แฮหัวซงลูกบุญธรรมของ แฮหัวเอี๋ยน และได้ท้าสู้กับ ฮองตง แต่พลาดท่าถูกสังหาร...

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮันโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันเหียน

ันเหียน (Han Xuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเตียงสาและเป็นเจ้านายของฮองตงและอุยเอี๋ยนก่อนที่ทั้งสองจะมาสวามิภักดิ์ต่อเล่าปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮันเหียน · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่วอี้

ว้อเก๋อ (Huo Yi; ? — ?, หลัง ค.ศ. 271) ชื่อรอง เช่าเซียน (Shaoxian) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก พ่อของเขา งักจุ้น รับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กตั้งแต่ก่อนสถาปนาจ๊กก๊ก เมื่อจ๊กก๊กถูกพิชิตโดย วุยก๊ก ในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮั่วอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่นจง

ั่นจง (Hanzhong) หรือในสามก๊กเรียก ฮันต๋ง เทศมณฑลที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ มณฑลส่านซี ในประเทศจีน เมืองฮั่นจงหรือฮันต๋งก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800 ปีก่อนคริสตกาลและเริ่มมีบทบาทในช่วงปลาย ราชวงศ์ฉิน ราว 206 ปีก่อนคริสตกาลหรือประมาณ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและฮั่นจง · ดูเพิ่มเติม »

ผานกู่

วาดผานกู่ ผานกู่ (Pangu;; หมายถึง "แผ่นโลกโบราณ") คือสิ่งมีชีวิตชนิดแรกสุดของโลก เป็นผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง ตามความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน ลองพิจารณาดู ทฤษฎีสัมพันธภาพ บางส่วนช่างสอดคล้อง กำเนิดจักรวาลของจีนเมื่อหลายพันปีก่อน โลกเป็นเปลือกไข่ (โลกกลม) ในเปลือกไข่มีเทพเจ้าผานกู่ โลกกับฟ้าขยายด้วออกไปจากโลกอย่างช้าๆ (ฟ้า คือบรรยากาศโลก) ต่อมาเทพเจ้าผานกู่ ดึงฟ้าไม่ให้เคลื่อนจากโลก เป็นเวลา 1.8 หมื่นปี (แรงดึงดูดของโลก/แรงดึงดูดของเทพเจ้าผานกู่) เมื่อเทพเจ้าผานกู่ตายไป ส่วนต่างๆของร่างกาย น้ำ ไขสันหลัง กลายเป็นดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวนพเคราะห์ พืช ฯลฯ (ทางช้างเผือก) นั่นคือโลก และจักรวาล มีจุดกำเนิด เป็นทรงกลมคล้ายเปลือกไข่ (ตามกฎแห่งอี้จิ้ง สรรพสิ่งย่อมมีคู่ต่าง) ฟ้าเคลื่อนออก-เทพเจ้าผานกู่ดึงเข้า แข็ง(ดินสู่พื้น/น้ำลงต่ำกว่าพื้น)-อ่อน(บรรยากาศก้อนเมฆลอยสู่ฟ้า) ส่วนต่างๆของร่างกาย น้ำ ไขสันหลัง กลายเป็นดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวนพเคราะห์ พืช ฯลฯ (ทางช้างเผือก) โลกกับฟ้าขยายด้วออกไปจากโลกอย่างช้าๆ นั่นคือ ฟ้าและส่วนต่างๆของร่างกายของเทพเจ้าผานกู่ กำลังขยายตัว เป็นไปตามทฤษฎีสัมพันธภาพๆ อาจจะได้แรงบันดาลใจจากการมาเยือนจีน,ญี่ปุ่นของไอน์สไตน์ นี่คือข้อสันนิษฐาน ซึ่งอาจจริงหรือไม่จริงก็ได้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและผานกู่ · ดูเพิ่มเติม »

จวนจ๋อง

วนจ๋อง (Quan Cong,; 198 — 247 หรือ 249) ชื่อรอง จื่อหฺวัง (Zhihuang) ขุนศึกแห่ง ง่อก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนเขาเป็นพระราชบุตรเขยของ พระเจ้าซุนกวน ปฐมจักรพรรดิแห่งง่อก๊กเพราะเขาอภิเษกกับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของพระเจ้าซุนกวน องค์หญิง กิมก๋งจู๋ มีชื่อเสียงจากการสกัดทัพของ โจฮิว ไม่ให้บุกเข้ามาในดินแดนกังตั๋งระหว่าง ศึกเซ็กเต๋ง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจวนจ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลิงเจิน

มเด็จพระจักรพรรดินีหลิงเจิน (Empress Ling Zhen) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก โดยเป็นพระสนมในพระเจ้าฮั่นเลนเต้ และเป็นพระมารดาในจักรพรรดิเหี้ยนเต้ หลังจากจักรพรรดิเหี้ยนเต้เสวยราชย์ได้มีการเฉลิมพระนามเป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีหลิงเจิน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจักรพรรดินีหลิงเจิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเว่ยหมิง

ระเจ้าโจยอย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ผู้ครองวุยก๊กรุ่นที่ 3 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจผี พระราชนัดดาในพระเจ้าโจโฉ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 769 ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าโจผี พระราชบิดา ด้วยวัยเพียง 21 พรรษา เฉลิมพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยหยวงซง (元仲) เมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว พระเจ้าโจยอยนับได้ว่า เป็นผู้นำที่เข้มแข็งทีเดียว เนื่องด้วยขงเบ้งเมื่อทราบข่าวว่า พระเจ้าโจผีสิ้นพระชนม์แล้ว โจยอย ราชบุตรขึ้นครองราชย์ด้วยพระชนมายุน้อย จึงยกทัพบุกขึ้นเหนือมา พระองค์ทรงส่งสุมาอี้เป็นแม่ทัพใหญ่ไปรบกับขงเบ้ง อันเป็นการเปิดโอกาสให้สุมาอี้ได้แสดงฝีมือประชันกับขงเบ้งด้วย ซึ่งต่อมาทั้งคู่เป็นคู่ปรับที่ปรับมือกันมาตลอด ต่อมา ขงเบ้งได้ใช้แผนปล่อยข่าวลือในราชธานีลกเอี๋ยงว่า สุมาอี้คิดเป็นกบฏ เพราะต้องการให้พระเจ้าโจยอยปลดสุมาอี้ออกจากตำแหน่ง ซึ่งที่สุดก็เป็นไปตามแผนของขงเบ้ง จนกระทั่ง ขงเบ้งยกทัพบุกวุยก๊กอีกครั้ง พระเจ้าโจยอยทรงคิดไม่ตกว่า ใครจะรับมือกับขงเบ้งได้ ที่สุดมีผู้เสนอว่า ควรคืนตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ให้สุมาอี้ จึงทรงคืนตำแหน่งให้สุมาอี้โดยไม่วิตกกังวลใด ๆ อีก สุมาอี้ซึ่งอยู่นอกเมืองทราบข่าวนี้ซาบซึ้งเป็นอย่างมาก ถึงกับกราบแผ่นดินคาราวะและเอ่ยปากว่า ทรงเป็นจักรพรรดิที่ทรงพระปรีชาโดยแท้ นอกจากนี้แล้ว พระเจ้าโจยอยยังออกนำทัพด้วยพระองค์เอง ในการศึกครั้งนี้ด้วย เนื่องจากซุนกวน กษัตริย์ง่อก๊กได้ร่วมมือกับขงเบ้ง ยกทัพเปิดศึกสองสมรภูมิกับทางวุยก๊ก โดยพระเจ้าโจยอยได้เสด็จนำทัพวุยไปรับศึกฝ่ายง่อที่เมืองหับป๋า และทรงพระปรีชาสามารถรบชนะทัพง่อได้ ทำให้แผนตีกระหนาบของขงเบ้งและซุนกวนต้องล้มเหลวลง ฝ่ายสุมาอี้ซึ่งตั้งทัพรับมือขงเบ้งอยู่ในอีกแนวศึก ได้ใช้นโยบายไม่ออกรบแม้ขงเบ้งยั่วยุต่าง ๆ นานา ผิดกับแม่ทัพนายกองหลายคนของวุยก๊กที่ขัดเคืองใจกับการยั่วยุและอยากจะออกรบ แม้สุมาอี้จะมีคำสั่งเด็ดขาดห้ามออกไป แต่ก็รู้ดีว่านานวันเข้าคำสั่งอาจจะไม่ได้ผลเต็มที่ สุมาอี้จึงมีหนังสือกราบบังคมทูลไปยังพระเจ้าโจยอย พร้อมอธิบายถึงเหตุผลที่ไม่ออกรบ ด้วยต้องการให้พระองค์มีพระบรมราชโองการมาสั่งห้ามออกรบ ซึ่งพระเจ้าโจยอยก็ตอบสนองความต้องการของสุมาอี้โดยทันที เมื่อพระบรมราชโองการมาถึง บรรดานายทหารที่อยากรบทั้งหมดนั้นจึงต้องปฏิบัติตามโดยดุสดี ซึ่งการที่สุมาอี้ตั้งทัพไม่ออกรบนี้ เป็นอุบายของสุมาอี้ที่ต้องการทำศึกยืดเยื้อ บังคับให้ทัพจ๊กก๊กต้องถอยไปเอง ซึ่งท้ายที่สุดขงเบ้งก็สิ้นชีวิตกลางสนามรบ ส่งผลให้ทัพจ๊กก๊กต้องถอยกลับในเวลาต่อมาจริง ๆ กล่าวได้ว่าด้วยการผสานใจร่วมมือของพระเจ้าโจยอยผู้เป็นนาย ซึ่งรู้ใจบ่าว คือสุมาอี้ เป็นอย่างดีนั้น ได้ช่วยรักษาให้วุยก๊กผ่านพ้นวิกฤติการณ์การสงครามครั้งนั้นไปได้ พระเจ้าโจยอย สิ้นพระชนม์ในวันที่ 22 มกราคม ปี พ.ศ. 782 ด้วยพระชนมายุ 34 พรรษา รวมระยะเวลาครองราชย์ 13 ปี ด้วยพระโรคที่รุมเร้าและสติวิปลาส เนื่องจากติดพระสนมองค์ใหม่และสั่งประหารพระมเหสีองค์เก่าสิ้น และเป็นโจฮอง ราชบุตรเพียงคนเดียวขึ้นครองราชย์แทน ซึ่งราชสกุลวุยจะตกต่ำต่อไปเรื่อ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจักรพรรดิเว่ยหมิง · ดูเพิ่มเติม »

จิวยี่

วยี่ (Zhou Yu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก แม่ทัพคนสำคัญของง่อก๊ก ขุนพลผู้ปราดเปรื่อง และเป็นคู่ปรับคนสำคัญของขงเบ้ง เป็นชาวเมืองลู่เจียนซู เกิดในครอบครัวขุนนางเก่า มีชื่อรองว่า กงจิน (公瑾) ลักษณะเป็นบุรุษรูปงาม หน้าขาว เมื่อวัยเด็กได้เรียนรู้วิชาอย่างแตกฉาน ทั้งการทหาร และศิลปะแขนงต่าง ๆ โดยจิวยี่เป็นผู้ชำนาญทางดนตรี กล่าวกันว่า ถ้าใครดีดพิณผิดแม้นิดเดียว ใครต่อใครจับไม่ได้ แต่จิวยี่สามารถจับได้ จิวยี่เป็นผู้มีนิสัยโอบอ้อม มีน้ำใจต่อเพื่อนฝูง ดังนี้ จึงมีผู้ที่เคารพนับถือเป็นมิตรสหายมากม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจิวยี่ · ดูเพิ่มเติม »

จิวซุน

จิวซุน หรือ โจวสฺหวิน (Zhou Xun,; ? — ?) ขุนศึกแห่ง ง่อก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนเขาเป็นบุตรชายคนโตของแม่ทัพใหญ่ จิวยี่ ส่วนมารดาไม่มีหลักฐานแน่ชัดแต่บางหลักฐานกล่าวว่ามารดาของจิวซุนคือ เสียวเกี้ยว จิวซุนมีน้องชายที่ต่อมาเป็นขุนศึกของง่อก๊กเช่นเดียวกันคือ จิวอิ๋น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจิวซุน · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดกิ๋น

จูกัดกิ๋น (Zhuge Jin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นพี่ชายแท้ ๆ คนโตของขงเบ้ง รับราชการเป็นขุนนางฝ่ายบุ๋นอยู่กับ ซุนกวน ในตอนต้นของศึกเซ็กเพ็ก ระหว่างที่ขงเบ้งมาที่กังตั๋งเพื่อยุยงให้ซุนกวนและจิวยี่ออกรบ เพราะทัพของโจโฉยกมาตั้งที่ฝั่งตรงข้ามของแม่น้ำแยงซีเกียง โดยมีเจตนาเพื่อจะมายึดครองกังตั๋ง จูกัดกิ๋นได้เกลี่ยกล่อมให้ขงเบ้งมาสวามิภักดิ์กับซุนกวนด้วยเหตุผลที่ว่าเพื่อพี่น้องจะได้อยู่ร่วมกัน แต่ก็ไม่สำเร็จ กลับเป็นฝ่ายโดนขงเบ้งเกลี้ยกล่อมมาให้มาฝ่ายเล่าปี่เสียเอง และหลังจากที่เล่าปี่ยึดเสฉวนได้แล้ว ซุนกวนได้สั่งให้จูกัดกิ๋นไปทวงเกงจิ๋วที่เล่าปี่เคยสัญญาไว้ว่า "ถ้ายึดเสฉวนเมื่อไหร่จะยกเกงจิ๋วให้ทันที" เล่าปี่ได้ยกเมืองคืนไป 3 เมือง คือเมือง เลงเหลง, ฮุยเอี๋ยงและเตียงสา โดยเล่าปี่ได้ให้หนังสือถึงกวนอูเพื่อให้กวนอูคืนเมืองทั้งสาม แต่เมื่อจูกัดกิ๋นไปถึงเกงจิ๋วกวนอูกับไม่ยอมคืนสามเมืองให้ จึงกลับหาซุนกวน ซุนกวนจึงต่อว่าจูกัดกิ๋นว่า "ท่านวิ่งกลับมาครั้งนี้ก็ด้วยอุบายของขงเบ้งทั้งสิ้น" ในตอนที่ขงเบ้งยกทัพบุกเขากิสานครั้งที่ 5 ได้มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนกวนเพื่อให้ยกทัพง่อก๊กไปตีวุยก๊กด้วยเป็นการประสานการโจมตีพร้อมกัน ก็เป็นจูกัดกิ๋นและลกซุนเป็นแม่ทัพใหญ่ที่ยกไป ร้อนถึงพระเจ้าโจยอยต้องยกทัพมาเองจากลกเอี๋ยงเพื่อต้านทัพ เพราะสุมาอี้ แม่ทัพใหญ่ก็ติดพันศึกอยู่กับขงเบ้งที่เขากิสาน ท้ายที่สุดทัพของพระเจ้าโจยอยก็ได้รับชัยชนะทำเอาขงเบ้งถึงกับตกใจ จูกัดกิ๋นมีบุตรชายชื่อจูกัดเก๊ก ซึ่งภายหลังได้เป็นราชครูและแม่ทัพใหญ่ของง่อก๊กในรัชสมัยพระเจ้าซุนเหลียง แทนจูกัดกิ๋นผู้เป็นบิดา จูกัดกิ๋นเสียชีวิตในปี พ.ศ. 784 รวมอายุได้ 67 ปี จูกัดกิ๋น จูกัดกิ๋น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดกิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดสู

ูกัดสู (Zhuge Xu, ? — ?) ขุนพลแห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก ซึ่งจูกัดสูมิได้มีความเกี่ยวข้องกับ จูกัดเหลียง หรือ ขงเบ้ง เสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุทธการพิชิตจ๊กก๊ก ของวุยก๊กเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดสู · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดสง

ูกัดสง (Zhuge Shang) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายคนโตของ จูกัดเจี๋ยม เป็นหลานปู่ของ จูกัดเหลียง หรือ ขงเบ้ง อัครมหาเสนาบดีคนแรกของจ๊กก๊ก จูกัดสงเป็นขุนศึกที่มีความรู้ทางการทหารในช่วงก่อน การล่มสลายของจ๊กก๊ก เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดสง · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเกียว

ูกัดเกียว (Zhuge Qiao, ค.ศ. 199 — ค.ศ. 224) มีชื่อรองว่า จงเฉิน แต่ในภายหลังขงเบ้งหรือจูกัดเหลียงผู้เป็นพ่อบุญธรรมได้เปลี่ยนชื่อรองให้ใหม่เป็น โป๋สง เป็นเสนาบดีแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก จูกัดเกียวเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดเกียว · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเก๊ก

จูกัดเก๊ก (Zhuge Ke) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก บุตรชายคนโตของจูกัดกิ๋น ขุนพลเอกแห่งง่อก๊ก มีรูปลักษณ์พิเศษ คือใบหน้าที่ยาว แต่ก็มีเป็นคนมีสติปัญญา ไหวพริบ ทั้งยังมีความมั่นใจในตัวเองสูงมาก ดังปรากฏเป็นเรื่องเล่า เมื่อครั้งยังเด็ก จูกัดกิ๋น ผู้บิดาได้พาจูกัดเก๊กเข้าเฝ้าพระเจ้าซุนกวนในวังหลวง พระเจ้าซุนกวนทอดพระเนตรเห็นว่า จูกัดเก๊กหน้ายาวเหมือนโล่ จึงได้นำโล่ทองคำหรือลา เข้ามาในงาน แล้วเขียนที่หน้าโล่ว่า "จูกัดเก๊ก" เป็นที่ขบขันของเหล่าขุนนางเป็นอันมาก แต่จูกัดเก๊กมิได้มีอารมณ์โกรธขึ้ง กลับวางท่านิ่งสงบ แล้วเขียนเพิ่มต่อข้อความลงในโล่นั้นว่า "โล่ของจูกัดเก๊ก" หรือ "ลาของจูกัดเก๊ก" เป็นการแสดงถึงสติปัญญา ไหวพริบที่น่าทึ่ง พระเจ้าซุนกวนจึงพระราชทานโล่ หรือลานั้นให้เป็นของจูกัดเก๊ก ทั้งยังโปรดปรานชุบเลี้ยงนับตั้งแต่บัดนั้น แต่ในท่ามกลางความน่ายินดีนั้น จูกัดกิ๋นผู้เป็นบิดากลับมีความกังวลใจถึงบุตรผู้นี้ และได้กล่าวว่า "บุตรคนนี้จะนำภัยพิบัตมาให้วงศ์ตระกูล" หลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคต ด้วยสติปัญญา ชื่อเสียงเป็นที่นับถือ จูกัดเก๊กก็ได้ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชควบด้วยตำแหน่งราชครูประจำราชสำนักของพระเจ้าซุนเหลียง ฮ่องเต้องค์ที่สองแห่งง่อก๊ก กองทัพวุยก๊ก ภายใต้การนำของ สุมาเจียว ฉวยโอกาสที่พระเจ้าซุนกวนสวรรรคต อันเป็นช่วงผลัดเปลี่ยนราชบัลลังก์บุกโจมตีง่อก๊ก จูกัดเก๊กได้ดำรงตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ ร่วมผสานงานของขุนพลผู้เฒ่าเตงฮอง โจมตีกองทัพวุยก๊กแตกพ่ายกลับไปที่เมืองตังหิน จากนั้นฉวยโอกาสบุกโจมตีเข้าไปในดินแดนวุยก๊ก ประชิดด่านซินเสีย แต่ด้วยความมั่นใจจนเกินไป จนเป็นการตัดสินใจการศึกที่ผิดพลาดของจูกัดเก๊กเอง ทำให้กองทัพง่อก๊กต้องกลอุบายของแม่ทัพวุยก๊กจนต้องพ่ายยับเยินกลับมา เมื่อกลับมาถึงแคว้นพร้อมกับความอัปยศ จูกัดเก๊กโยนความผิด ปัดความรับผิดชอบในการทำศึกพ่ายแพ้ไปที่แม่ทัพนายกอง และที่ปรึกษา ให้พิจารณาสั่งประหารขุนพลไปหลายคน ทั้งยังเข้ากุมอำนาจเด็ดขาด แต่งตั้งญาติพีน้อง คนสนิทเข้ามามีอำนาจในราชสำนัก สร้างความไม่พอใจให้กับเชื้อพระวงศ์ ราชนิกูลของตระกูลซุน และขุนนางทั้งปวง รวมทั้งพระเจ้าซุนเหลียงเป็นอย่างมาก แม่ทัพทหารม้า ซุนจุ๋น และน้องชายซุนหลิม จึงวางแผนลวงจูกัดเก๊กมาสังหารในงานกินเลี้ยงภายในวังหลวงสำเร็จ ซุนจุ๋นประกาศโทษจูกัดเก๊กเป็นกบฏต่อราชบัลลังก์ ยังผลไปถึงญาติพี่น้องในตระกูลจูกัด ต้องถูกประหารถึงสามชั่วโคตร คำกล่าวของจูกัดกิ๋นจึงปรากฏเป็นจริงอย่างไม่ผิดเพี้ยน สมดังคำกล่าวที่ว่า "ไม่มีใครรู้จักบุตรได้ดีเท่ากับบิดา" นั่นเอง จูกัดเก๊ก จูกัดเก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดเก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเหลียง

ูกัดเหลียง ภาพวาดจากหนังสือ "Wan hsiao tang-Chu chuang -Hua chuan"(晩笑堂竹荘畫傳) จูกัดเหลียง (Zhuge Liang) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ขงเบ้ง (孔明; Kǒngmíng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นอกจากนี้ยังมีฉายาอื่นเช่น มังกรหลับ (臥龍先生) หรือ (伏龍) เป็นนักการเมืองสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นของจีน หรือในสมัยหลังราชวงศ์ฮั่นหากกล่าวอ้างอิงตามประวัติศาสตร์ จูกัดเหลียงดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาด้านการยุทธนาการของพระเจ้าเล่าปี่ในตำแหน่งสมุหนายกและผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งจ๊กก๊ก รวมทั้งมีความสามารถในด้านการเมือง การทูต นักปราชญ์ วิศวกรและได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นที่สำคัญ โดยคิดค้นหมั่นโถว หน้าไม้กล โคมลอยและระบบชลประทาน ศิลปินมักวาดภาพให้จูกัดเหลียงสวมชุดยาวแบบนักปราชญ์ สวมหมวก และถือพัดขนนกกระเรียน (บ้างก็ว่า ขนนก ขนห่าน) อยู่ในมือเสมอ โดยขงเบ้งเป็นชื่อรอง เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของ จูเก๋อกุย ขุนนางตงฉินของพระเจ้าเหี้ยนเต้ โดยขงเบ้งมีพี่ชาย และน้องชายอย่างละคน คือ จูเก๋อกึ๋น พี่ชาย เป็นที่ปรึกษาของง่อก๊ก และน้องชาย จูเก๋อจิ๋น ขงเบ้ง เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง รอบรู้สรรพวิชาอย่างแตกฉาน ทั้งวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ การเมืองการปกครอง การทูต และแม้กระทั่งไสยศาสตร์ มีอุปนิสัยใจคอเยือกเย็น มีเมตตา ชอบลองดีกับผู้ที่อวดโอ้ อุดมด้วยวาทะศิลป์ ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบกับชาวบ้าน ที่เชิงเขาโงลังกั๋ง โดยช่วยเหลือชาวบ้านในการทำนาต่าง ๆ จนเป็นที่นับถือของชาวบ้าน ขงเบ้งมักจะเสวนากับผู้รู้เสมอ ๆ โดยเพื่อนร่วมวงเสวนากับเขานั้นได้แก่ ชีซี สื่อกวงเหวียน เมิ่งกงเวย และซุยเป๋ง และขงเบ้งมักจะยกตัวเองเทียบกับขวันต๋งและงักเย สองยอดนักปราชญ์ยุคชุนชิวและราชวงศ์ฉิน ซึ่งเพื่อน ๆ มักแปลกใจที่ขงเบ้งกล้ายกตนเช่นนั้น มีแต่ชีซีเท่านั้น ที่เชื่อว่าไม่ได้เป็นการยกตนเกินเลยไปเลย ขงเบ้ง มาเป็นกุนซือให้เล่าปี่จากการได้รับคำแนะนำจากชีซี โดยเล่าปี่ต้องมาคาราวะขงเบ้งถึงกระท่อมไม้ไผ่ ที่เขาโงลังกั๋ง ถึง 3 ครั้ง 3 ครา เมื่อขงเบ้งอายุได้เพียง 26 แต่ระยะแรกนั้น ขงเบ้งมิได้เป็นที่ยอมรับของบรรดานายทหารจ๊กก๊ก รวมทั้งกวนอูและเตียวหุยด้วย แต่เมื่อขงเบ้งได้แสดงฝีมือให้ปรากฏด้วยการทลายทัพของโจโฉที่เนินพกบ๋องแล้ว ขงเบ้งก็กลายเป็นที่นับถือและเลื่องลือถึงความสามารถอันปราดเปรื่อง ขงเบ้ง ยามออกศึก จะบัญชาการการรบบนรถเลื่อน โดยมีหมวกและพัดขนนกเป็นของประจำตัว ขงเบ้งเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชาอย่างถ่องแท้ มองจิตใจคนทะลุปรุโปร่ง ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้แม่นยำ จึงสามารถล่วงรู้ได้ถึงสภาพดินฟ้าอากาศ สามารถเรียกลมได้ ผู้คนจึงกล่าวขานว่า เป็นผู้หยั่งรู้ดินฟ้า ขงเบ้ง เป็นกำลังสำคัญของแคว้นจ๊กก๊ก ภายหลังการสิ้นของเล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ผู้นำคนสำคัญ โดยขงเบ้งมีฐานะเป็นเสนาบดีใหญ่ (เสิงเสี้ยน) ดูแลกิจการแทบทุกอย่างของจ๊กก๊ก เนื่องจากความอ่อนแอของพระเจ้าเล่าเสี้ยน (อาเต๊า) ขงเบ้งประสบความสำเร็จจากการยกทัพไปปราบเบ้งเฮ็ก อานารยชนที่แดนใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเลยในการยกทัพบุกเหนือถึง 5 ครั้ง เพื่อพิชิตแคว้นวุยก๊ก บั้นปลายชีวิต ขงเบ้งเจ็บออด ๆ แอด ๆ เสมอ ๆ ขงเบ้งสิ้นอายุเมื่อได้ 54 ปี บนรถม้ากลางสนามรบ ก่อนสิ้นชีพ ขงเบ้งได้ตรวจดวงชะตาตนเองแล้วรู้ว่า ใกล้ดับ จึงทำพิธีต่อชะตาอายุ แต่พิธีต้องล่มกลางคัน เมื่ออุยเอี๋ยน ทหารคนหนึ่งวิ่งทะเล่อทะล่าเข้ามา จนตะเกียงน้ำมันดับลง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเอี๋ยน

ูกัดเอี๋ยน (Zhuge Dan, ? — ค.ศ. 258) ชื่อรองว่า กงซิว เป็นขุนศึกแห่งวุยก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก จูกัดเอี๋ยนเกิดที่ตำบลหยังตูเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ จูกัดเหลียง หรือ ขงเบ้ง อัครมหาเสนาบดีและเสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก แต่จูกัดเอี๋ยนกลับไปรับใช้วุยก๊กจนได้รับพระราชทานยศเป็น เจิ้งตงต้าเจียงจวิน (จอมพลปราบภาคตะวันออก) บัญชาการทหารภาคห้วยหลำ ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูกัดเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

จูหวน

จูหวน (Zhu Huan) ชื่อรองว่า ซิ่วมู่ เป็นบุคคลใน ยุคสามก๊ก โดยเป็นขุนศึกแห่ง ง่อก๊ก ได้เข้ามารับใช้ในสมัยของ ซุนกวน สร้างวีรกรรมไว้ในหลายสงคราม หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ง่อก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูหวน · ดูเพิ่มเติม »

จูฮง

ูฮง (Zhuo Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นขันทีลูกน้องของกลุ่มสิบขันที ในศึกปราบโจรโพกผ้าเหลือง โลติดกำลังทำศึกกับเตียวก๊ก จูฮงได้เข้ามาสืบข่าวราชการสงคราม และได้เรียกเอาสินบนจากโลติด โลติดว่าตนกำลังขาดเสบียงจึงไม่มสินบน จูฮงโกรธจึงกลับไปทูลเท็จต่อพระเจ้าเลนเต้ว่าโลติดไม่เอาใจใส่การสงคราม พระเจ้าเลนเต้จึงให้ตั๋งโต๊ะไปเป็นนายทัพแทนโลติด แล้วให้นำตัวโลติดไปจำคุก ก่อนที่จะได้รับอภัยโทษในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูฮง · ดูเพิ่มเติม »

จูเก๋อ จฺวิน

จูเก๋อ จฺวิน (?–?) เป็นบุคคลในยุคสามก๊ก เป็นข้าราชการแห่งรัฐฉู่ (蜀) และเป็นน้องชายคนเล็กของ จูเก๋อ เลี่ยง (诸葛亮) และจูเก๋อ จิ่น (諸葛瑾) ปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อเล่าปี่มาคำนับขงเบ้งเป็นครั้งที่ 2 แล้วเห็น จูเก๋อ จฺวิน ก็เข้าใจผิดคิดว่าเป็นขงเบ้งจึงเข้าไปคำนับแต่ จูเก๋อ จฺวิน ได้กล่าวปฏิเสธเล่าปี่ว่าตัวเองไม่ใช่ขงเบ้งเพราะพี่ชายของตนยังไม่กลับจากการท่องเที่ยว หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:จ๊กก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจูเก๋อ จฺวิน · ดูเพิ่มเติม »

จี๋ (อาวุธ)

ี๋ หรือ ทวนวงเดือน (Ji; 戟) เป็นอาวุธของจีนโบราณ จัดเป็นอาวุธยาวประเภททวนหรือหอกชนิดหนึ่ง มีอายุเก่าแก่ยาวนานกว่า 3,000 ปี นับตั้งแต่ยุคต้นราชวงศ์ซาง จนกระทั่งถึงสิ้นสุดราชวงศ์ชิง มีลักษณะปลายยาวแหลม ด้านข้างตีโลหะเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวคล้ายง้าวเอาไว้ จึงใช้ทั้งแทงทั้งฟันได้ ในพงศาวดารจีน ขุนพลที่ใช้อาวุธนี้เด่น ๆ คือ ลิโป้ ในยุคสามก๊ก และซิ ยิ่นกุ้ย ในยุคราชวงศ์ถัง แบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทวนวงเดือนกรีดฟ้า (方天戟; พินอิน: fangtian ji) ที่มีพระจันทร์เสี้ยวทั้งสองข้าง และทวนวงเดือนมังกรเขียว (青龍戟; พินอิน: qinglong ji) ที่มีพระจันทร์เสี้ยวข้างเดียว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจี๋ (อาวุธ) · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุสามก๊ก

หมายเหตุสามก๊ก (Records of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ บทประพันธ์โดยเฉินโซ่ว ชาวเสฉวนที่มีตัวตนและมีชีวิตจริงอยู่ในยุคสามก๊ก โดยเนื้อหาตามบทประพันธ์เกิดจากจินตนาการ ซึ่งแท้จริงแล้วฉากสำคัญหลายฉากในจดหมายเหตุสามก๊กเช่น ในปี พ.ศ. 776 ซึ่งเป็นปีเกิดของเฉินโซ่ว ภายหลังพระเจ้าเหี้ยนเต้สละบัลลังก์แล้ว ตระกูลของเฉินโซ่วรับราชการเป็นบริวารแก่จ๊กก๊กของพระเจ้าเล่าปี่ ซึ่งรวมทั้งเฉินโซ่วด้วย ซึ่งบันทึกทางประวัติศาสตร์รวมทั้งเรื่องราวการต่อสู้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นการบันทึกโดยบิดาของเฉินโซ่ว ในปี พ.ศ. 806 แคว้นจ๊กก๊กที่เฉินโซ่วอาศัยอยู่ ได้ประกาศยอมแพ้ต่อแคว้นวุย เฉินโซ่วและครอบครัวรวมทั้งชาวจ๊กก๊กคนอื่น ๆ ถูกนำตัวไปยังวุยก๊ก ขณะนั้นสุมาเจียว ซึ่งเป็นผู้ครองแคว้นวุยสิ้นพระชนม์ สุมาเอี๋ยนจึงเป็นผู้สืบทอดแคว้นต่อไปและสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนราชวงศ์วุย และแย่งชิงราชบัลลังก์จากพระเจ้าโจฮวนในปี พ.ศ. 808 ก่อนจะสถาปนาตนเองเป็นพระเจ้าจิ้นหวู่ตี้แห่งราชวงศ์ใหม่ ราชวงศ์จิ้นตะวันตก 15 ปีสืบต่อมา พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ก็สามารถรวบรวมอาณาจักรสามก๊กให้รวมเป็นหนึ่งเดียวได้ พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ทรงโปรดให้เฉินโซ่วรวบรวมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงศึกสามก๊กอย่างละเอียด เริ่มตั้งแต่ในช่วงพระเจ้าเลนเต้ขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 711 จนถึงการรวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียวใน พ.ศ. 823อย่างละเอียด เพื่อเอากลศึกสงครามต่าง ๆ ที่เกิดในยุคนี้ให้เป็นตำราสงครามให้แก่คนรุ่นหลัง สามก๊กฉบับแรกนี้มีชื่อว่า "ซันกั๋วจื้อ" แต่ซันกั๋วจื้อก็ไม่ได้รับความนิยม ซันกั๋วจื้อจึงกลายเป็นต้นแบบในการประพันธ์วรรณกรรมสามก๊กในยุคหลัง ที่สำคัญได้แก่ ซันกั๋วยั่นอี้ของหลัว กวั้นจง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจดหมายเหตุสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จงฮิว

งฮิว (Zhong Yao, ค.ศ. 151 — ค.ศ. 230) มีชื่อรองว่า เหวียนฉาง เป็นขุนนางในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็น ราชครูแห่งวุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก จงฮิวเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจงฮิว · ดูเพิ่มเติม »

จงป้า

งป้า มีชื่อรองว่า เซวียนเกา เป็นบุคคลใน ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจงป้า · ดูเพิ่มเติม »

จงโฮย

งโฮย (Zhong Hui) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ขุนพลคนสำคัญแห่งวุยก๊กในยุคปลาย เกิดเมื่อปี ค.ศ. 225 มีชื่อรองว่าซื่อจี้ เป็นลูกชายคนรองของจงฮิว มีพี่ชายอีกคนชื่อว่าจงอี้ เป็นชาวตำบลฉางเช่อ เมืองอิงชวน มณฑลเ หอหนาน เป็นคนมีสติปัญญาและทะเยอทะยาน ได้ช่วยตระกูลสุมายึดอำนาจจากโจซองได้สำเร็จ เมื่อสุมาเจียวคิดตีจ๊กก๊กของพระเจ้าเล่าเสี้ยน จึงตั้งจงโฮยกับเตงงายขั้นเป็นแม่ทัพ แต่ทั้งสองไม่ถูกกันจึงแยกทัพกันไปตี เตงงายไปทางลัดจึงเข้ายึดราชธานีเฉิงตูได้ก่อน แต่เกียงอุยแม่ทัพใหญ่ฝ่ายจ๊กก๊กได้เข้าสวามิภักดิ์ต่อจงโฮยและออกอุบายให้ฟ้องสุมาเจียวไปว่า เตงงายเป็นกบฏ สุมาเจียวจึงให้จงโฮยไปปราบเตงงาย เมื่อสำเร็จเกียงอุยจึงยุให้จงโฮยตั้งตัวเป็นใหญ่ในเสฉวน จึงเกิดการรบกับทหารสุมาเจียว ในที่สุดทั้งจงโฮยและเกียงอุยก็ถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 264.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจงโฮย · ดูเพิ่มเติม »

จ๊กก๊ก

กก๊ก หรือ สู่ฮั่น (พินอิน: Shǔ Hàn) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก สถาปนาโดยพระเจ้าเล่าปี่ เชื้อพระวงศ์แห่งราชวงศ์ฮั่น ปกครองในระหว่างปี พ.ศ. 764 - พ.ศ. 806 (ปี ค.ศ. 221-263) จ๊กก๊กครอบครองพื้นที่ทางภาคตะวันตกของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวน มีแม่น้ำทั้งหกสายไหลผ่าน จ๊กก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 2 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ฮั่น, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจ๊กก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

จ้วง

้วง หรือ ปู้จ้วง (จ้วง: Bouчcueŋь/Bouxcuengh) เป็นกลุ่มชนในกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได มีประชากรมากที่สุด ราว 18 ล้านคน แต่พวกเขาเพิ่งยอมรับคำว่า จ้วง เป็นชื่อชนชาติ เมื่อทางการจีนใช้คำเขียนใหม่ที่มีความหมายในทางที่ดีขึ้น เพราะในสมัยราชวงศ์ซ้อง คำว่า จ้วง (僮) ใช้เรียกทหารที่เป็นจ้วง สมัยราชวงศ์หยวน ใช้ตัวอักษรจีน ที่แปลว่า ปะทะ สมัยราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิง จนถึงสมัยก๊กมินตั๋ง เปลี่ยนอักษรตัวแรกเป็นความหมายว่า "สัตว์" (獞) จนถึง พ.ศ. 2508 จึงเปลี่ยนเป็นตัวที่มีความหมายว่า เติบโต และแข็งแรง (壯/壮).

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

ขับเจ้ง

ับเจ้ง (Xi Zheng, ? — ค.ศ. 278) มีชื่อรองว่า หลิงเซี่ยน เกิดที่เมืองอี๋หยัง (อวี๋เอี้ยง) มณฑลเหอหนาน เป็นเสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก บิดาของขับเจ้งเคยรับใช้ วุยก๊ก และได้มารับใช้ จ๊กก๊ก เมื่อขับเจ้งยังเล็กแต่ก็ตายจากไปเมื่อขับเจ้งยังเด็กทำให้ตัวของขับเจ้งต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง เมื่อ จ๊กก๊กยอมแพ้ต่อวุยก๊ก ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและขับเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ขงสิ้ว

งสิ้ว (Kong Xiu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กเป็นขุนพลของเตียวสิ้วเป็นทหารเอกที่สำคัญมากในการรบที่เตงเชียโดยเตียวสิ้วส่งขงสิ้วไปรักษาเมืองเตงเชียเมื่อโจโฉมาตีเมืองเตงเชีย และได้มาเป็นายด่านแรกของด่านทั้ง5 เมื่อกวนอูจะไปหาเล่าปี่ที่โห้ปัก ได้พบกับขงสิ้ว แต่ไม่มีใบผ่าน ขงสิ้วจึงต่อสู้กับกวนอู แล้วก็โดนกวนอูเอาง้าวฟันต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและขงสิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ขงหยง

งหยง หรือ ขงเล่ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ข่งหรง() (ค.ศ. 153 - ค.ศ. 208) มีชื่อรองว่าเหวินจฺวี่ เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองซีฟู่ ในเขตแคว้นหลู่โก้วะ (โลก๊ก) อันเป็นที่เกิดของขงจื้อ เป็นเชื้อสายของขงจื้อลำดับที่ 20 มีสติปัญญาเฉียบแหลม เมื่ออายุ 10 ขวบได้ไปหาหลี่อิ๋ง เจ้าเมือง คนเฝ้าประตูไม่ให้เข้า ขงหยงอ้างว่าเป็นเพื่อนสนิทของเจ้าเมืองจึงเข้าได้ เมื่อหลีอิ๋งถามว่า เป็นเพื่อนสนิทมาตั้งแต่ครั้งไหน ขงหยงตอบว่า บรรพบุรุษของข้าพเจ้า (คือขงจื้อ) ได้ไปถามความรู้เกี่ยวกับประเพณี จากบรรพบุรุษของท่าน (คือ เล่าจื๊อ ซึ่งชื่อจริงว่า หลีเอ๋อ) จึงถือว่าสกุลเราสนิทมาหลายชั่วคนแล้ว หลีอิ๋งประหลาดใจในสติปัญญาของเด็กน้อยผู้นี้มาก พอดีเฉินวุ่ย ขุนนางผู้ใหญ่ตำแหน่งต้าจงต้าฟูมาเยี่ยมหลีอิ๋งจึงเล่าให้เฉินวุ่ยฟัง เฉินวุ่ยก็ว่า เด็กฉลาดไม่แน่นักที่โตขึ้นจะฉลาดเสมอไป ขงหยงโต้ว่า ตัวท่านเองก็เป็นเด็กฉลาดมาก่อนไม่ใช้หรือ พูดคำนี้ทั้งหลีอิ๋งกับเฉินวุ่ย ก็หัวเราะขึ้นพร้อมกัน โตขึ้น ขงหยงได้ดำรงตำแหน่งราชการเป็นจงหลังเจี้ยง เจ้าเมื่องปักไฮ ประชาชานิยมรักใคร่มาก ชอบยกคำโบราณมาพูดเสมอว่า “ในห้องพรั่งพร้อมด้วยเพื่อน ในแก้วเอิบอาบด้วนน้ำเหล้า” เป็นผู้จัดตั้งสถานศึกษาศิลปะวรรณคดี และได้ชื่อว่าเป็นปราชญ์คนหนึ่งใน 7 ของราชสมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้ ครั้งหนึ่งโจโฉต้องการคนดีมีฝีปากไปเกลี้ยวกล่อมเล่าเปียว ผู้ครองแคว้นเกงจิ๋ว มีผู้เสนอให้วานขงหยง แต่ขงหยงไม่ยอมรับ แนะนำให้วานยีเอ๋ง ซึ่งเป็นเพื่อนรักไปแทน แต่ยีเอ๋งเป็นปราชญ์ที่พูดมากเกินไป ชอบยกตนข่มท่าน การเกลี้ยกล่อมจึงไม่สำเร็จ เนื่องจากคอยขัดคอโจโฉบ่อย ๆ โจโฉจึงไม่ชอบ ครั้งสุดท้ายขัดคอไม่ให้ยกทัพไปปราบเล่าปี่ อ้างว่าเล่าปี่เป็นเชื้อสายพระเจ้าเหี้ยนเต้ และตั้งหลักมั่นคงที่เกงจิ๋วแล้ว โจโฉโกรธ ให้จับขงหยงประหารชีวิตเสีย ขณะที่บุตรกำลังเล่นหมากรุกกันอยู่คนใช้วิ่งมาบอกข่าว และให้ขอให้หนีไปเสีย บุตรขงหยงคนที่สองตอบว่า “ซึ่งท่านเอ็นดูแก่เรานี้คุณก็หาที่สุดมิได้ แต่ธรรมดานกทั้งปวงซึ่งตกฟองในรัง แม้ว่ารังทำลายแล้ว ฟองนั้นก็ตกแตก มิอาจสามารถตั้งอยู่ได้ และบิดาเราถึงแก่ความตายแล้ว บัดนี้ตัวเราผู้เป็นบุตรหรือจะหนีพ้น” พูดมิทันขาดคำทหารโจโฉก็เข้ามาล้อมเรือนจับบุตรภรรยาขงหยงไปฆ่าเสียสิ้น แล้วโจโฉให้เอาศพขงหยงไปประจานไว้ที่สามแพร่ง รูปขงหยงจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและขงหยง · ดูเพิ่มเติม »

ขงจี

งจี (Kong Zhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก รับราชการอยู่กับกิมสวนเจ้าเมืองบุเหลง ได้แนะนำให้กิมสวนยอมสวามิภักดิ์ต่อเตียวหุยซึ่งกำลังยกมาตีเมืองบุเหลง ทำให้กิมสวนไม่พอใจสั่งประหารขงจี แต่ขุนนางคนอื่นได้ทัดทานไว้ กิมสวนจึงไว้ชีวิตขงจี กิมสวนยกทัพไปรบกับเตียหุย แล้วเสียทียกทัพกลับเข้าเมือง แต่ขงจีสั่งทหารปิดประตูมิให้กิมสวนเข้าเมืองได้ แล้วใช้เกาทัณฑ์ยิงถูกหน้าผากกิมสวนเสียชีวิต แล้วยอมสวามิภักดิ์ต่อเตียวหุย ต่อมาขงจีจึงได้รับการแต่งตั้งจากเล่าปี่ให้เป็นเจ้าเมืองบุเหลง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและขงจี · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก

วาดจากหนังสือสามก๊กในยุคราชวงศ์หมิง ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลำดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบายความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่อิงมาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จึงทำให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ปรากฏในวรรณกรรมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่นๆที่ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนำมาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคอื่นๆของประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

คว้อเก๋อ

ว้อเก๋อ (Huo Yi; ? — ?, หลัง ค.ศ. 271) ชื่อรอง เช่าเซียน (Shaoxian) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก พ่อของเขา งักจุ้น รับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กตั้งแต่ก่อนสถาปนาจ๊กก๊ก รูปภาพ คว้อเก๋อ จากเกมส์ Romance of The three kingdoms XIII เมื่อจ๊กก๊กถูกพิชิตโดย วุยก๊ก ในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและคว้อเก๋อ · ดูเพิ่มเติม »

คูเสง

ูเสง (Ou Xing) โจรป่าแห่งเมือง ฉางชา ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แห่ง ยุคสามก๊ก คูเสงได้ร่วมกับโจรป่าคนอื่น ๆ ก่อการกบฏขึ้นที่ฉางชาแต่ก็ถูกปราบโดย ซุนเกี๋ยน เจ้าเมือง เตียงสา หรือ ฉางชา ในปัจจุบันตามคำสั่งของ สิบขันที ซึ่งมีอำนาจในราชสำนักขณะนั้น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและคูเสง · ดูเพิ่มเติม »

งอก๊กไถ้

ง่อก๊กไถ้ (Lady Wu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ง่อก๊กไถ้ไม่ใช่ชื่อบุคคล แต่เป็นชื่อเรียกขาน มีความหมายว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งง่อก๊ก เดิมมีชื่ออย่างไรไม่ปรากฏ เป็นพระมเหสีองค์ที่สองของซุนเกี๋ยน ทรงเป็นน้องสาวของงอฮูหยิน ภรรยาหลวงของซุนเกี๋ยน ผู้เป็นแม่แท้ ๆ ของซุนเซ็กและซุนกวน เมื่อพี่สาวเสียชีวิตไปก่อนหน้านี้ นางได้ฝากซุนกวน บุตรชายคนที่สองที่เพิ่งขึ้นครองแคว้นให้งอก๊กไถ้ดูแลด้วย ซึ่งงอก๊กไถ้ก็ทำหน้าที่นี้ได้อย่างดี จนซุนกวนนับถือนางเหมือนแม่แท้ ๆ ของตัว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงอก๊กไถ้ · ดูเพิ่มเติม »

งอฮูหยิน

งอฮูหยิน (? — 245) พระนามเดิม ไม่ทราบ ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีมู่ (Empress Mu) จักรพรรดินีแห่ง จ๊กก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนเป็นน้องสาวของ งออี้ ส่วนพระบิดาของพระนางไม่ปรากฏชื่อในประวัติศาสตร์เป็นเพื่อนกับ เล่าเอี๋ยน และติดตามเล่าเอี๋ยนมายัง เอ๊กจิ๋ว เมื่อเล่าเอี๋ยนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองและด้วยความเป็นเพื่อนพระบิดาของพระนางและเล่าเอี๋ยนได้จัดให้พระนางแต่งงานกับบุตรชายของเล่าเอี๋ยน เล่ามอ แต่หลังจากเล่ามอเสียชีวิตพระนางก็ไม่ได้แต่งงานอีก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงอฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

งักหลิม

งักหลิม (Yue Lin ? — ค.ศ. 257) ขุนศึกแห่งวุยก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายของ งักจิ้น ยอดขุนศึกรุ่นแรกของ โจโฉ ผู้ก่อตั้งวุยก๊ก งักหลิมถึงแก่กรรมเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงักหลิม · ดูเพิ่มเติม »

งักจิ้น

งักจิ้น (Yue Jin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองหยางผิง เขตเว่ยกว๋อ ซึ่งปัจจุบันคือเมืองชิงเฟิง มณฑลเหอนาน มีชื่อรองเหวินเชียน ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก งักจิ้นเป็นคนรูปร่างเตี้ยและตัวเล็ก แต่จิตใจห้าวหาญ เก่งกาจในเชิงยุทธ์ เป็นขุนพลคนสำคัญของโจโฉ รายละเอียดการดำเนินชีวิตของงักจิ้นในตอนต้นของวรรณกรรมสามก๊ก ไม่ปรากฏหลักฐานแน่นอน มีการกล่าวถึงในตอนได้เข้าร่วมกับกองทัพของโจโฉในตำแหน่งนายทหารชั้นผู้น้อย โดยได้รับมอบหมายให้กลับไปรวบรวมผู้คนจำนวนมากที่บ้านเกิด เพื่อให้เข้าร่วมกับกองทัพในการทำศึกสงคราม งักจิ้นสามารถเกณฑ์ผู้คนจำนวนมากกว่าพันคนในการเข้าร่วมกับกองทัพ จึงได้รับความดีความชอบจากโจโฉด้วยการเลื่อนขั้นจากนายทหารชั้นผู้น้อย เป็นนายทหารระดับนายพัน ภายหลังงักจิ้นได้ช่วยทำศึกออกรบร่วมกับโจโฉหลายต่อหลายครั้ง จนได้เลื่อนยศเป็นเจ๋อชงเจียงจวินหรือนายทหารระดับนายพล และเสียชีวิตในเจี้ยนอันศก ปีที่ 23.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงักจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

งักจุ้น

ักจุ้น หรือ ฮั่วจฺวิ้น (Huo Jun; 177 — 216) ชื่อรอง จ้งเหมี่ยว (Zhongmiao) ขุนศึกซึ่งรับใช้ภายใต้การบังคับบัญชาของ เล่าปี่ ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แต่เดิมเคยรับใช้ เล่าเปียว เมื่อเล่าเปียวถึงแก่กรรมในปล..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงักจุ้น · ดูเพิ่มเติม »

งันเหลียง

งันเหลียง (Yan Liang; เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงันเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

งำเต๊ก

งำเต๊ก หรือ กำเจ๊ก มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าคั่นเจ๋อ มีชื่อรองว่าเต๋อรุ่น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นที่ปรึกษาคนหนึ่งของง่อก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงำเต๊ก · ดูเพิ่มเติม »

งิมหุน

งิมหุน (Cen Hun, ? — ค.ศ. 280) เสนาบดีแห่ง ง่อก๊ก ในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก แต่ในสามก๊กฉบับวรรณกรรมของ หลอ กว้านจง ได้กล่าวว่างิมหุนเป็นขันทีคนสนิทของ พระเจ้าซุนโฮ จักรพรรดิองค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ง่อซึ่งคอยยุยงให้พระเจ้าซุนโฮหลงใหลสุรานารีและทำสิ่งไม่ดีมากมายจนลืมราชกิจเฉกเช่นเดียวกับ พระเจ้าเล่าเสี้ยน จักรพรรดิองค์ที่ 2 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์จ๊ก ที่มี ฮุยโฮ เป็นขันทีคนสนิทเมื่อ ง่อก๊กล่มสลาย ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและงิมหุน · ดูเพิ่มเติม »

ง่อก๊ก

ง่อก๊ก หรือ ตั้งอู๋ (東吳) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก ปกครองโดยพระเจ้าซุนกวน ในระหว่างปี พ.ศ. 765 - พ.ศ. 823 (ปี ค.ศ. 222-280) ง่อก๊กครอบครองพื้นที่ทางด้านตะวันออกของประเทศจีน ทางบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี ซึ่งคือพื้นที่บริเวณรอบ ๆ เมืองหนานจิงในปัจจุบัน ง่อก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 4 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ซุน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและง่อก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ตังสิน

ตังสิน (Dong Cheng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก พี่ชายของนางตังกุยหุยซึ่งเป็นพระสนมในพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ ดำรงตำแหน่งเป็นนายพลทหารม้า เป็นคนสำคัญคนหนึ่งในการนำพระเจ้าเหี้ยนเต้หนีลิฉุย กุยกีจากเมืองเตียงฮันกลับไปยังลกเอี๋ยง ต่อมาเมื่อโจโฉครองอำนาจ พระเจ้าเหี้ยนเต้ต้องการจะโค่นอำนาจของโจโฉ ก็ใช้มีดกรีดนิ้วเขียนจดหมายลับด้วยเลือด ส่งให้ตังสินช่วยกันหาขุนนางผู้ภักดีมาร่วมกันกำจัดโจโฉเสีย ตังสินก็รวบรวมคนอยู่เรื่อยๆ ต่อมาเคงต๋องคนใช้ใกล้ชิดโกรธที่ถูกตังสินโบยก็นำความไปบอกโจโฉ ตังสินจึงถูกจับประหารชีวิต นางตังกุยหุยน้องสาวของตังสินซึ่งกำลังมีครรภ์อยู่ ก็พลอยถูกรัดคอตายไปด้วย รูปตังสินจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตังสิน · ดูเพิ่มเติม »

ตังไทฮอ

ตังไทฮอ (Empress Dowager Dong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก มารดาบุญธรรมของพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ต่อมาพระนางได้เลี้ยงดูองค์ชายหองจูเหียบผู้เป็นพระนัดดาที่ประสูติมาจากพระนางอองบีหยินหลังพระนางสิ้นพระชนม์ หลังจากพระเจ้าเลนเต้สวรรคต พระนางต้องการให้องค์ชายหองจูเหียบขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้ จึงได้สั่งให้เกียนสิด หนึ่งในสิบขันทีไปสังหารโฮจิ๋นผู้เป็นพี่ชายของพระนางโฮเฮาและเป็นแม่ทัพใหญ่เพื่อกุมอำนาจแต่ล้มเหลว โฮจิ๋นและพระนางโฮเฮากลับชิงสถาปนาองค์ชายหองจูเปียนเป็นฮ่องเต้ไป ทำให้ตังไทฮอไม่พอพระทัย แต่ด้วยคำแนะนำจากสิบขันที จึงได้สถาปนาองค์ชายหองจูเหียบเป็นตันหลิวอ๋องและพระนางก็ออกว่าราชการแทนและให้ตำแหน่งแม่ทัพตังตงผู้เป็นพระอนุชาและคืนตำแหน่งบริหารให้กับสิบขันทีอีกด้วย โฮจิ๋นและพระนางโฮเฮาเห็นว่า ตังไทฮอคิดจะมาแย่งชิงอำนาจจากพวกตน พระนางโฮเฮาได้ตักเตือนแต่ตังไทฮอกลับไม่ฟังแถมยังมีกล่าวตำหนิเสียดสีใส่ ทำให้พระนางโฮเฮาและแม่ทัพโฮจิ๋นร่วมมือกันปลงพระชมน์ด้วยการแต่งตั้งพระบรมราชโองการว่า ตังไทเฮาแต่เป็นชายาอ๋อง เมื่อพระเจ้าเลนเต้ผู้เป็นโอรสบุญธรรมสิ้นแล้ว จึงไม่สิทธิ์อยู่ในพระราชวังและต้องกลับไปอยู่ภูมิลำเนาเดิม หลังจากนั้นเมื่อกลับไปยังบ้านเกิดของพระนาง แม่ทัพโฮจิ๋นได้ส่งคนนำน้ำจัณฑ์ยาพิษไปให้เสวยเป็นเหตุให้ตังไทฮอสวรรคต พระศพก็ได้มาลำเลียงฝังที่พระนครลกเอี้ยงอย่างสมพระเกียรต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตังไทฮอ · ดูเพิ่มเติม »

ตันกุ๋ย

ตันกุ๋ย (Chen Gui) ตัวละครในวรรณกรรมเรื่อง สามก๊ก มีชื่อรองว่า Hanyu เป็นขุนนางที่รับใช้ ลิโป้ ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่ง โจโฉ ได้ติดต่อให้ตันกุ๋ยและ ตันเต๋ง ผู้เป็นบุตรชายเป็นไส้ศึกคอยรายงานความเคลื่อนไหวภายในกองทัพของลิโป้และในเมือง ชีจิ๋ว จนกระทั่งสบโอกาสโจโฉจึงสามารถตีเมืองชีจิ๋วแตกและสามารถจับลิโป้ได้สำเร็.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันกุ๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ตันก๋ง

ฉิน กง ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ ตันก๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ตาย ค.ศ. 198) ชื่อรองว่า กงไถ (公臺) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รับใช้ขุนศึกเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ต่อมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) หลังจากเฉา เชา พิชิตลฺหวี่ ปู้ ในยุทธการเซี่ยพี (下邳之戰) แล้ว ก็ประหารเฉิน กง พร้อมกับลฺหวี่ ปู้ ในนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก (三國演義) เฉิน กง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฮั่น แต่เลื่อมใสเฉา เชา ที่คิดกำจัดทรราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) จึงละทิ้งราชการออกติดตามเฉา เชา แต่เมื่อเห็นเฉา เชา สังหารลฺหวี่ ปั๋วเชอ/ลิแปะเฉีย (呂伯奢) ทั้งตระกูลด้วยความเข้าใจผิด เฉิน กง จึงผละหนีจากเฉา เชา ไปเข้ากับลฺหวี่ ปู้ ท้ายที่สุดก็ถูกเฉา เชา ประหารพร้อมลฺหวี่ ปู้ เช่นเดียวกับในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ตันหลิม

ตันหลิม (Chen Lin, ? — ค.ศ. 217) ชื่อรองว่า ข่งจาง (Kongzhang) เป็นเสนาบดี นักเขียน และกวีแห่ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซึ่งตันหลิมเป็นหนึ่งในเจ็ดกวีที่มีชื่อเสียงที่เรียกกันว่า เจ็ดกวีแห่งยุคเจี้ยนอัน เนื่องจากมีงานเขียนที่มีชื่อเสียงเป็นที่ประจักษ์แก่ปวงชน แต่เดิมตันหลิมรับใช้ราชสำนักโดยเป็นปลัดบัญชีให้กับ โฮจิ๋น แม่ทัพใหญ่ของ ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในตอนเกิดศึกปราบสิบขันทีตันหลิมได้เตือนโฮจิ๋นมิให้เรียก ตั๋งโต๊ะ เข้ามายังพระนคร ลกเอี๋ยง แต่โฮจิ๋นก็ไม่ฟังและเมื่อคราวสิบขันทีได้เขียนจดหมายลวงให้โฮจิ๋นเข้าวังตันหลิมก็ได้เตือนมิให้โฮจิ๋นเข้าวังแต่โฮจิ๋นก็ไม่เชื่อสุดท้ายโฮจิ๋นก็ถูกฆ่าตายเมื่อตั๋งโต๊ะได้ยกทัพเข้าลกเอี๋ยงตันหลิมก็ลาออกจากราชการไปรับใช้ อ้วนเสี้ยว ผู้ตรวจการแห่งกิจิ๋วขุนศึกผู้มีอำนาจทางภาคเหนือในตำแหน่งเลขาธิการทำเนียบ ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันหลิม · ดูเพิ่มเติม »

ตันผวน

ตันผวน (Chen Fan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนนางผู้ใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย มีตำแหน่งเป็นราชองครักษ์ ในรัชสมัยพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ขันทีกุมอำนาจการบริหารราชการ ทำให้อาณาประชาราษฎร์ได้รับความเดือดร้อนจากการโกงกินของเหล่าขันที ตันผวนจึงร่วมกับเตาบูคิดวางแผนจะกำจัดเหล่าขันที แต่เหล่าขันทีรู้ตัวจึงได้นำกำลังไปจับตัวเตาบูและตันผวนไปประหาร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันผวน · ดูเพิ่มเติม »

ตันซิ่ว

ตันซิ่ว (Chen Shou) หรือ เฉินโซ่ว เป็นนักประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์จิ้น และเป็นผู้แต่งจดหมายเหตุสามก๊ก เกิดที่เมืองหนานจง มณฑลเสฉวนในปี พ.ศ. 776 ซึ่งอยู่ยุคสามก๊ก และได้รับราชการกับจ๊กก๊ก ภายหลังวุยก๊กได้ยึดจ๊กก๊ก ตันซิ่วได้ถูกกวาดต้อนไปอยู่ที่วุยก๊ก ต่อมา สุมาเอี๋ยนขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ จึงทรงให้ตันซิ่วเป็นผู้ชำระประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กในชื่อว่า จดหมายเหตุสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันซิ่ว · ดูเพิ่มเติม »

ตันเต๋ง

ตันเต๋ง (Chen Deng) เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เสนาธิการแห่งชีจิ๋ว ผู้คิดอุบายให้โจโฉในการจับตัวลิโป้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตันเต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ตั๋งห้อง

ตั๋งห้อง (Dong Huang เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก บุตรของตั๋งจ้อ พี่ชายตั๋งโต๊ะ เมื่อลิโป้สังหารตั๋งโต๊ะ ตั๋งห้องก็ได้ถูกจับประหารด้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตั๋งห้อง · ดูเพิ่มเติม »

ตั๋งโต๊ะ

ตั๋งโต๊ะ (เสียชีวิต 22 พฤษภาคม ค.ศ. 192) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ต่ง จั๋ว ชื่อรองว่า จ้งอิ่ง (仲穎) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งยึดอำนาจในพระนครลกเอี๋ยง (洛阳 ลั่วหยาง) ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

ต้านท่าย

ต้านท่าย (Chen Tai, ? — ค.ศ. 260) ชื่อรองว่า เซฺวียนป๋อ (Xuanbo) เป็นขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก ต้านท่ายเป็นบุตรชายของ ตันกุ๋น (Chen Qun) ที่ปรึกษาของ โจโฉ และเป็นหลานตาของ ซุนฮก (Xun Yu) ที่ปรึกษาอีกคนหนึ่งของโจโฉเพราะตันกุ๋นแต่งงานกับบุตรสาวของซุนฮก เมื่อตันกุ๋นผู้เป็นบิดาซึ่งดำรงตำแหน่งเจ้ากรมอาลักษณ์ถึงแก่กรรมใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและต้านท่าย · ดูเพิ่มเติม »

ซัวหยง

ซัวหยง ยีหลง หรือ ซัวแก (Cai Yong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนนางผู้ใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นชาวเมืองตันลิว รับราชการในรัชสมัยพระเจ้าฮั่นเลนเต้ มีตำแหน่งที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน มีบุตรสาวชื่อ ไซ่เหวินจี ในรัชสมัยพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ขันทีกุมอำนาจการบริหารราชการ ทำให้อาณาประชาราษฎร์ได้รับความเดือดร้อนจากการโกงกินของเหล่าขันที บ้านเมืองในยุคนั้นเกิดอาเพศต่างๆมากมาย ซัวหยงได้เขียนจดหมายลับถวายแด่พระเจ้าเลนเต้มีใจความว่า ที่แผ่นดินเกิดอาเพศเป็นเพราะขันทีทั้งสิบกระทำการอันมิชอบ สิบขันทีจึงหาเหตุใส่ร้ายซัวหยง และยุยงพระเจ้าเลนเต้ให้ปลดซัวหยงออกจากราชการ ออกไปอยู่บ้านนอก ต่อมา ตั๋งโต๊ะได้ขึ้นมามีอำนาจในวังหลวง ตั๋งโต๊ะได้บังคับให้ซัวหยงกลับมารับราชการ มิฉะนั้นจะฆ่าเสีย แล้วตั้งให้เป็นสมุหพระราชวัง เมื่อตั๋งโต๊ะถูกลิโป้สังหาร ซัวหยงเป็นขุนนางเพียงคนเดียวที่ไปร้องไห้หน้าศพของตั๋งโต๊ะ อ้องอุ้นโกรธจึงสั่งให้ทหารนำตัวซัวหยงไปทรมานจนต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซัวหยง · ดูเพิ่มเติม »

ซินผี

ซินผี (?-?) เป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงใน ยุคสามก๊ก โดยเป็นที่ปรึกษาของ วุยก๊ก แต่เดิมซินผีเป็นที่ปรึกษาให้กับ อ้วนเสี้ยว ขุนศึกผู้ทรงอิทธิพลทางภาคเหนือแต่หลังจากอ้วนเสี้ยว พ่ายแพ้ต่อ โจโฉ ใน ศึกกัวต๋อ เมื่อปี ค.ศ. 200 ซินผีจึงได้ย้ายมาเป็นที่ปรึกษาให้กับวุยก๊กโดยเป็นที่ปรึก ษาของ โจสิด บุตรชายคนที่ 3 ของ โจโฉ และจักรพรรดิองค์ที่ 2 ของ ราชวงศ์วุย คือ พระเจ้าโจยอย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:สามก๊ก หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซินผี · ดูเพิ่มเติม »

ซุนกวน

ระเจ้าซุนกวน (181 — 252) หรือ พระเจ้าหวูต้าตี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและพระมหากษัตริย์ของง่อก๊ก (吳) หนึ่งในสามอาณาจักรของยุคสามก๊ก ซุนกวนเป็นบุตรคนที่สองของซุนเกี๋ยน และเป็นน้องชายของซุนเซ็ก เมื่อซุนเซ็กพี่ชายตายไปจึงได้ขึ้นครองเมืองกังตั๋งแทนด้วยวัยแค่ 18 ปี แม้ซุนกวนจะไม่ปรากฏความสามารถในการรบเหมือนผู้พี่แต่มีความสามารถในการปกครองสูงมาก มารดาของซุนกวนได้ตายไปก่อนหน้านี้ ผู้ที่เลี้ยงซุนกวนขึ้นมา คือ ง่อก๊กไท่ ผู้มีศักดิ์เป็นน้าของซุนกวน ซึ่งซุนกวนนับถือง่อก๊กไท่ผู้นี้เสมือนแม่แท้ ๆ ของตัว ซุนกวนมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว มีตาสีเขียว หนวดเคราแดง เมื่อขึ้นครองเมืองแต่ยังเล็ก จึงได้รับฉายาว่า "ทารกตาเขียว" ซึ่งในบรรดาผู้นำก๊กทั้ง 3 นั้น ซุนกวนเป็นผู้มีอายุน้อยที่สุด แม้ตอนที่โจโฉยกทัพไปรบกับง่อก๊กของซุนกวนในศึกหับป๋า ซุนกวนก็บัญชาการรบอย่างแข็งขัน จนโจโฉที่แม้แต่เป็นศัตรูยังเอ่ยปากชมว่า "ถ้าจะได้บุตร ต้องได้บุตรอย่างซุนกวน" ซุนกวนมีน้องสาวอยู่นางหนึ่ง เป็นบุตรสาวของง่อก๊กไท่ ชื่อว่าซุนซางเซียงแต่เรียกกันว่า ซุนฮูหยิน ซึ่งต่อมาในภายหลังได้แต่งงานกับเล่าปี่ เป็นภรรยาคนที่ 3 ของเล่าปี่ ซุนกวนออกอุบายให้นางกลับคืนมาง่อก๊ก โดยเชิญนางให้เร่งรีบกลับมาพร้อมอาเต๊าโดยที่เล่าปี่ไม่รู้ แต่ขงเบ้งอ่านอุบายออก จึงให้จูล่งเร่งรีบเดินทางติดตามไป เมื่อถึงเรือของนางก็กระโดดขึ้นเรือขอให้นางกลับไป แต่นางไม่ยอม จูล่งจึงให้นางไปได้แต่อาเต๊า บุตรของเล่าปี่ต้องอยู่ ท้ายที่สุดอาเต๊าก็ได้กลับไปจ๊กก๊ก และเมื่อซุนฮูหยินทราบเมื่อกลับไปถึงว่านี่เป็นอุบายของพี่ชาย ก็เศร้าโศกเสียใจ ท้ายที่สุดนางก็ตรอมใจตาย ซุนกวน เองก็ปรารถนาก็จะเป็นใหญ่ในแผ่นดินเช่นเดียวกับโจโฉและเล่าปี่ เมื่อตอนที่เล่าปี่มาที่ง่อก๊กเพื่อที่จะสมรสกับซุนฮูหยิน แต่ซุนกวนได้ให้คนคอยซุ่มทำร้ายเล่าปี่อยู่เป็นระยะ ๆ เล่าปี่ก็รู้ทันและได้จูล่งแก้สถานการณ์ให้ เมื่อออกมาจากงานได้รำพันถอดถอนหายใจถึงชะตากรรมตัวเอง และได้เจอหินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่ง เล่าปี่อธิษฐานว่าหากตนจะได้เป็นใหญ่ ขอให้ใช้กระบี่ฟันหินนี้ให้แตกเป็น 2 ท่อน ก็ปรากฏว่าฟันหินได้ขาดจริง ๆ ซุนกวนเห็นดังนั้นจึงอธิษฐานบ้าง ก็ปรากฏว่าสามารถฟันหินได้แตกเช่นกัน และทั้งคู่จึงได้ขี่ม้าออกชมทัศนียภาพของง่อก๊กด้วยกัน แต่นโยบายในการทำสงครามของซุนกวนจะไม่ประกาศเป็นศัตรูกับก๊กใหญ่อีก 2 ก๊ก นั้นอย่างเต็มที่ แต่จะผูกไมตรีกับทุกก๊กที่จะเป็นประโยชน์กับตัวเอง ดังจะเห็นว่า ซุนกวนเองแม้จะผูกไมตรีกับจ๊กก๊ก แต่ก็หาทางจะกำจัดเล่าปี่อยู่เสมอ ๆ ถ้ามีโอกาส และซุนกวนเองก็เป็นสาเหตุการตายของกวนอู โดยซุนกวนออกอุบายทำให้จับกวนอูได้ จากนั้นจึงตัดหัวกวนอูส่งไปให้โจโฉ ซึ่งทำให้ทั้งเล่าปี่และเตียวหุยแค้นซุนกวนมาก และทั้งเตียวหุยและเล่าปี่ก็ต้องมาตายด้วยการมาแก้แค้นให้กวนอูทั้งสิ้น และต่อมาใน ปี..252 พระเจ้าซุนกวนสวรรคต รวมเวลาเสวยราชย์อยู่ได้ 24 ปี ภายหลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคตไปแล้ว พระโอรสก็ได้ขึ้นเป็นผู้นำก๊กต่อ แต่สภาพภายในง่อก๊กไม่แข็งแกร่งเหมือนเก่า ขุนนางแตกแยกกันเอง จนนำมาสู่การล่มสลายของก๊กในที.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนกวน · ดูเพิ่มเติม »

ซุนหลิม (เหลนของซุนเกี๋ยน)

ซุนหลิม (Sun Xin, ? — ?) ขุนศึกแห่งง่อก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก ซุนหลิมเป็นเหลนของ ซุนเฉียง น้องชายของ ซุนเกี๋ยน ผู้ก่อตั้งง่อก๊กและเป็นพระบิดาของ พระเจ้าซุนกวน ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ง่อซึ่งซุนหลิมได้มีบทบาทสำคัญใน ยุทธการที่แฮเค้า เมื่อคราวที่ พระเจ้าซุนโฮ จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ง่อได้ส่งเขาและ Shen Ying ไปป้องกันเมืองแฮเค้าจากการโจมตีของกองทัพจิ้นภายใต้การนำของ โจวจื่อ สุดท้ายกองทัพง่อก๊กไม่อาจรักษาเมืองแฮเค้าไว้ได้และซุนหลิมก็สละชีพในการรบครั้งนี้โดยถูกโจวจื่อสังหารในที่รบพร้อมกับ Shen Ying.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนหลิม (เหลนของซุนเกี๋ยน) · ดูเพิ่มเติม »

ซุนจุ๋น

ซุนจุ๋น (ค.ศ. 219 — ค.ศ. 256) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชสมัย พระเจ้าซุนเหลียง จักรพรรดิองค์ที่ 2 และ พระเจ้าซุนฮิว จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่ง ราชวงศ์ง่อ ในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก ซุนจุ๋นเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนจุ๋น · ดูเพิ่มเติม »

ซุนโห

ซุนโห (Sun He, ค.ศ. 224 — ค.ศ. 253) มีพระนามรองว่า จื่อเซี่ยว เป็นรัชทายาทองค์ที่ 2 แห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซุนโหประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนโห · ดูเพิ่มเติม »

ซุนโฮ

ซุนโฮ (Sun Hao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งง่อก๊ก ได้ชื่อว่าเป็นฮ่องเต้ที่เป็นทรราชย์มากที่สุดผู้หนึ่งจนอาณาจักรล่มสลาย เป็นราชโอรสในพระเจ้าซุนเหลียง ราชโอรสในพระเจ้าซุนกวน ขึ้นครองราชย์หลังจากที่ พระเจ้าสุมาเอี๋ยนหลังจากที่กลืนจ๊กก๊กไปแล้ว ก็หมายจะถล่มง่อก๊ก พระเจ้าซุนฮิวตกพระทัยจนประชวรและสิ้นพระชนม์ลง บรรดาขุนนางง่อก๊กครั้นเมื่อถวายพระศพพระเจ้าซุนฮิวเสร็จแล้ว ก็มีความเห็นตรงกันว่า ควรเชิญซุนเปียน ราชบุตรขึ้นครองราชย์สืบไปตามประเพณี แต่บั้นเฮ็กและเตียวเป๋าขุนนางผู้ใหญ่ คัดค้านเพราะมีความเห็นว่า ถ้าเป็นซุนเปียนเกรงว่าบ้านเมืองจะไปไม่รอด จึงเห็นว่าควรทูลเชิญซุนโฮ ผู้เป็นราชนัดดาในพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์จะสมกว่า เพราะมีสติปัญญาเฉียบแหลมกว่า จึงมีพิธีราชาภิเษกขึ้นในวันขึ้นหนึ่งค่ำ เดือนเก้า เมื่อได้ครองราชย์แล้ว พระเจ้าซุนโฮก็สถาปนาซุนเปียนเป็นเจ้าเจี๋ยงอ๋อง ให้ขุนพลเตงฮองเป็นต้ายสุมา จากนั้นก็ทรงมีพฤติกรรมวิปริต มิได้ตั้งอยู่ในธรรม ทรงฟังแต่คำของยิมหุน ขันทีในวัง เอียงเหียงและเตียวเป๋าได้เข้าไปทูลห้ามเตือนหลายต่อหลายครั้ง พร้อมกล่าวว่า ถ้าพระองค์ขืนประพฤติองค์เช่นนี้ ไม่ช้าแผ่นดินนี้จะต้องตกเป็นของสุมาเอี๋ยนอย่างแน่นอน พระเจ้าซุนโฮกริ้ว จึงสั่งให้ประหารขุนนางทั้งสอง จากนั้นมาก็ไม่มีใครกล้าเพ็ดทูลห้ามปรามอีกเลย วันหนึ่ง พระเจ้าซุนโฮแปรพระราชฐานจากกังตั๋ง ไปประทับอยู่ยังเมืองบู๊เฉียง ก็ทรงใช้จ่ายพระราชทรัพย์ในการสร้างพระราชวังแห่งใหม่อย่างฟุ่มเฟื่อย จากการขูดรีดภาษีราษฎร พร้อมเสพสมกามากับเด็กสาววัยรุ่นมากมาย ต่อมาได้ทรงให้โหรหลวงทำนายดวงชะตา โหรทำนายว่า ต่อไปภายภาคหน้า พระเกียรติยศจะขจรขจายไปถึงลกเอี๋ยง พระเจ้าสุมาเอี๋ยนต้องมาสยบกับแทบพระบาท พระเจ้าซุนโฮดีพระทัยนัก จึงฮึกเหิมหมายจะบุกตีนครลกเอี๋ยง จึงเรียกบรรดาขุนนางมาประชุมถึงการบุกไปตีลกเอี๋ยง หอกหยก ขุนนางคนหนึ่งจึงทูลคัดค้านไปพร้อมกับสั่งสอนพระองค์ให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ทำนุบำรุงราษฎร บ้านเมืองจะดีกว่า พระเจ้าซุนโฮทรงกริ้วไล่หอกหยกออกจากราชการ พร้อมกับดึงดันแต่งตั้งให้ลกข้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกทัพไปประชิดเมืองซงหยง ปากทางเข้าอาณาจักรไต้จิ้น พระเจ้าสุมาเอี๋ยน จึงมีบัญชาให้เอียวเก๋า เจ้าเมืองซงหยงตั้งพร้อมเตรียมรับศึก เอียวเก๋าเป็นผู้มีเมตตาธรรม ไม่ชอบออกทัพจับศึก จึงคิดผูกไมตรีกับลกข้อง ท้ายที่สุดลกข้องก็ปลาบปลื้มในน้ำใจเอียวเก๋า มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนโฮว่า ทางฝ่ายนี้มิได้คิดร้ายขออย่าได้สู้รบกันเลย พระเจ้าซุนโอก็กริ้ว สั่งปลดลกข้องออกจากตำแหน่ง และยกให้ซุนอี้เป็นแม่ทัพแทน ในเวลานั้น ขุนนางคนใดไม่เห็นด้วยกับพระองค์ ก็จะถูกปลดหรือถูกประหารชีวิตไปหมดสิ้น ทางฝ่ายเอียวเก๋า เมื่อทราบว่าลกข้องถูกปลดออกจากแม่ทัพใหญ่แล้ว มีหนังสือทูลไปยังพระเจ้าสุมาเอี๋ยน เป็นเวลาที่เหมาะสมแล้วที่จะบุกตีง่อก๊ก แต่กาอุ้นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ไม่เห็นด้วย เอียวเก๋าจึงเดินทางกลับลกเอี๋ยง และลาออกจากราชการ ไปพักอาศัยอยู่ยังบ้านเดิม จนกระทั่งสิ้นชีวิต ก่อนสิ้นชีวิตเอียวเก๋าได้กราบทูลว่า บัดนี้เห็นควรแต่งตั้ง เตาอี้ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำการนี้แทน ท้ายที่สุดเตาอี้ก็สามารถเอาชนะง่อก๊กได้สำเร็จ ในปี พ.ศ. 823 แผ่นดินจีนจึงควบรวมเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง หลังจากแตกแยกเป็นสามก๊กนานถึง 60 ปี สำหรับ พระเจ้าซุนโฮ ทอดพระเนตรความพ่ายแพ้ของอาณาจักรพระองค์เองบนกำแพงเมือง และได้ทรงยอมแพ้ ถวายบรรณาการแด่พระเจ้าสุมาเอี๋ยน พระเจ้าสุมาเอี๋ยนก็แต่งตั้งให้เป็นอุ้ยเบ้งเฮา ขุนนางง่อก๊กทั้งหลายก็แต่งตั้งให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมกันไป เป็นอันอวสานของอาณาจักรง่อ หรือ อู๋ ที่ดำรงมานานกว่า 58 ปี (พ.ศ. 765- พ.ศ. 823) หลังจากนั้นอีกต่อมา 4 ปี พระเจ้าซุนโฮก็สวรรคตด้วยพระชนมายุ 43 พรรษา ครองราชย์ได้ 12 ปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ซุนเกียว

ซุนเกียว (Sun Jiao, ? — ค.ศ. 219) มีชื่อรองว่า ซู้หล่าง (Shulang) เป็นขุนศึกแห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซุนเกียวเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ ซุนเจ้ง (Sun Jing) น้องชายของ ซุนเกี๋ยน (Sun Jian) ผู้ก่อตั้งง่อก๊กจึงมีศักดิ์เป็นพระภาติยะ (ลูกพี่ลูกน้อง) กับ พระเจ้าซุนกวน ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ง่อ เมื่อคราวที่ซุนกวนมีความประสงค์ที่จะยึดคืนเกงจิ๋ว (Jing Province) จาก จ๊กก๊ก พร้อมกับจับตัว กวนอู ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ซุนเกี๋ยน

ระเจ้าซุนเกี๋ยน (Sun Jian) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพและขุนศึกในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และยุคสามก๊กช่วงต้น ซุนเกี๋ยนไต่เต้าจากตำแหน่งขุนนางต่ำต้อยจนเป็นเจ้าเมืองเตียงสา เข้าร่วมกับกองทัพ 18 หัวเมืองตะวันออกต้านตั๋งโต๊ะในฐานะลูกน้องของอ้วนสุด สามารถเอาชนะกองทัพของตั๋งโต๊ะจนได้รับฉายาว่า "พยัคฆ์กังตั๋ง" หรือ "พยัคฆ์แดนใต้" และกำลังจะยึดเมืองลกเอี๋ยง แต่อ้วนสุดเกิดอิจฉาริษยาที่ซุนเกี๋ยนได้ชัยชนะและถ้าหากยึดเมืองลกเอี๋ยงได้ ซุนเกี๋ยนก็จะได้รับความดีความชอบไป จึงตัดสินใจแกล้งไม่ส่งเสบียงให้แก่ทัพของซุนเกี๋ยน จนในที่สุดซุนเกี๋ยนรบพ่ายแพ้และไปเอาเรื่องกับอ้วนสุด แต่อ้วนสุดกลับเอาตัวรอดได้ด้วยการโยนความผิดและประหารชีวิตเจ้าหน้าที่ส่งเสบียงไป ต่อมาหลังจากตั๋งโต๊ะเผาเมืองหนีไปยังเตียงฮัน ซุนเกี๋ยนลาดตระเวณทั่วเมืองจนกระทั่งได้พบกับตราหยกแผ่นดินโดยบังเอิญในศพหญิงรับใช้ในวังที่กระโดดบ่อน้ำตาย ลูกน้องและคนของซุนเกี๋ยนจึงสรรเสริญว่า ซุนเกี๋ยนเป็นผู้มีบุญต่อไปจะได้เป็นฮ่องเต้ ทำให้ซุนเกี๋ยนตัดสินใจออกจากกองทัพ 18 หัวเมืองเพื่อไปตั้งตนเป็นใหญ่แต่อ้วนเสี้ยวรู้เข้าจึงบีบให้ส่งตราหยกมา แต่ซุนเกี๋ยนกลับไม่ยอมให้และตีจากไป อ้วนเสี้ยวได้ส่งเล่าเปียวไปชิงตราหยกกลับคืนมาแต่ไม่สำเร็จ หลังจากนั้นซุนเกี๋ยนและเล่าเปียวก็เป็นศัตรูกัน เวลาต่อมาซุนเกี๋ยนได้คิดที่จะสถาปนาเมืองกังตั๋งให้ขึ้นมาเข้มแข็งบ้าง ซึ่งต่อมาถือได้ว่าเป็นพื้นฐานสำคัญให้กับการตั้งตัวของง่อก๊ก โดยซุนเซ็กและซุนกวน บุตรชายทั้ง 2 หลังจากนั้นอ้วนสุดมีคำสั่งให้ซุนเกี๋ยนโจมตีเมืองเกงจิ๋วของเล่าเปียว แต่ซุนเกี๋ยนเสียชีวิตในการรบในระหว่างไล่โจมตีหองจอ ลูกน้องของเล่าเปียว ภายหลังซุนกวนสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิ แล้วทรงสถาปนาตำแหน่งซุนเกี๋ยนผู้เป็นพระบิดาของพระองค์เป็นจักรพรรดิด้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนเกี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

ซุนเต๋ง

ซุนเต๋ง (Sun Deng, ค.ศ. 209 — ค.ศ. 241) มีพระนามรองว่า จื่อเกา (Zhigao) เป็นรัชทายาทแห่ง ง่อก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซุนเต๋งประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนเต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ซุนเซ็ก

ระเจ้าซุนเซ็ก (จีนตัวเต็ม: 孫策 จีนตัวย่อ: 孙策 พินอิน: Sūn Cè สำเนียงจีนกลาง ซุนฉี) หรือ เตียงสาหวนอ๋อง (長沙桓王) ค.ศ. 174–ค.ศ. 200 เป็นแม่ทัพและขุนศึกในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และยุคสามก๊กของประเทศจีน ซุนเซ็กเป็นบุตรชายคนโตจากทั้งหมดสี่คนของซุนเกี๋ยน ติดตามซุนเกี๋ยนออกรบตั้งแต่อายุ 15 ปี หลังซุนเกี๋ยนตาย จึงไปขออยู่ด้วยกับอ้วนสุด และ สามารถรวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ มากมาย ซุนเซ็กกับจิวยี่เพื่อนสนิท ที่เป็นกุนซือ ยังสามารถแยกตัวออกมากลายเป็นก๊กที่สามได้ครองหัวเมืองกังตั๋ง ซุนเซ็กเป็นนักรบที่มีจิตใจห้าวหาญ ไม่กลัวใคร จนได้ฉายาว่า "ฌ้อปาอ๋องน้อย" นับถือและชอบคบหากับผู้มีความสามารถ มีอุปนิสัยใช้คนอย่างไม่สงสัย ถ้าสงสัยไม่ใช้ สามารถเอาชนะใจไทสูจู้ด้วยการสู้รบกันตัวต่อตัวเป็นเวลานาน ซุนเซ็กมักไปไหนมาไหนด้วยตัวคนเดียว ไม่มีทหารติดตาม จึงถูกปองร้ายด้วยเกาทันฑ์อาบยาพิษ โดยหมอบอกว่าห้ามโกรธเป็นเวลาร้อยวัน แต่สุดท้ายซุนเซ็กก็ไม่สามารถระงับความโกรธได้และเสียชีวิตในที่สุด ด้วยอายุเพียง 26 ปี ภายหลังซุนกวนน้องชายคนรอง ได้ขึ้นปกครองแทนกลายเป็นผู้นำของง่อก๊ก ซึ่งก่อนเสียซุนเซ็กได้สั่งเสียซุนกวนว่า "การภายในให้ปรึกษาเตียวเจียว การภายนอกให้ปรึกษาจิวยี่" ภรรยาของซุนเซ็กคือ นางไต้เกี้ยวธิดาของเกี้ยวกงผู้เฒ่าแห่งเมืองกังตั๋ง พี่สาวของนางเสียวเกี้ยว ซึ่งเป็นภรรยาของจิวยี่ หลังสิ้นพระชนม์พระเจ้าซุนกวนทรงสถาปนาตำแหน่งให้ซุนเซ็กผู้เป็นพระเชษฐาของพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งง่อก๊กด้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและซุนเซ็ก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. ประวัติศาสตร์จีนมีทั้งช่วงที่เป็นปึกแผ่นและแตกเป็นหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น เช่น มองโกล แมนจู ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของจีนมีอิทธิพลอย่างสูงต่อชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย และในสังคมโลก ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นไม่มีหลักฐานแน่ชัดนักว่าเริ่มต้นเมื่อไร แต่จากการขุดพบวัตถุโบราณตามลุ่มแม่น้ำฉางเจียงและหวางเหอ แบ่งช่วงเวลานี้ออกได้เป็นสังคมสองแบบ แบบแรกเป็นช่วงที่ผู้หญิงเป็นใหญ่เรียกว่าช่วงวัฒนธรรมหยางเซา และช่วงที่ผู้ชายเป็นใหญ่เรียกว่าวัฒนธรรมหลงซาน ตำนานเล่ากันว่าบรรพบุรุษจีนมีชื่อเรียกว่า หวางตี้ และ เหยียนตี้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและประวัติศาสตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ปู้ฮูหยิน

ปู่้ฮูหยิน หรือ พระสนมปู้ (Bu Lianshi; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 238) พระสนมใน พระเจ้าซุนกวน ปฐมจักรพรรดิแห่ง ง่อก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและปู้ฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

แพ่เป๊ก

แพ่เป๊ก(Peng Bo)เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนนางสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นผู้ทัดทานตั๋งโต๊ะมิให้สังหารโลต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแพ่เป๊ก · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวหุย

แฮหัวหุย (Xiahou Wei ? — ?) มีชื่อรองว่า จี้กวน เป็นขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวหุย · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวฮุย (ภรรยาของสุมาสู)

แฮหัวฮุย (Xiahou Hui, ค.ศ. 211 — ค.ศ. 234) ภรรยาของ สุมาสู ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก แฮหัวฮุยเป็นบุตรสาวของ แฮหัวซง บุตรบุญธรรมของ แฮหัวเอี๋ยน และเป็นพระสหายสนิทของ พระเจ้าโจผี ปฐมจักรพรรดิแห่งวุยก๊กต่อมาแฮหัวฮุยได้สมรสกับสุมาสูบุตรชายคนโตของ สุมาอี้ ที่ปรึกษาของ โจโฉ ผู้ก่อตั้งวุยก๊กโดยนางมีบุตรสาวกับสุมาสูทั้งสิ้น 5 คนโดยไม่มีบุตรชาย แฮหัวฮุยถึงแก่กรรมเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวฮุย (ภรรยาของสุมาสู) · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวตุ้น

แฮหัวตุ้น (Xiahou Dun) เป็นนายพลภายใต้ทัพวุยก๊กของโจโฉในยุคสามก๊กในประวัติศาสตร์จีน แฮหัวตุ้นยังเป็นญาติกับโจโฉโดยแต่เดิมโจโฉนามสกุล "แฮหัว" แต่ได้เปลี่ยนตามพ่อบุญธรรมเป็นสามสกุล "โจ" แฮหัวตุ้นเป็นแม่ทัพมือขวาและยังเป็นลูกพี่ลูกน้องที่โจโฉให้ความไว้วางใจมากที่สุดคนหนึ่ง และเขาก็เป็นคนที่อยู่กับโจโฉมาตั้งแรกเริ่มที่โจโฉเริ่มก่อการจวบจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งเขาได้โจโฉขยายอำนาจในการต่อสู้กับ เล่าปี่ ซุนกวน และ ลิโป้ แฮหัวตุ้นสูญเสียดวงตาข้างซ้ายในศึกเสียวพ่าย ในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวป๋า

แฮหัวป๋า (Xiahou Ba) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นบุตรชายคนโตของแฮหัวเอี๋ยน มีชื่อรองว่า ชงเฉวียน ห้าวหาญเหมือนบิดา ชำนาญการยิงเกาทัณฑ์บนหลังม้า เป็นที่รักของทหารในบังคับบัญชา แฮหัวป๋าออกศึกหลายครั้งในบังคับบัญชาของสุมาอี้ ภายหลังร่วมกับโจซองคิดโค่นอำนาจสุมาอี้เพื่อรักษาราชบัลลังก์โจฮอง แต่สุมาอี้ล่วงรู้แผนการจึงทำรัฐประหารยึดอำนาจโจซองและจับโจซองและพรรคพวกประหาร ส่วนแฮหัวป๋าหนีไปสวามิภักดิ์ต่อเกียงอุย แฮหัวป๋าได้ออกรบในบังคับบัญชาของเกียงอุยหลายครั้ง เกียงอุยขัดข้องสิ่งใดมักจะถามแฮหัวป๋า ในการรบชิงเมืองเตียงเจี๋ยง แฮหัวป๋าตกในอุบายทิ้งเมืองของเตงงาย จึงยกทัพเข้าไปในเมือง ทหารเตงงายได้ยิงเกาทัณฑ์ ทุ่มก้อนหินถูกแฮหัวป๋าเสียชีวิต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวป๋า · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวโฮ

แฮหัวโฮ (Xiahou He) ขุนศึกแห่งวุยก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก แฮหัวโฮเป็นบุตรชายของ แฮหัวเอี๋ยน ขุนศึกรุ่นก่อตั้งวุยก๊กมีความสามารถในการพูดใน การบุกขึ้นเหนือของจูกัดเหลียง แฮหัวโฮเป็นรองแม่ทัพภายใต้การบังคับบัญชาของ สุมาอี้ ออกรบต่อสู้กับ จ๊กก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวโฮ · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวเอี๋ยน

แฮหัวเอี๋ยน (Xiahou Yuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพคนสำคัญของโจโฉ ชื่อรองเหมี่ยวฉาย เป็นน้องของแฮหัวตุ้น มีบุตรชายสี่คนคือแฮหัวป๋า แฮหัวหุย แฮหัวฮุยและแฮหัวโห สวามิภักดิ์กับโจโฉตั้งแต่ตั้งกองทัพพันธมิตร 18 หัวเมือง เป็นแม่ทัพที่เก่งกล้าและเป็นคนที่โจโฉไว้ใจมากคนหนึ่ง ชำนาญการใช้ธนูอย่างมาก จึงได้ฉายาว่า จอมขมังธนูแห่งวุยก๊ก เมื่อเล่าปี่เตรียมทัพจะตีฮันต๋ง โจโฉได้ส่งแฮหัวเอี๋ยนไปรักษาที่เขาเตงกุนสันอันเป็นชัยภูมิสำคัญเปรียบเหมือนคอหอยของเมืองฮันต๋ง หากเสียเขาเตงกุนสันไปการยกทัพตีฮันต๋งก็จะง่ายดาย แฮหัวเอี๋ยนได้รบกับฮองตงแม่ทัพของเล่าปี่ และถูกสังหารในที.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวเทียน

แฮหัวเทียน (Xiahou Xuan, ค.ศ. 209 — ค.ศ. 254) มีชื่อรองว่า ไท่ฉู่ (Taichu) ขุนพลแห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก แฮหัวเทียนเป็นบุตรชายของ แฮหัวซง (Xiahou Shang) พระญาติและพระสหายสนิทของ พระเจ้าโจผี (Cao Pi) และเป็นพี่ชายของ แฮหัวฮุย (Xiahou Hui) ภรรยาของ สุมาสู (Sima Shi) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งวุยก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแฮหัวเทียน · ดูเพิ่มเติม »

แผนหลงจง

วาดแสดงแผนที่ตามแผนหลงจง แผนหลงจง (Longzhong Plan; 隆中對) เป็นชื่อเรียกแผนยุทธศาสตร์ที่จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) นักยุทธวิธีและผู้ปกครองชาวจีนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 เป็นผู้เสนอ แผนดังกล่าวเป็นรากฐานสำหรับแผนใหญ่ของขุนศึกเล่าปี่ (หลิวเป้ย) และจ๊กก๊ก (รัฐฉู่) ในสมัยสามก๊กต่อมา ใจความสำคัญเล็งเห็นการยึดฐานภูมิภาคที่อยู่รอดได้ในภาคใต้ของจีน แล้วโจมตีสองง่ามเพื่อพิชิตภาคเหนือ แม้แผนดังกล่าวจะพุ่งเป้าไปยังวุยก๊ก (รัฐเว่ย์) ที่เข้มแข็ง แต่เป้าหมายบั้นปลายในการสร้างเอกภาพอีกครั้งซึ่งจักรวรรดิราชวงศ์ฮั่นที่ล่มสลายจำเป็นต้องทำลายง่อก๊ก (รัฐอู๋) ของซุนกวน (ซุนเฉวียน) ฝ่ายทิศตะวันออกด้วย จูกัดเหลียงเข้าร่วมกับหลิวเป้ยเป็นโหมวจึ้ (謀士) หรือที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและแผนหลงจง · ดูเพิ่มเติม »

โกกัน

กกัน (Gao Gan, ? — ค.ศ. 206) ขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก โกกันเป็นหลานชายของ อ้วนเสี้ยว เมื่ออ้วนเสี้ยวได้ก่อตั้งกองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองในการปราบตั๋งโต๊ะ (Coalition against Dong Zhuo) เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโกกัน · ดูเพิ่มเติม »

โกะหยง

กะหยง (Gu Yong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เสนาธิการง่อก๊ก มีนิสัยตรงไปตรงมา ยึดมั่นในกฎระเบียบ เคร่งครัดเป็นนิสัย โกะหยงเป็นขุนนาง ที่บริหารบ้านเมืองได้ดีเยี่ยม ตำแหน่งสุดท้ายคือเฉิงเซี่ยง หรือตำแหน่งขุนนางยศสูงที่สุดของฝ่ายง่อ โดยโกะหยงเป็นเฉิงเสี่ยง คนที่สองต่อจากซุนเสียว โกะหยงตายเพราะถูกอาของตนวางยาพิษในอาหารด้วยความอิจฉ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโกะหยง · ดูเพิ่มเติม »

โกซุ่น

โกซุ่น หรือ กอสุ้น (Gao Shun) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนพลของลิโป้ เป็นขุนพลกองหน้าให้ลิโป้หลายครั้ง ครั้งหนึ่ง ลิโป้ได้ให้โกซุ่นกับเตียวเลี้ยวล้อมเมืองเสียวพ่ายของเล่าปี่ไว้ โจโฉจึงส่งแฮหัวตุ้น แฮหัวเอี๋ยน ลิเตียน ลิยอยไปช่วยเล่าปี่ โกซุ่นได้รบกับแฮหัวตุ้น และแกล้งแพ้ ให้โจเสงทหารคนสนิทยิงเกาทัณฑ์ถูกลูกตาของแฮหัวตุ้น แฮหัวตุ้นดึงเกาทัณฑ์ออกมาลูกตาได้ติดเกาทัณฑ์มาด้วยจึงกินลูกตานั้นไป และเข้าสังหารโจเสงทำให้ทหารโกซุ่นเสียขวัญ แต่โกซุ่นทำศึกชนะแฮหัวตุ้นได้ จนต้องยกทัพกลับ เมื่อโจโฉยึดเมืองแห้ฝือจับตัวลิโป้ได้ โกซุ่นได้ถูกนำตัวมาไต่สวนด้วย และถูกตัดสินให้ถูกประหาร หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโกซุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โกเสียง

กเสียง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าเกาเสียง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นขุนพลของจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโกเสียง · ดูเพิ่มเติม »

โลติด

ลติด (Lu Zhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็น 1 ใน 3 แม่ทัพใหญ่ซึ่งมีหน้าที่ในการปราบปรามโจรโพกผ้าเหลือง อันได้แก่ โลติด ฮองฮูสง จูฮี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโลติด · ดูเพิ่มเติม »

โลซก

ลซก (Lu Su) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เสนาธิการของง่อก๊ก มีชื่อรองว่า จื้อจิง (ปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อซุนกวนส่งตัวไปเกงจิ๋วเพื่อคาราวะศพเล่าเปียวที่เพิ่งเสียชีวิตไม่นาน ขณะนั้นเล่าปี่กำลังลำบากเนื่องจากหาเมืองอาศัยไม่ได้ เพราะถูกรุกรานอย่างหนักจากโจโฉ ขงเบ้งจึงว่านี่เป็นโอกาสดีที่จะได้ความช่วยเหลือจากซุนกวน โดยจะชักชวนซุนกวนให้ร่วมรบกับโจโฉ อันเป็นที่มาของศึกเซ็กเพ็กอันลือลั่น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโลซก · ดูเพิ่มเติม »

โว่หลงกัง

ทางเข้าวัดวู่โหฺว ที่โว่หลงกัง โว่หลงกัง ตามสำเนียงกลาง หรือ โงลังกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นทัศนียเขตทางวัฒนธรรมใน เมืองหนันหยาง มณฑลเหอหนัน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงเป็นอันมากเนื่องจากจูเกอ เลี่ยง (ฮกเกี้ยนว่า จูกัดเหลียง) อัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐฉู่ฮั่นในสมัยสามอาณาจักร เคยพำนักอยู่เกือบสิบปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโว่หลงกัง · ดูเพิ่มเติม »

โฮอั๋น

อั๋น (He Yan, ค.ศ. 195 — ค.ศ. 249) หรือ เหอหยัน มีชื่อรองว่า ผิงฉู่ (Pingshu) เป็นขุนนางและนักปราชญ์แห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก โฮอั๋นเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโฮอั๋น · ดูเพิ่มเติม »

โฮจิ๋น

หอ จิ้น หรือสำเนียงแต้จิ๋วว่า โฮจิ๋น (เสียชีวิต 22 กันยายน ค.ศ. 189) มีชื่อรองว่าซุ่ยเกา เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนนางผู้ใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นบุตรคนโตของนางบูยงกุ๋น เป็นพี่ชายของพระนางโฮเฮา ซึ่งเป็นมเหสีของพระเจ้าเลนเต้ เป็นผู้นำกองทัพปราบโจรโพกผ้าเหลืองตอนปลายรัชสมัยของพระเจ้าเลนเต้ เมื่อพระเจ้าเลนเต้สวรรคต โฮจิ๋นได้ตั้งหองจูเปียนโอรสองค์โตของพระเจ้าเลนเต้และนางโฮเฮาขึ้นเป็นฮ่องเต้แทน และคิดกำจัด 10 ขันที และพวกขันทีรู้ตัวก่อนจึงลวงโฮจิ๋นไปฆ่า รูปโฮจิ๋นจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโฮจิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

โฮเฮา

มเด็จพระจักรพรรดินีเหอ (Empress He (Ling)) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ฮองเฮาในพระเจ้าฮั่นเลนเต้ มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือโฮจิ๋น ดำรงตำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งเป็นที่ปรึกษา มีพระราชบุตรชื่อหองจูเปียน ภายหลังจากพระเจ้าฮั่นเลนเต้เสด็จสวรรคต โฮจิ๋นได้แต่งตั้งหองจูเปียนขึ้นเป็นพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ โฮเฮาซึ่งเป็นพระมารดาจึงมีฐานะตามตำแหน่งเป็นไทเฮาแห่งราชวงศ์ฮั่น ต่อมาตั๋งโต๊ะสถาปนาหองจูเหียบขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้ และควบคุมตัวหองจูเปียน โฮเฮาและพระสนมไปคุมขังและลอบสังหารด้วยการนำไปมัดจนถึงแก่ความตายในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโฮเฮา · ดูเพิ่มเติม »

โจวจื่อ

วจื่อ (Zhou Zhi) ขุนศึกแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ในช่วงหลัง ยุคสามก๊ก โจวจื่อมีบทบาทในสงคราม การพิชิตง่อก๊ก ภายใต้การบังคับบัญชาของ เตาอี้ (Du Yu) เมื่อโจวจื่อได้นำกองทัพเรือจำนวน 800 ลำเข้าโจมตีกองทัพเรือของง่อก๊กที่เมืองแฮเค้าจนแตกพ่ายไปพร้อมกับสังหารแม่ทัพของง่อก๊กถึง 2 คนคือ ซุนหลิม และ Shen Ying.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจวจื่อ · ดูเพิ่มเติม »

โจสิด

(Cao Zhi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นบุตรชายคนที่ 3 ของโจโฉและนางเปียนซี ชื่อรอง จื่อเจี้ยน เป็นบุตรคนรองมาจากโจเจียง เป็นบุคคลที่ได้ชื่อว่าเฉลียวฉลาดมาก อายุเพียง 10 ขวบ สามารถท่องจำโคลงกลอนได้ถึง 1 แสนบท จนกล่าวกันว่า ถ้าปัญญาของคนทั่วไปมี 1 ส่วน แต่ของโจสิดมีถึง 10 ส่วน โจสิด เป็นบุตรชายที่โจโฉรักมากเพราะความปราดเปรื่องทางสติปัญญา และมักแต่งโคลงสดุดีโจโฉเสมอ ๆ แต่ติดอยู่ว่า โจสิดยังมีแต่ผลงานทางด้านโคลงกลอน ไม่เคยแสดงบทบาทอย่างอื่น ซ้ำยังเป็นคนมีอารมณ์กวีตลอดเวลา คือ ติดเหล้าและเที่ยวเสเพล ชอบที่จะคบหากับเอียวสิ้ว ที่ปรึกษาของโจโฉ ที่โจโฉไม่ค่อยไว้วางใจ เมื่อถึงครั้งที่โจโฉคิดจะแต่งตั้งรัชทายาท โจโฉคิดไม่ตกว่าจะเลือกใครระหว่าง โจผี กับ โจสิด แต่มีแนวโน้มว่าจะเลือกโจสิดมากกว่า โจผีร้อนใจจึงรุดไปปรึกษากาเซี่ยง และด้วยอุบายของกาเซี่ยง ตำแหน่งนี้จึงตกเป็นของโจผีในที่สุด ท้ายสุดเมื่อ โจผีขึ้นครองราชย์ ทรงคิดที่จะกำจัดโจสิด พระอนุชาแท้ ๆ เพราะถือว่าเป็นศัตรูคนหนึ่งของพระองค์ จึงบีบบังคับให้โจสิดเดินได้ 7 ก้าว และแต่งกลอนที่ร้องขอชีวิตมาให้ได้ ไม่เช่นนั้นจะสั่งประหารชีวิต โจสิดคิดกลอนได้สด ๆ มีเนื้อหาว่า ต้นถั่วเผาต้นถั่ว ในกระทะถั่วร้องไห้ กำเนิดจากรากเดียวกัน เหตุไฉนคิดทำลาย มีเนื้อหาถึง พี่น้องกำเนิดจากจุดเดียวกัน เหตุไฉนจึงคิดฆ่าล้างกัน พระเจ้าโจผีจึงสำนึกได้และไม่สั่งประหารชีวิต แต่เนรเทศโจสิดออกไปนอกเมืองแทน และไม่นาน โจสิดก็ถึงแก่ความตายด้วยความตรอมใจ ในปี พ.ศ. 775 บางเรื่องเล่า กล่าวว่า เหตุที่พระเจ้าโจผีต้องประหารโจสิด ก็ด้วย โจสิดมีจิตพิศวาทต่อพระนางเอียนสี มเหสีเอกของพระองค์ ด้วยการลักลอบแต่งกลอนที่มีเนื้อหารักใคร่ถึงนาง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจสิด · ดูเพิ่มเติม »

โจหยิน

หยิน (Cao Ren) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนพลคนสำคัญของโจโฉ เป็นพี่ชายของโจหอง เป็นคนจิตใจกล้าหาญ อารมณ์ร้อนแรง เคร่งครัดต่อระเบียบวินัย ชำนาญการพิชัยสงคราม เมื่อโจโฉป่าวประกาศระดมพลเพื่อกำจัดตั๋งโต๊ะ โจหองและโจหยินผู้พี่ได้คุมกำลังพันเศษมาเข้าร่วมกับโจโฉที่เมืองตันลิว นับแต่นั้นทั้งสองพี่พี่น้องก็ได้ร่วมมือกับโจโฉตั้งตนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน โจหยินได้รบให้โจโฉในตำแหน่งแม่ทัพใหญ่หลายครั้ง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจหยิน · ดูเพิ่มเติม »

โจหลี่

หลี่ หรือ เฉาหลี่ (Cao Li; ? — 229) องค์ชายแห่ง วุยก๊ก ใน ยุคสามก๊ก ของจีนพระองค์เป็นพระราชโอรสของ พระเจ้าโจผี ปฐมจักรพรรดิแห่ง วุยก๊ก ส่วนพระมารดาของพระองค์คือ พระสนมสฺวี พระสนมในพระเจ้าโจผี องค์ชายโจหลี่สิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจหลี่ · ดูเพิ่มเติม »

โจหอง

หอง (Cao Hong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนพลคนสำคัญของโจโฉ เป็นน้องชายของโจหยิน มีนิสัยกล้าหาญบ้าบิ่น มีความจงรักภักดี อารมณ์ร้อน เมื่อโจโฉป่าวประกาศระดมพลเพื่อกำจัดตั๋งโต๊ะ โจหองและโจหยินผู้พี่ได้คุมกำลังพันเศษมาเข้าร่วมกับโจโฉที่เมืองตันลิว นับแต่นั้นทั้งสองพี่พี่น้องก็ได้ร่วมมือกับโจโฉตั้งตนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน โจหองได้รบให้โจโฉในตำแหน่งแม่ทัพใหญ่หลายครั้ง โจหองเคยช่วยชีวิตโจโฉมาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรก โจโฉตามตีท้ายทัพตั๋งโต๊ะ แต่เสียที ตัวโจโฉหลบหนี ซีเอ๋งทหารตั๋งโต๊ะยิงเกาทัณฑ์ถูกโจโฉได้รับบาดเจ็บและม้าของโจโฉถูกหอกของข้าศึกล้มลง โจหองได้มาช่วยชีวิตโจโฉไว้ได้ และขอให้โจโฉขึ้นมา แต่โจโฉปฏิเสธ โจหองจึงพูดไว้ว่า "แผ่นดินนี้โจหองตายไม่เป็นไร แต่ท่านตายไม่ได้" ก่อนจะพาหนีมาและพบกับซีเอ๋งที่ดักรออยู่ แต่ แฮหัวตุ้น และ แฮหัวเอี๋ยน สองนายทหารเอกเข้ามาช่วยทันและ แฮหัวตุ้น ก็สังหารซีเอ๋ง ณ ที่นั้น โจโฉจึงรอดตายได้อย่างหวุดหว...

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจหอง · ดูเพิ่มเติม »

โจหุ้น

หุ้น (Cao Xun, ค.ศ. 231 — ค.ศ. 244) องค์ชายจาก วุยก๊ก ใน ยุคสามก๊ก เป็นพระโอรสบุญธรรมองค์ใหญ่ใน พระเจ้าโจยอย จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งวุยก๊กและเป็นพระเชษฐาของ พระเจ้าโจฮอง จักรพรรดิองค์ที่ 3 พระเจ้าโจยอยได้สถาปนาโจหุ้นขึ้นเป็น เจ้าชายแห่งฉิน (Prince of Qin) เมื่อวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจหุ้น · ดูเพิ่มเติม »

โจจิ๋น

๋น (Cao Zhen) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ขุนพลคนสำคัญแห่งวุยก๊ก เป็นญาติของโจโฉ มีชื่อรองว่าจื่อตัน ซื่อสัตย์สุจริต มีนิสัยกล้าหาญ และเหี้ยมโหด ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับทหารในสนามรบอย่างใกล้ชิด บางครั้งค่าใช้จ่ายในกองทัพไม่พอ ก็เอาทรัพย์สินส่วนตัวออกจับจ่ายใช้สอย ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ต้าซือหม่า (เสนาบดีว่าการกลาโหม).

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจจิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

โจงั่ง

โจงั่ง (Cao Ang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก บุตรชายคนโตของโจโฉกับนางเล่าซี โจงั่งได้ติดตามโจโฉไปทำศึกกับเตียวสิ้วที่เมืองอ้วนเซีย เตียวสิ้วได้สวามิภักดิ์ต่อโจโฉ โจโฉจึงไปพักแรมในอ้วนเซียแล้วไปหลงนางเจ๋าซือ อาสะใภ้ของเตียวสิ้ว เตียวสิ้วโกรธ จึงวางแผนกำจัด โดยมอมเหล้าเตียนอุย องครักษ์ของโจโฉ แล้วขโมยทวนคู่ของเตียนอุยมา แล้วจึงเข้าโจมตีค่ายของโจโฉทันที โจโฉตกใจจึงหนีออกจากค่าย หนีไปได้สักพัก ม้าของโจโฉถูกข้าศึกยิงที่ลูกตาล้มลงตาย โจงั่งจึงขับม้ามาช่วย มอบม้าให้โจโฉหนีไป ส่วนตนต้านทหารของเตียวสิ้วเพื่อถ่วงเวลาไว้ ในที่สุดโจงั่งก็ถูกทหารเตียวสิ้วทำร้ายจนเสียชีวิต หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 จโงั้ง จโงั่ง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจงั่ง · ดูเพิ่มเติม »

โจฉอง

ฉา ชง ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ โจฉอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 196–208) ชื่อรองว่า ชางชู เมื่อสิ้นชีวิตแล้วได้เป็น อายหวัง ("องค์ชายอาย") เป็นบุตรชายคนหนึ่งของเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกชาวจีนซึ่งเถลิงอำนาจในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นและวางรากฐานให้รัฐเว่ย์/วุย (魏) ในสมัยสามก๊ก เฉา ชง มีชื่อเสียงเพราะในวัยเยาว์ได้คิดวิธีชั่งน้ำหนักช้างโดยใช้ทุ่น และเฉา เชา ผู้เป็นบิดา หมายใจจะให้สืบทอดตำแหน่งต่อ ทว่า เฉา ชง เสียชีวิตเมื่ออายุเพียง 12 ปี เนื่องจากด้วยความที่เฉาเชารักมากที่สุดจนเป็นที่อิจฉาของเหล่าพี่ๆ โดยเฉพาะลูกชายคนโต เฉา พี(โจผี) ด้วยความหวังจะสืบทอดต่อจากบิดาแต่กลับลำเอียงยกตำแหน่งให้น้องชายจึงวางแผนลอบสังหารด้วยการปล่อยงูพิษให้กัดจนถึงแก่ความต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจฉอง · ดูเพิ่มเติม »

โจซอง

ซอง (Cao Shuang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก บุตรชายของโจจิ๋นเป็นผู้สำเร็จราชการในวุยก๊ก แต่ถูกสุมาอี้โค่นอำนาจและถูกประหารชีวิตในภายหลัง ในยุคของพระเจ้าโจยอย โจจิ๋นผู้เป็นพ่อได้เป็นแม่ทัพแนวหน้าแต่ด้วยความที่ด้อยสติปัญญาเมื่อเข้ารบกับขงเบ้งทำให้เสียเมืองเฉิงฉาง และเสียทหารไปกว่า 1 แสน โจจิ๋นกลัวความผิดจึงให้โจซองไปถวายบังคมให้พระเจ้าโจยอยทราบในสภาพแขนหัก เมื่อพระเจ้าโจยอยเห็นโจซองในสภาพนั้นเข้าจึงใจอ่อนไม่ออกคำสั่งประหารโจจิ๋นผู้พ่อ ความกตัญญูของโจซองนั้นสูงมาก ในช่วงสุมาอี้ก่อรัฐประหาร โจซองที่อยู่นอกเมืองถึงกลับนึกคิดไม่ออกว่าจะทำอย่างไรต่อไป ฮวนห้อม กุนซือของโจซองที่หลบออกจากเมืองได้มาสมทบกับโจซองและแนะนำให้พาฮ่องเต้ไปยังนครฮูโต๋และรวมรวบกำลังทหารเข้าปราบปรามกบฏสุมาอี้ให้สิ้นซาก แต่โจซองกลับลังเลเพราะห่วงครอบครัว บรรดาอนุภรรยา และทรัพย์สมบัติมากมายในเมือง แถมจดหมายของสุมาอี้ได้มาถึงมือได้ระบุว่ามิได้เจตนาร้าย ให้ยอมจำนนเสียแต่โดยดี โจซองทบทวนอย่างถี่ถ้วนจึงตัดสินใจยอมจำนน แม้ฮวนห้อมจะเตือนว่าอย่ายอมจำนนเพราะเท่ากับความตายแต่ไม่ฟัง ฮวนห้อมถึงกับตะโกนด่าว่า "โจจิ๋นที่เปี่ยมไปด้วยพละกำลังและสติปัญญา ฉไนกลับมีบุตรชายที่โง่งมเช่นนี้" ผลสุดท้ายแม้โจซองจะยอมจำนนต่อสุมาอี้และคิดว่าจะปลอดภัย แต่หาได้เป็นเช่นไม่ สุมาอี้ได้กุเรื่องว่าโจซองเป็นกบฎจึงถูกประหารชีวิตพร้อมทั้งครอบครัวตระกูล.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจซอง · ดูเพิ่มเติม »

โจซุน

ซุน (Cao Chun), ? —..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจซุน · ดูเพิ่มเติม »

โจโก๋

ก๋ (Cao Song) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นคหบดีในยุคราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นบิดาของโจโฉ อัครมหาเสนาบดีและผู้ก่อตั้งวุยก๊กในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจโก๋ · ดูเพิ่มเติม »

โจโฉ

ฉา เชา ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ โจโฉ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220) ชื่อรองว่า เมิ่งเต๋อ (孟德) ชื่อเล่นว่า อาหมาน (阿瞞) และ จี๋ลี่ (吉利)(太祖一名吉利,小字阿瞞。) Pei Songzhi.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

โจเมา

มา (Zu Mao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลตั้งแต่แรกเริ่มของซุนเกี๋ยน เจ้าเมืองเตียงสา มีบทบาทพร้อมกับ เทียเภา ฮันต๋ง และ อุยกาย ตอนหลังซุนเกี๋ยนเข้าร่วมทัพสิบแปดหัวเมือง แล้วเข้ารบกับ ฮัวหยง แต่ อ้วนสุด ไม่ส่งเสบียงให้ ทำให้กองทัพเสียท่า โจเมาอาสาล่อฮัวหยงออกไป และสุดท้ายก็ถูกฮัวหยงสังหารในที...

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจเมา · ดูเพิ่มเติม »

โจเฮา

ระนางโจเฮา (Empress Cao Jie獻穆皇后)หรือสมเด็จพระจักรพรรดินีโจเซียน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ และพระธิดาในโจโฉ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจเฮา · ดูเพิ่มเติม »

โจเปียว

ปียว (Cao Biao; 195 — 251) พระนามรอง จู่หู (Zhuhu) องค์ชายแห่ง วุยก๊ก รัฐใน ยุคสามก๊ก ของจีน องค์ชายโจเปียวประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโจเปียว · ดูเพิ่มเติม »

โต้สู้

โต้สู้ (Duo Si) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นายถ้ำอิมตองสันในดินแดนม่านภายใต้การบัญชาของเบ้งเฮ็ก ภายหลังจากเบ้งเฮ็กถูกขงเบ้งจับครั้งที่ 3 ขงเบ้งได้ปล่อยตัวไป เบ้งฮิวน้องของเบ้งเฮ็ก ได้แนะนำให้ไปตั้งมั่นที่ถ้ำอิมตองสันเพราะโต้สู้นายถ้ำกับเบ้งฮิวสนิทกัน เบ้งเฮ้กได้กระทำตามนั้น โต้สู้ยินดีให้เบ้งเฮ็กตั้งมั่น ทั้งกำชับว่าขงเบ้งไม่มีวันมาถึงที่นี่เพราะทางไปถ้ำอิมตองสันมี 2 ทางโดยทางหนึ่งให้ทหารไปปิดทางไว้แล้ว อีกทางหนึ่งต้องผ่านป่ามรณะที่มีสัตว์ร้ายมาก และน้ำยังเป็นพิษอีกด้วย ซึ่งนอกจากม้าอ้วนแล้วยังไม่มีใครเคยผ่านมาทางนี้โดยยังมีชีวิตรอดอีกเลย แต่ขงเบ้งกลับยกทัพผ่านป่านี้ได้ด้วยความช่วยเหลือของม้าอ้วนเทพารักษ์และเบ้งเจียด พี่ชายของเบ้งเฮ็ก ต่อมาเอียวหองแห่งเขางินติสันที่ยอมสวามิภักดิ์ต่อขงเบ้งได้แสร้งทำเป็นเข้าร่วมกับเบ้งเฮ็กกับโต้สู้ที่ถ้ำอิมตองสัน และได้จัดงานเลี้ยงฉลอง จากนั้นก็มอมเหล้าเบ้งเฮ้กและโต้สู้จนเมา เอียวหองก็จับทั้งคู่ส่งไปมอบให้กับขงเบ้งได้ในที่สุด แต่โต้สู้ก็ได้รับการปล่อยตัวพร้อมกับเบ้งเฮ้ก รูปโต้สู้จากเกม Romance of the Three Kingdoms XI ตโสู้ en:List of fictional people of the Three Kingdoms#Chapter 89.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโต้สู้ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกี๋ยม

ตเกี๋ยม (Tao Qian) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองชีจิ๋ว ชื่อรองกงจู่ เป็นคนจิตใจอ่อนโยน เมื่อคราวที่ขบวนของโจโก๋ บิดาของโจโฉผ่านยังเมืองชีจิ๋ว โตเกี๋ยมได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี และมอบหมายให้เตียวคีเป็นผู้คุ้มกันขบวนรถอีกด้วย แต่หลังจากเตียวคีนำทหารห้าร้อยนายติดตามขบวนรถของโจโก๋ เตียวคีเกิดความโลภด้วยเห็นว่าโจโก๋มีทรัพย์สมบัติเป็นจำนวนมาก จึงวางแผนฆ่าโจโก๋และปล้นชิงทรัพย์สินและหลบหนีไป เมื่อโจโฉทราบข่าวการเสียชีวิตของบิดา ก็โกรธแค้นโตเกี๋ยมเป็นอย่างยิ่ง เตรียมนำกองกำลังทหารจำนวนมากหมายเข้าตีเมืองชีจิ๋วให้ราบคาบ โตเกี๋ยมจึงปรึกษากับเหล่าขุนนางถึงการนำทัพมาของโจโฉเพื่อหาทางป้องกันเมือง โตเกี๋ยมตั้งใจจะมอบตัวแก่โจโฉเพื่อให้โจโฉฆ่าเสียให้หายโกรธ เนื่องจากตนเองเป็นต้นเหตุให้ราษฏรในเมืองต้องรับความเดือดร้อน แต่บิต๊กได้ไปขอกำลังทหารจากขงหยงและเล่าปี่มาช่วยป้องกันเมืองชีจิ๋ว เล่าปี่เขียนหนังสือให้ม้าใช้นำไปมอบให้แก่โจโฉ พร้อมกับส่งเตียวหุยไปเป็นทูตเพื่อเจรจาของสงบศึก แต่ในขณะเดียวกันลิโป้ก็นำกำลังทหารบุกเข้าโจมตีค่ายทหารของโจโฉที่เมืองกุนจิ๋ว ซึ่งโจโฉมอบหมายให้โจหยินเป็นผู้ดูแลรักษาค่าย ลิโป้ตีค่ายทหารของโจโฉแตก โจหยินที่ดูแลรักษาค่ายทหารกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อลิโป้ ทำให้โจโฉต้องนำกำลังทหารกลับยังค่ายเพื่อช่วยเหลือโจหยิน หลังจากเล่าปี่ยื่นมือเข้าช่วยเหลือโตเกี๋ยม ซึ่งเห็นว่าเล่าปี่เป็นผู้มีคุณธรรม มีความสามารถและกล้าหาญ สามารถปกครองเมืองชีจิ๋วต่อจากตนได้ จึงเชิญเล่าปี่ให้เป็นเจ้าเมืองชีจิ๋วแทนตน แต่เล่าปี่กลับปฏิเสธพร้อมกับให้เหตุผล ทำให้โตเกี๋ยมผิดหวังเป็นอย่างยิ่ง จนกระทั่งล้มป่วยอย่างหนัก จึงขอร้องให้เล่าปี่รับเป็นเจ้าเมืองชีจิ๋วแทนตน ก่อนสิ้นใจอย่างสงบด้วยอายุ 62 ปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและโตเกี๋ยม · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์

Dynasty Warriors เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็กชันที่สร้างและพัฒนาโดย Koei เนื้อเรื่องและตัวละครส่วนใหญ่ใน Dynasty Warriors มีต้นแบบมาจากวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก โดยก่อนหน้าที่จะสร้างเกมชุด Dynasty Warriors ขึ้นมานั้น Koei เคยสร้างเกมชุดอื่นที่มีต้นแบบมาจากสามก๊กที่ใช้ชื่อว่า Romance of the Three Kingdoms มาก่อน โดยเป็นเกมวางแผนการรบประเภททีละรอบ (Turn Based Strategy) ในภาคแรกของ Dynasty Warriors นั้นทางประเทศญี่ปุ่นให้ชื่อว่า Sangokumusō ซึ่งในภาคแรกนี้ภาพของเกมจะออกมาในรูปแบบ 2D (คล้ายเกมเทคเคน) และเป็นเกมแนวต่อสู้ แต่ในภาคต่อๆมานั้น Dynasty Warriors ได้เปลี่ยนให้ภาพออกมาในรูปแบบ 3D (คล้ายเกม GTA) รวมถึงเปลี่ยนออกมาเป็นเกมแนวแอ็กชันอาร์พีจี และยังได้เปลี่ยนชื่อเป็น Shin Sangokumusō ตั้งแต่ภาค 2 เป็นต้นมาด้วย เกมชุด ไดนาสตีวอริเออร์ ถือเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จเกมนึงของ Koei โดยหากนับรวมเกมชุดทั้งภาคต่อและภาคย่อย ถึงปี 2554 มียอดขายไปแล้วมากกว่า 18 ล้านยูนิต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและไดนาสตีวอริเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 6

นาสตีวอริเออร์ 6 เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 6 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บอกซ์ 360, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เพลย์สเตชัน 2 และเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล โดยสร้างขึ้นจากประวัติศาสตร์จีนยุคสามก๊ก ในช่วยประมาณปี พ.ศ. 743.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและไดนาสตีวอริเออร์ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 7

นาสตีวอริเออร์ 7 (Dynasty Warriors 7) เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 7 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บอกซ์ 360, และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยสร้างขึ้นจากประวัติศาสตร์จีนยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและไดนาสตีวอริเออร์ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 8

นาสตีวอริเออร์ 8 (Dynasty Warriors 8) เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 8 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 3, เพลย์สเตชัน 4, เพลย์สเตชันวิต้า, เอกซ์บอกซ์ 360 และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยสร้างขึ้นจากประวัติศาสตร์จีนยุคสามก๊ก วางจำหน่ายในปี 2013 และ 2014.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและไดนาสตีวอริเออร์ 8 · ดูเพิ่มเติม »

เบ้งเฮ็ก

มิ่ง ฮั่ว ตามสำเนียงกลาง หรือ เบ้งเฮ็ก ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นผู้นำประเทศอิสระบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของจ๊กก๊ก ซึ่งปัจจุบันคือ เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิงผ่อ เต๋อหง มณฑลยูนนาน เบ้งเฮ็กได้รับการสนับสนุนจากต้วนอี้ สมุหนายกของวุยก๊ก ทำให้สามารถผนึกกำลังกับ ยงคี เจ้าแคว้นเกียวเหล็ง จูโพ เจ้าแคว้นอวดจุ้น และชนเผ่าอื่นๆ เข้าตีเมืองเองเฉียง (ปัจจุบันคือ เขตเป่าซาน มณฑลยูนนาน) จึงทำให้ขงเบ้งต้องยกทัพมาปราบด้วยตัวเองแล้ววางแผนจับเบ้งเฮ็กถึง 6 ครั้ง แล้วก็ปล่อยไปทุกครั้ง เมื่อครั้งที่เจ็ดก็จับตัวเบ้งเฮ็กได้ก็เชิญไปรับประทานอาหาร เบ้งเฮ็กคิดว่าครั้งนี้ขงเบ้งคงไม่ปล่อยเราเป็นแน่ นี่คงเป็นอาหารมื้อสุดท้ายของเรา แล้วขงเบ้งก็เอ่ยว่า เจ้าจงกลับไปตั้งทัพแล้วกลับมาสู้กับเราใหม่เถิด เมื่อได้ยินขงเบ้งพูดอย่างนั้นเบ้งเฮ็กถึงกับน้ำตาไหล เบ้งเฮ็กสำนึกในพระคุณของขงเบ้ง จึงยอมแพ้ ขงเบ้งให้อยู่ครองเมืองต่อโดยไม่ทิ้งทหารประจำการ สาเหตุที่ขงเบ้งจับเบ้งเฮ็กแล้วปล่อยไปแล้วถึงเจ็ดครั้ง เพราะเบ้งเฮ็กเป็นผู้นำเผ่าภาคใต้ คนชนเผ่าให้ความเคารพนับถือมาก ถ้าประหารเบ้งเฮ็กเสียก็จะทำให้ชนเผ่าแข็งข้อและจะก่อความวุ่นวายให้กับจ๊กก๊กในภายหลังได้ ดังนั้นขงเบ้งก็ได้ใช้แผนการจับเบ้งเฮ็กและปล่อยไปเพื่อเป็นการเอาใจเบ้งเฮ็กจนทำให้ยอมจำนนอย่างเต็มใจ และไม่คิดก่อกบฏอีกเลย คึกฤทธิ์ ปราโมช สันนิษฐานว่าเบ้งเฮ็กเป็นผู้นำชนชาติ ไต-ไท หากในประวัติศาสตร์ทางการ เบ้งเฮ็กที่จริงแล้วเป็นพลเมืองของจักรวรรดิฮั่น แต่คนมักคิดว่าเบ้งเฮ้กเป็นผู้นำชนเผ่าป่าเถื่อนทางใต้เนื่องจากภาพที่บรรยายในนิยายสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเบ้งเฮ็ก · ดูเพิ่มเติม »

เกียวก๊กโล

เกียวก๊กโล (Qiao Xuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก บิดาของนางไต้เกี้ยวและเสียวเกี้ยว มีบทบาทในตอนเล่าปี่แต่งงานกับซุนฮูหยิน โดยเป็นผู้ยกย่องคุณธรรมของเล่าปี่ให้ง่อก๊กไท่ฟัง และเป็นผู้ช่วยเล่าปี่ให้พ้นจากการหมายปองร้ายของจิวยี่ กีเยวก๊กโล กีเยวก๊กโล.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเกียวก๊กโล · ดูเพิ่มเติม »

เกียดเป๋ง

กียดเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 218) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าจี๋เปิ่น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นแพทย์หลวงในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในประวัติศาสตร์ เกียดเป๋งร่วมกับพรรคพวกหลายคนก่อกบฏขึ้นในเมืองหลวงฮูโต๋ในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเกียดเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

เกียงอุย

กียงอุย หรือในสำเนียงจีนกลาง เจียงเหวย (Jiang Wei) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกียงอุย มีชื่อรองว่า ป๋อเยี่ยน เป็นชาวเมืองเทียนซุย ซึ่งปัจจุบันเป็นเมืองหนึ่งในมณฑลกานซู่ เป็นผู้ที่มีสติปัญญาหลักแหลม รอบรู้กลวิธีรบเป็นอย่างดี เชี่ยวชาญการศึก และเก่งกาจในเพลงอาวุธ แม้แต่จูล่งยังต้องกล่าวชื่นชม มีความกตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดา หน้าตาดี ไม่ใฝ่ในทางโลภ เคยวางกลซ้อนทับขงเบ้ง จนขงเบ้งต้องหาทางจัดการ อุปนิสัยส่วนตัวซื่อสัตย์ มีน้ำใจดี กล้าหาญ พร้อมตายได้ทุกเมื่อ ใช้ทวนเป็นอาวุธคู่กาย เกียงอุยมีพ่อเป็นขุนนางคนหนึ่งของเทียนซุย แต่กำพร้าพ่อแต่ยังเด็ก จึงอาศัยอยู่กับแม่โดยลำพัง แต่เดิมนั้นเกียงอุยรับราชการอยู่กับม้าจิ้น เจ้าเมืองเทียนซุย ซึ่งอยู่ในแคว้นการปกครองของวุยก๊ก ขงเบ้งยกทัพมาเพื่อที่จะปราบวุยก๊ก ม้าจิ้นส่งเกียงอุยมารับมือกับขงเบ้ง ขงเบ้งเสียท่าเกียงอุย หลายครั้ง แต่ในที่สุดขงเบ้งวางแผนจับเกียงอุย โดยพาแม่ของเกียงอุยมาเลี้ยงดู และให้แม่เกียงอุยช่วยเกลี้ยกล่อม ด้วยเกียงอุยมีความกตัญญูต่อมารดานั้นเอง เกียงอุยจึงใจอ่อน ยอมอยู่ฝ่ายจ๊กก๊กกับขงเบ้ง เกียงอุยเป็นทหารคนสนิทใกล้ชิดขงเบ้งมากที่สุด ถ้าขงเบ้งไปที่ศึกไหนเกียงอุยย่อมอยู่ด้วยเสมอๆ ประกอบด้วยเกียงอุยเป็นคนสนิทและไว้ใจได้มากที่สุด ดังนั้นขงเบ้งจึงได้ถ่ายทอดวิชาที่เขารู้มากมาย ให้แก่เกียงอุย เกียงอุยจึงมีความรู้มากขึ้น ครั้นขงเบ้งรู้ตัวว่าชะตาตนเองไปไม่รอดแล้ว ก็มอบหมายให้เกียงอุยทำนุบำรุงแผ่นดินฮั่นแทนตน โดยให้เป็นแม่ทัพใหญ่แห่งเสฉวนแทน ซึ่งมีอำนาจทางการทหารทั้งหมด ต่อมาเกียงอุยก็ดำเนินรอยตามขงเบ้ง โดยที่ยกทัพจากเสฉวนเข้าตีวุยก๊ก ถึงหลายครั้งหลายคราแต่ก็ไม่สำเร็จ ต่อมาวุยก๊กยกทัพเข้าตีเสฉวน โดยจงโฮยและเตงงายแม่ทัพแห่งวุย แบ่งเป็น 2 ทัพตีเสฉวน เกียงอุยรับมือกับจงโฮยทำให้เตงงายไปตามทางลัดอิมเป๋ง เข้าตีเสฉวน ยังไม่ทันรบ พระเจ้าเล่าเสี้ยนยอมแพ้แก่เตงงายโดยเร็ว ทำให้เกียงอุยที่ได้รับตำแหน่งเป็นแม่ทัพไม่พอใจยิ่งนัก พยายามหาทางกู้เอกราชกลับมาโดยใช้จงโฮยเป็นสะพาน แต่ก็ไม่สำเร็จ เกียงอุยถูกล้อมด้วยทหารวุยก๊ก เกียงอุยจึงใช้กระบี่เชือดคอตัวเองตาย พวกทหารของฝ่ายวุยก๊กจึงเอากระบี่ผ่าอกของเกียงอุยออกมาเห็นตับใหญ่คับหัวอกอยู่ มีดีใหญ่เท่าไข่ห่าน พวกทหารเหล่านั้นต่างคิดว่าเกียงอุยมีดีใหญ่กว่าคนธรรมดาทั่วไป จึงได้กล้าหาญเข้มแข็งสมเป็นทหารเอก ตอนที่เกียงอุยตายนั้นมีอายุ ได้ 63 ปี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเกียงอุย · ดูเพิ่มเติม »

เกงจิ๋ว

กงจิ๋ว หรือ จังหวัดเกง หรือ จิ้งโจว (Jingzhou, Jing Province; 荆州; พินอิน: Jīngzhōu) เป็น 1 ใน 9 จังหวัดหรือมณฑลของประวัติศาสตร์จีนในอดีต โดยเป็นเขตการปกครองในช่วงของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ก่อน ค.ศ. 141– ค.ศ. 87) ของราชวงศ์ฮั่น เป็นเมืองที่ติดกับแม่น้ำแยงซี ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในยุคสามก๊ก และปรากฏในวรรณกรรมสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเกงจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เย่ (เหอเป่ย)

เย่ หรือ เย่เฉิง หรือในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กเรียก เงียบกุ๋น เมืองโบราณของประเทศจีนปัจจุบันคือ อำเภอหลินจาง เทศมณฑลหานตาน มณฑลเหอเป่ย และเมืองใกล้เคียง เทศมณฑลอันหยาง มณฑลเหอหนาน เมืองเย่ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกใน ยุควสันตสารท โดย ฉีหวน เจ้าผู้ครอง รัฐฉี และใน ยุครณรัฐ เมืองเย่ตั้งอยู่ใน รัฐเว่ย์ ซึ่งเมืองเย่เป็นศูนย์กลางทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ยุคสามก๊ก และ ราชวงศ์เหนือ โดยเป็นศูนย์กลางทางทหารของขุนศึก อ้วนเสี้ยว หรือ ยฺเหวียนเซ่า และ โจโฉ หรือ เฉาเชา ช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:มณฑลเหอเป่ย์ หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเย่ (เหอเป่ย) · ดูเพิ่มเติม »

เลียวฮัว

ลียวฮัว (Liao Hua) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลแห่งจ๊กก๊ก ชื่อรองเหยียนเจี้ยนโดยก่อนหน้านั้นเป็นอดีตแม่ทัพของกบฏโจรโพกผ้าเหลือง เป็นตัวละครในเรื่องสามก๊กที่เจนศึกตั้งแต่โจรโพกผ้าเหลืองยันจ๊กก๊กล่มสลายคนนึง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเลียวฮัว · ดูเพิ่มเติม »

เล่าชุน

ล่าชุน (Liu Xun) ขุนพลแห่ง จ๊กก๊ก และเป็นบุตรชายของ เล่าเจี้ยง เจ้าเมืองเอ๊กจิ๋วในช่วง ยุคสามก๊ก ในช่วง การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่ เล่าเจี้ยงได้มีคำสั่งให้เล่าชุนและ เตียวหยิม ยกกองทัพมาโจมตีกองทัพของเล่าปี่แต่ก็พ่ายแพ้กลับไป ในภายหลังเมื่อเล่าเจี้ยงได้ยอมแพ้ต่อเล่าปี่แล้วเล่าชุนได้ยอมแพ้และรับใช้เล่าปี่ตาม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าชุน · ดูเพิ่มเติม »

เล่าลี

ล่าลี (Liu Li; ? — 244) พระนามรอง เฟิ่งเซี่ยว (Fengxiao) องค์ชายแห่ง จ๊กก๊ก ใน ยุคสามก๊ก ของจีนพระองค์เป็นพระราชโอรสของ พระเจ้าเล่าปี่ ปฐมจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊กและเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของ พระเจ้าเล่าเสี้ยน จักรพรรดิองค์ที่ 2 และองค์สุดท้ายของจ๊กก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าลี · ดูเพิ่มเติม »

เล่าหงี

เล่าหงี (Liu Yu,?-193) เป็น ขุนศึก และ นักการเมือง ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และ ยุคสามก๊ก โดยสืบเชื้อสายจาก หลิวเจียง พระโอรสใน จักรพรรดิฮั่นกวง ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ใน ศึกปราบตั๋งโต๊ะ เล่าหงีได้เป็นหนึ่งในขุนศึกที่ร่วมรบในศึกครั้งนี้ด้วยในศึกครั้งนี้พวกขุนศึกคนอื่นๆได้ถามเล่าหงีว่าถ้าเสร็จศึกแล้วจะขึ้นเป็นจักรพรรดิหรือไม่ซึ่งเล่าหงีได้ตอบปฏิเสธไป เล่าหงี ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี ค.ศ. 193 โดยถูก กองซุนจ้าน ฆ่าตายระหว่างการรบ รูปเล่าหงีจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:สามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าหงี · ดูเพิ่มเติม »

เล่าฮอง

ล่าฮอง (Liu Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลของจ๊กก๊ก เป็นบุตรบุญธรรมของเล่าปี่ เล่าฮองเดิมชื่อเค้าฮอง หลานเล่าปิด ลูกของเค้าล่อ ต่อมาเล่าปี่รับเป็นบุตรบุญธรรม หลังจากที่เล่าปี่ปราบกบฏเตียวบูกับตันสูน ตามคำขอของเล่าเปียวได้แล้ว จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นเล่าฮอง กวนอูไม่ค่อยพอใจนักกับการที่เล่าปี่รับเล่าฮอง มาเป็นลูกบุญธรรม กวนอูกล่าวกับเล่าปี่ว่า"บุตรท่านก็มีอยู่ เหตุไฉนจึงจะเอาผู้อื่นมาเป็นเนื้อ เหมือนหนึ่งเลี้ยงลูกปูลูกหอย นานไปจะได้รับความเดือดร้อน" เล่าปี่จึงว่า "ถึงผู้อื่นนอกเนื้อก็จริง แต่เรารักใคร่เสมอบุตร ได้เอามาเลี้ยงไว้ก็จะมีกตัญญูรักใคร่ เห็นจะไม่คิดร้ายต่อเรา" กวนอูได้ฟังดังนั้นก็ขัดใจนิ่งอยู่มิได้ตอบประการใด และเมื่อเล่าปี่ตีเอาเมืองซงหยงได้ เล่าปี่จึงให้เล่าฮองปกครองเมืองซงหยงอยู่กับเบ้งตัด อดีตขุนนางในของเล่าเจี้ยงที่เล่าปี่ไปยึดเมืองมา เมื่อครั้งเกงจิ๋วถูกซุนกวนยึดในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าฮอง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าขำ

ล่าขำ (Liu Chen) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก พระราชบุตรในพระเจ้าเล่าเสี้ยนแห่งจ๊กก๊ก มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือเล่ายอย เล่าเอียว เล่าจ้อง เล่าจ้าน เล่าสุนและเล่ากี่ ภายหลังจากเตงงายนำกองกำลังทหารบุกโจมตีจ๊กก๊ก เล่าขำเป็นพระราชบุตรเพียงคนเดียวที่ไม่ยอมให้พระเจ้าเล่าเสี้ยนเข้าคำนับแก่พระเจ้าวุยก๊ก พร้อมกับจัดสิ่งของบรรณาการออกไปคำนั.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าขำ · ดูเพิ่มเติม »

เล่าต้าย

ล่าต้าย (Liu Dai, ? — ค.ศ. 192) มีชื่อรองว่า กงซัน (Gongshan) ตัวละครในวรรณกรรมเรื่อง สามก๊ก เกิดที่เมืองเป็งหงวนเป็นเจ้าเมือง เอียนจิ๋ว (Yan Province) และเป็นพี่ชายของ เล่าอิ้ว เคยเข้าร่วมกองทัพพันธมิตรของ อ้วนเสี้ยว ในการปราบ ตั๋งโต๊ะ เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าต้าย · ดูเพิ่มเติม »

เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

เล่าป๋า

ล่าป๋า (Liu Ba, ? — ค.ศ. 222) มีชื่อรองว่า จื่อชู (Zichu) เกิดที่ตำบลเจิ้งหยัง เมืองหลิงหลิง มณฑลหูหนานเป็นเสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก แต่เดิมเล่าป๋ารับใช้ เล่าเจี้ยง เจ้าเมืองเอ๊กจิ๋วเมื่อ เล่าเจี้ยงประกาศยอมแพ้ ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าป๋า · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเหง

ล่าเหง(Liu Hong เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บิดาของเล่าปี่ เป็นเชื้อพระวงศ์ราขวงศ์ฮั่น สืบเชื้อสายจากจงซานจิ้งอ๋องซึ่งพระราชโอรสองค์ที่ 7 ในพระเจ้าฮั่นเกงเต้ เล่าเหงตายตั้งแต่เล่าปี่ยังเล็ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าเหง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเอี๋ยน

ล่าเอี๋ยน (Liu Yan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นเชื้อพระวงค์ฮั่นผู้ครองแคว้นเอกจิว (เสฉวน) เป็นบิดาของ เล่าเจี้ยง หลังจากที่เล่าเอี๋ยนตายก็ให้เล่าเจี้ยงเป็นผู้ครองแคว้นสืบไป รูปเล่าเอี๋ยนจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเจี้ยง

ล่าเจี้ยง (Liu Zhang) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเสฉวน เป็นบุตรของเล่าเอียง เล่าเจี้ยงเป็นคนที่โลเลและใช้คนไม่เป็น แต่เล่าเจี้ยงมีเหล่าที่ปรึกษาและขุนพลที่มีฝีมือมากมาย แต่ต่อมา เสฉวนถูกเล่าปี่ยึดครอง และส่งตัวเล่าเจี้ยงไปอยู่ที่เมืองกองอั๋นชายแดนเกงจิ๋ว เมื่อเกงจิ๋วถูกซุนกวนยึด เล่าเจี้ยงจึงถูกย้ายมาอยู่ที่กังตั๋งจนกระทั่งเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าเจี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเตา

ล่าเตา (Liu Du ? — ?) ขุนนางแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก แต่เดิมเล่าเตารับใช้ เล่าเปียว กระทั่งช่วง ศึกผาแดง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าเตา · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเปียว

ล่าเปียว (Liu Biao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเกงจิ๋ว มีบุตร 2 คน คือ เล่ากี๋และเล่าจ๋อง เมื่อซุนเกี๋ยนได้ตราแผ่นดินหยกมาครอบครอง อ้วนเสี้ยวได้สั่งให้เล่าเปียวไปตีซุนเกี๋ยนชิงเอาตราหยกมา ทำให้เล่าเปียวและซุนเกี๋ยนเป็นศัตรูกัน จนกระทั่งซุนเกี๋ยนเสียชีวิต.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่าเปียว · ดูเพิ่มเติม »

เล่งทอง

ล่งทอง (Ling Tong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บุตรของเล่งโฉ เมื่อกำเหลงมาอยู่กับง่อ ทำให้เล่งทองไม่พอใจจนซุนกวนต้องส่งกำเหลงไปประจำยังที่ห่างไกลเพื่อกันสองคนทะเลาะกัน ซึ่งต่อมาได้เกิดศึกที่มีชื่อว่าศึกหับป๋าทหารของงักจิ้นยิงธนูใส่ตาม้าของเล่งทอง ทำให้หกล้มไป แล้วกำเหลงก็มายิงธนูใส่ศัตรูช่วยเล่งทองทำให้ทั้งสองเป็นมิตรกันในที่สุด เล่งทองมีผลงานที่โดดเด่นในการรบหลายครั้ง ครั้งที่สำคัญที่สุดคือการช่วยซุนกวนหนีในศึกหับป๋า เมื่อเล่งทองตาย ซุนกวนเสียใจมาก จัดงานศพให้อย่างสมเกียรติ ซึ่งนับว่าเป็นงานศพที่ยิ่งใหญ่ที่สุด หนึ่งในสามของง่อ เทียบเท่ากับของลิบอง และจูเหียน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

เล่งโฉ

ล่งโฉ (Ling Cao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บิดาของเล่งทอง ถูกกำเหลงสังหารในศึกที่ซุนกวนยกทัพไปตีกังแ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเล่งโฉ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น

ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ราชวงศ์ซิน (ปี ค.ศ. 9 – 23) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ปี ค.ศ. 25 – 220) ระบอบการปกครองของราชวงศ์ซินก่อตั้งโดยจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวัง หมั่ง) เป็นระบอบการปกครองช่วงระหว่างภาวะสุญญากาศทางการเมืองคั่นกลางระหว่างการปกครองที่ยาวนานของราชวงศ์ฮั่น หลังจากที่การปกครองของจักรพรรดิซินเกาจู่ล่มสลายลง เมืองหลวงของราชวงศ์ฮั่นถูกย้ายไปทางทิศตะวันออกจากเมืองฉางอานไปยังเมืองลั่วหยาง ด้วยเหตุนี้นักประวัติศาสตร์จึงเรียกยุคก่อนและหลังว่าราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตามลำดับ เศรษฐกิจสมัยราชวงศ์ฮั่นถูกกำหนดโดยการเติบโตของประชากรอย่างแพร่หลาย การกลายเป็นเมืองเพิ่มขึ้น การเติบโตอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนของอุตสาหกรรมและการค้า และการทดลองของรัฐบาลโดยแปลงสินทรัพย์ของเอกชนให้เป็นสินทรัพย์ของรัฐ ในยุคนี้ระดับของการทำเหรียญและการไหลเวียนของเหรียญเงินตราเติบโตอย่างมีนัยสำคัญ รูปแบบของพื้นฐานทางระบบการเงินที่มั่นคง เส้นทางสายไหมช่วยอำนวยความสะดวกในการสถาปนาการค้าและแลกเปลี่ยนเครื่องบรรณาการกับต่างประเทศทั่วทวีปยูเรเชีย หลายสิ่งนี้ไม่เคยเป็นที่รับรู้ของชาวจีนยุคโบราณมาก่อน เมืองหลวงของราชวงศ์ทั้งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (ฉางอาน) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ลั่วหยาง) ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นทั้งด้านประชากรและด้านพื้นที่ โรงงานของรัฐบาลผลิตเครื่องตกแต่งสำหรับพระราชวังของจักรพรรดิและผลิตสินค้าสำหรับสามัญชน รัฐบาลควบคุมการก่อสร้างถนนและสะพานหลายแห่งซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของรัฐบาลอย่างเป็นทางการและส่งเสริมการเจริญเติบโตทางการค้า ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ฮั่น นักอุตสาหกรรม ผู้ค้าส่งและพ่อค้า จากพ่อค้าปลีกรายย่อยไปจนถึงนักธุรกิจที่มั่งคั่งสามารถมีส่วนร่วมในความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการค้าที่หลากหลายทั้งภายในประเทศ ในแวดวงสาธารณะ และแม้แต่ทหาร ในช่วงต้นราชวงศ์ฮั่น ชาวนาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทพึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกเขาเริ่มพึ่งพาการแลกเปลี่ยนทางการค้าอย่างหนักกับเจ้าของที่ดินการเกษตรขนาดใหญ่ที่มั่งคั่ง ชาวนาชาวไร่จำนวนมากมีหนี้สินลดลงและถูกบังคับให้กลายเป็นแรงงานจ้างหรือไม่ก็เป็นผู้อยู่อาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าให้กับชนชั้นเจ้าของที่ดิน รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นพยายามให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับชาวนาที่ยากจนอย่างต่อเนื่อง พวกชาวนาต้องแข่งขันกับขุนนาง เจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการค้าที่ทรงอำนาจและอิทธิพล รัฐบาลพยายามจำกัดอำนาจของกลุ่มคนที่มั่งคั่งเหล่านี้โดยการเก็บภาษีและออกกฎระเบียบทางราชการอย่างหนัก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ปี 141 – 87 ก่อนคริสตกาล) ได้แปรรูปอุตสาหกรรมเหล็กและเกลือให้กลายเป็นกิจการของรัฐ อย่างไรก็ตาม การผูกขาดของรัฐบาลเหล่านี้ถูกยกเลิกในระหว่างยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก การแทรกแซงของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นในด้านเศรษฐกิจภาคเอกชนระหว่างปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ส่งผลให้ชนชั้นพ่อค้าเชิงพาณิชย์อ่อนแอลงอย่างหนัก การแทรกแซงของรัฐบาลช่วยให้เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งเพิ่มอำนาจพวกเขาและรับประกันความต่อเนื่องของเศรษฐกิจที่ครอบงำการเกษตร เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งครอบงำกิจกรรมด้านการค้าได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงอำนาจการปกครองให้อยู่เหนือชาวนาที่อยู่ในชนบททั้งหมด ผู้ซึ่งรัฐบาลไว้วางใจเพราะรายได้จากการจัดเก็บภาษี กำลังทางทหารและแรงงานสาธารณะ โดยในปีคริสต์ทศวรรษที่ 180 วิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นเหตุให้รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นกระจายอำนาจมากขึ้น ขณะที่เจ้าของที่ดินรายใหญ่มีอิสระและมีอำนาจในชุมชนของพวกเขามากขึ้น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

เอียวสิ้ว

อียวสิ้ว (Yang Xiu; 杨修) ที่ปรึกษาคนหนึ่งของโจโฉแห่งวุยก๊ก เขาเป็นชาวเมืองหัวะอิน มณฑลส่านซี มีชื่อรองว่า เต๊อะจู่ เป็นบุตรชายของเอียวปิด เป็นผู้มีรูปร่างหน้าเกลี้ยงเกลา คิ้วและนัยน์ตาเล็ก ฉลาดเฉียวมากปัญญา แต่ชอบใช้ปัญญามากกว่าสติ อันเป็นที่มาของจุดจบชีวิต รับราชการกับโจโฉในตำแหน่งผู้ตรวจบัญชีทรัพย์สิน เป็นผู้ที่รู้เท่าทันโจโฉตลอดเวลา จึงเป็นที่ระแวงของโจโฉ เอียวสิ้วมักคบหากับโจสิด บุตรชายคนที่ 3 ของโจโฉที่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน และเฉลียวฉลาดเช่นกัน จึงมักเป็นที่ไม่พอใจแก่โจโฉ และโจโฉก็ได้เตือนโจสิดเสมอ ๆ ถึงเรื่องเอียวสิ้ว เมื่อโจโฉติดพันการรบกับขงเบ้งที่ทุ่งหันซุย และกำลังจะถอนทัพกลับ แต่ก็ยังมิได้ตัดสินใจเด็ดขาดและบอกแก่ใคร ตกกลางคืน แฮหัวตุ้นเข้ามาถามโจโฉในที่พักว่า คืนนี้จะให้ขานรหัสว่าอะไร โจโฉขณะรับประทานอาหารอยู่ ได้ใช้ตะเกียบคีบซี่โครงไก่อยู่พอดี จึงตอบไปว่า ซี่โครงไก่ เมื่อรู้กันในกองทัพว่า รหัสคืนนี้คือ ซี่โครงไก่ เอียวสิ้วจึงบอกให้แฮหัวตุ้นสั่งการแก่ทหารทั้งปวงให้เก็บข้าวของ เพราะโจโฉตัดสินใจถอนทัพแล้ว แฮหัวตุ้นสงสัยว่าท่านทราบได้อย่างไร เอียวสิ้วจึงตอบคลายสงสัยทั้งหมดว่า เพราะซี่โครงไก่ไม่มีเนื้อก็จริง แต่ทิ้งไปก็เสียดายรสชาติ เหมือนท่านโจโฉขณะนี้จะถอนทัพกลับไปก็เสียดาย แต่อยู่ไปก็ไม่ชนะ เมื่อโจโฉรู้ว่าทหารทั้งหมดเก็บข้าวของโดยที่ตนไม่ได้ออกคำสั่ง ว่ามาจากเอียวสิ้ว ก็โมโห และสั่งประหารชีวิตเอียวสิ้วทันที แม้จะไม่เต็มใจนัก โดยอ้างว่า เอียวสิ้วทำให้ทหารเสียขวัญ ก่อนตายเอียวสิ้วเสียใจที่โจโฉทำอย่างนี้กับตน แต่ก็ได้กล่าวเตือนสติโจโฉว่า ต่อไปนี้ท่านอย่าได้ทำการใด ๆ ที่เป็นการฝืนตนเองอีก โจโฉจึงต้องแสดงให้ทหารเห็นว่า ตนมิได้เสียขวัญ ออกนำทัพด้วยตนเอง ปรากฏว่าต้องอุบายของขงเบ้งจนกองทัพพ่ายแพ้และโจโฉก็ถูกฮองตงยิงธนูถูกปาก พลัดตกจากหลังม้า ฟันหักไป 3 ซี่ ปากคอบวมเป่ง เกือบจะเอาชีวิตไม่รอด จากนั้นโจโฉก็ต้องพ่ายแพ้และถอยทัพกลับเมืองลกเอี๊ยง ในช่วงนั้นเขาก็ได้นึกถึงเอียวสิ้วและสำนึกว่าเอียวสิ้วคาดการณ์ถูกต้องจริงๆ โจโฉได้จัดพิธีฝังศพอย่างสมเกียรติเพื่อทดแทนคุณความดี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเอียวสิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

เอียวหงี

อียวหงี (Yang Yi, ? — ค.ศ. 235) ชื่อรองว่า เว่ยกง เป็นเสนาธิการแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เอียวหงีเกิดที่ เสียนหยาง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเอียวหงี · ดูเพิ่มเติม »

เอียนสี

อียนสี (Zhen Ji) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ฮองเฮาแห่งวุยก๊ก มีชีวิตอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเอียนสี · ดูเพิ่มเติม »

เฮกเจียว

กเจียว (Hao Zhao) ชื่อรอง ป๋อเตา ขุนพลแห่ง วุยก๊ก ใน ยุคสามก๊ก ของจีนเป็นชาวเมือง ไท่หยวน มณฑลซานซี เป็นที่รู้จักจากชัยชนะในสงคราม การล้อมที่ตันฉอง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเฮกเจียว · ดูเพิ่มเติม »

เฮาเสง

เฮาเสง(侯成)เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เดิมเป็นนายกองม้ารับใช้ลิโป้ภายหลังได้ร่วมมือกับซงเหียนและงุยซกหักหลังลิโป้และไปสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ฮเาเสง ฮเาเสง.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเฮาเสง · ดูเพิ่มเติม »

เฮาเฉีย

ฉีย (Hu Che'er) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนพลคนหนึ่งของเตียวสิ้ว ในศึกของโจโฉและเตียวสิ้วครั้งแรก เมื่อโจโฉยกทัพมาตีอ้วนเซีย เตียวสิ้วเจ้าเมืองอ้วนเซียได้ยอมสวามิภักดิ์โดยดี โจโฉได้เข้าไปอาศัยในเมืองอ้วนเซีย แต่ไปหลงนางเจ๋าซือผู้เป็นอาสะใภ้ของเตียวสิ้ว เตียวสิ้วโกรธมาก แต่ยังทำอะไรมิได้เพราะโจโฉมีเตียนอุยเป็นองครักษ์คู่กาย เฮาเฉียจึงเสนอวิธีให้มอมเหล้าเตียนอุยและขโมยทวนคู่ของเตียนอุยมา และเฮาเฉียคนนี้เองเป็นผู้เป็นผู้ไปขโมยทวนคู่ของเตียนอุยและขณะที่เตียนอุยเมาเหล้าไม่ได้สติ ทำให้เตียวสิ้วสามารถกำจัดเตียนอุยลงได้ และทำให้ทัพโจโฉถูกตีแตกต้องถอยกลับฮูโต๋ และโจโฉต้องเสียลูกชายและหลานชายไป แต่หลังจากศึกครั้งนั้น เฮาเฉียก็ไม่ถูกกล่าวถึงในสามก๊กอีกเล.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเฮาเฉีย · ดูเพิ่มเติม »

เฮียงทง

ียงทง (Xiang Chong, ? — ค.ศ. 240) ขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เฮียงทงเริ่มรับราชการในรัชสมัย พระเจ้าเล่าปี่ ก่อนจะถูกฆ่าตายโดยชนเผ่าป่าเถื่อนระหว่างยกทัพไปปราบชนเผ่าป่าเถื่อนในรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเฮียงทง · ดูเพิ่มเติม »

เผาตำรา ฝังบัณฑิต

ผาตำรา ฝังบัณฑิต กล่าวถึงเหตุการณ์เผาตำราที่คาดว่าเกิดขึ้นเมื่อปี 213 ก่อนคริสตกาล และฝังนักคิดและปัญญาชนสำนักวิชาขงจื๊อทั้งเป็นจำนวน 460 คนเมื่อปี 210 ก่อนคริสตกาล โดย จิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฉินในยุคจีนโบราณ เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดความสูญเสียตำราและคัมภีร์ที่มีเนื้อหาหลักปรัชญาของขบวนการสำนักความคิดทั้งร้อยจำนวนมาก หลักปรัชญาทางการของรัฐบาล (“การยึดถือกฎ”) ยังคงอยู่รอดมาได้ นักคิดและปัญญาชนยุคปัจจุบันตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดของเรื่องราวใน “บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่” เป็นแหล่งข้อมูลหลักตั้งแต่ ซือหม่า เชียน เขียนบันทึกเอาไว้เมื่อศตวรรษที่ 1 หรือหลังจากเหตุการณ์ผ่านไปแล้ว 100 ปีและยังเป็นเจ้าหน้าที่ในราชสำนักแห่งราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่สืบต่อจากราชวงศ์ฉิน และคาดว่าในบันทึกอาจจะแสดงถึงข้อความอันเป็นปฏิปักษ์ต่อราชวงศ์ฉิน ในขณะที่เป็นที่ชัดเจนว่าจักรพรรดิจิ๋นซีทรงรวบรวมและทำลายงานเขียนจำนวนมากซึ่งพระองค์ทรงพิจารณาว่าเป็นภัยต่อราชบังลังก์ เอกสารแต่ละฉบับจะทำสำเนาไว้ 2 ฉบับถูกเก็บรักษาไว้ในห้องสมุดของจักรพรรดิซึ่งถูกทำลายจากศึกสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน ปัจจุบันนี้เป็นที่เชื่อกันว่ามีนักคิดและปัญญาชนจำนวนมากถูกฆ่า แต่พวกเขาเหล่านี้ไม่ได้สังกัดในสำนักวิชาขงจื้อและไม่ได้ถูก “ฝังทั้งเป็น” ในบางกรณีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้และสำนวนที่ว่า “เผาตำรา ฝังบัณฑิต” ได้กลายเป็นตำนานที่ยังคงอยู่รอดมาได้ในมรดกของขงจื้อ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเผาตำรา ฝังบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

เจียวจิ๋ว

ียวจิ๋ว (Qiao Zhou, ? — ค.ศ. 270) มีชื่อรองว่า หย่งหนาน เกิดที่เมืองปาซีเป็นขุนนางแห่งจ๊กก๊กใน ยุคสามก๊ก เจียวจิ๋วเคยรับใช้ เล่าเจี้ยง มาก่อนในฐานะที่ปรึกษามีความรู้ทางโหราศาสตร์เคยทำนายว่าเสฉวนจะต้องเปลี่ยนผู้ปกครองใหม่ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริง ๆ เมื่อเล่าเจี้ยงยอมแพ้ต่อ เล่าปี่ จึงได้มารับใช้เล่าปี่จนกระทั่งเล่าปี่สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิเจียวจิ๋วจึงได้เป็นขุนนางแห่งจ๊กก๊กรับใช้ พระเจ้าเล่าปี่ จนกระทั่งถึงรัชสมัย พระเจ้าเล่าเสี้ยน ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเจียวจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เจียวขิม

เจียวขิม (Jiang Qin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ขุนพลคนสำคัญแห่งง่อก๊ก เป็นชาวเมืองฉิวฉุน มีชื่อรองว่า กงอี๋ เป็นคนรอบคอบซื่อตรง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ช่ำชองการรบทางเรือ เจียวขิมเดิมเป็นโจรร่วมกับจิวท่าย ต่อมาทั้งสองได้ร่วมมือกับซุนเซ็กก่อตั้งแคว้นกังตั๋ง เจียวขิมได้ทำการรบมีความชอบหลายครั้ง ซุนกวนจึงตั้งให้เป็นตั้งโค้วเจียงจวิน (นายพล)เจียวขิมถึงแก่กรรมระหว่างยกกองเรือรบกลับจากอำเภอเหมี่ยน จีเยวขิม จีเยมขิม.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเจียวขิม · ดูเพิ่มเติม »

เจียงหนาน

Xishi bridge, Mudu, Suzhouเจียงหนาน (Jiangnan;; หรือบางครั้งสะกดว่า Kiang-nan) คือพื้นที่บริเวณตอนล่างของแม่น้ำแยงซีในประเทศจีนปัจจุบัน โดยรวมถึงพื้นที่ตอนใต้ของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (Yangtze River Delta) ด้วย บริเวณเจียงหนานมีพื้นที่ครอบคลุมนครเซี่ยงไฮ้ ทางตอนใต้ของมณฑลเจียงซู ทางตอนใต้ของมณฑลอานฮุย ทางตอนเหนือของมณฑลเจียงซี และตอนเหนือของมณฑลเจ้อเจียง เมืองสำคัญในบริเวณนี้ ได้แก่ เมืองเซี่ยงไฮ้ หนานจิง หนิงป่อ หางโจว ซูโจว อู๋ซี ฉางโจว (อังกฤษ: Changzhou; จีน: 常州; พินอิน: Chángzhōu) และ เช่าซิง (Shaoxing; จีนตัวย่อ: 绍兴; จีนตัวเต็ม: 紹興; พินอิน: Shàoxīng) ประชาชนในบริเวณเจียงหนานส่วนมากมักใช้ภาษาจีนอู๋เป็นภาษาพูดประจำท้องถิ่น.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเจียงหนาน · ดูเพิ่มเติม »

เทียหยก

เทียหยก (Cheng Yu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ที่ปรึกษาคนสำคัญของโจโฉ ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์แก่โจโฉหลายครั้ง เป็นผู้ใช้อุบายดึงตัวชีซีจากเล่าปี่ และเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นว่าเรือเสบียงของอุยกายที่มาสวามิภักดิ์มีพิรุธ ซึ่งความจริงเป็นเรือเชื้อเพลิงของอุยกายที่ใช้เอาทัพเรือโจโฉตามอุบายของจิวยี่ ทีเยเภา ทีเยเภา.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเทียหยก · ดูเพิ่มเติม »

เขาฮิว

ว (Xu You) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเขาฮิว · ดูเพิ่มเติม »

เขาเฉียว

ฉียว (ค.ศ. 150 - ค.ศ. 195) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าสฺวี่เช่า มีชื่อรองว่าจื่อเจียง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นข้าราชการและนักดูลักษณะคนในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเขาเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

เคาเจ้ง

้ง (Xu Jing, ? — ค.ศ. 222) มีชื่อรองว่า เหวินซิ่ว เป็นเสนาบดีแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เคาเจ้งเกิดที่เมืองยีหลำเป็นญาติกับ เขาเฉียว หมอดูชื่อดังที่เคยทำนายโชคชะตาให้กับ โจโฉ ทำให้มีความสามารถในการทำนายดวงชะตาและทำนายลักษณะของคนต่อมาได้เข้ามารับใช้ เล่าเจี้ยง ในตำแหน่งที่ปรึกษา ต่อมาเมื่อเล่าเจี้ยงได้ยอมแพ้ต่อ เล่าปี่ ทำให้เคาเจ้งได้เข้ามารับใช้เล่าปี่ในตำแหน่งที่ปรึกษาจากนั้นใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเคาเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เงียมแปะฮอ

เงียมแปะฮอ (Yan Baihu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นเจ้าเมืองต๋องง่อ ในยุคสามก๊ก และตั้งตนเป็นอ๋องแห่งต๋องง่อ เมื่อซุนเซ็กทำการรวบรวมกังตั๋ง ได้ทำการตีเงียมแปะฮอที่ต๋องง่อ เงียมแปะฮอสู้ไม่ได้ จึงไปขอร้องอ่องหลองให้มาช่วยรบ แต่อ่องหลองก็แพ้ยับเยิน เงียมแปะฮอจึงหนีไปที่ตำบลอิข้อง ต่อมาได้ถูกตังสิดสังหาร งีเยมแปะฮอ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเงียมแปะฮอ · ดูเพิ่มเติม »

เตาบู

ตาบู (Dou Wu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนนางผู้ใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย รับราชการมาตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าฮั่นฮวนเต้ถึงพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ในรัชสมัยพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ขันทีกุมอำนาจการบริหารราชการ ทำให้อาณาประชาราษฎร์ได้รับความเดือดร้อนจากการโกงกินของเหล่าขันที เตาบูจึงร่วมกับตันผวนคิดวางแผนจะกำจัดเหล่าขันที แต่เหล่าขันทีรู้ตัวจึงได้นำกำลังไปจับตัวเตาบูและตันผวนไปประหาร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตาบู · ดูเพิ่มเติม »

เตาจี๋

ตาจี๋ (Du Ji, ? — ค.ศ. 224) มีชื่อรองว่า Bohou เป็นเสนาบดีและเสนาธิการแห่งวุยก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก และเป็นปู่ของ เตาอี้ แม่ทัพใหญ่ผู้พิชิตง่อก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตาจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

เตียวกิ๋น

ตียวกิ๋น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ขุนนางสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นเพื่อนสมัยเรียนของเล่าปี่ ต่อมาก็ได้เป็นเสนาธิการของแม่ทัพโลติด และได้พบเล่าปี่อีกครั้งที่หลังจากได้นำทหารอาสาเข้าทำการปราบปรามโจรโพกผ้าเหลืองจนมีความดีความชอบมากมายแต่กลับไม่ได้รับปูนบำเหน็จต้องรอคอยข่าวอยู่นอกเมืองหลวง ทั้งๆที่มีแต่แม่ทัพจากกองทัพหลวงต่างได้รับกันไปหมด เตียวกิ๋นเห็นสงสารจึงได้ไปกราบบังคับทูลเข้าเฝ้าต่อพระเจ้าเลนเต้และเตือนพระสติเรื่องสาเหตุที่เกิดโจรกบฏโพกผ้าเหลืองก็เพราะสิบขันที นอกจากนั้นจึงได้กราบทูลขอให้กำจัดสิบขันทีเสียเพื่อความสงบสุขต่อแผ่นดิน แต่ในที่สุดเตียวกิ๋นกลับถูกเหล่าสิบขันทีรุมสังหาร.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวกิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

เตียวก๊ก

เตียวก๊ก (Zhang Jue) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและหัวหน้ากลุ่มโจรโพกผ้าเหลือง เป็นชาวเมืองกิลกกุ๋น เตียวก๊กเดิมเป็นแค่สามัญชน เคยสอบเข้ารับราชการแต่ไม่ผ่าน จึงได้กลับบ้านเกิด เที่ยวหาสมุนไพร จนมาพบเซียนคนหนึ่ง เซียนคนนั้นได้ให้ตำราไทแผงเยาสุดให้แก่เตียวก๊ก เตียวก๊กได้ศึกษาตำรานั้นแล้วนำความรู้มาใช้รักษาโรคให้แก่ชาวบ้าน เป็นที่เลื่อมใสแก่ชาวบ้านในหลายเมืองเป็นอย่างมาก ต่อมาเตียวก๊กจึงรวบรวมผู้คนได้ 5 แสนคนแล้วตั้งเป็นกองทัพขึ้น เป้าหมายคือการล้มล้างราชบัลลังก์ฮั่น และให้ตนเป็นผู้นำแทน ทหารในกองทัพนี้ล้วนโพกผ้าเหลืองกันทุกคน จึงถูกเรียกว่า โจรโพกผ้าเหลือง แต่การใหญ่ยังไม่สำเร็จ เตียวก๊กก็ป่วยตายเสียหาย ในเวลาต่อมากองทัพโจรโพกผ้าเหลืองจึงถูกกำจัดหมดสิ้น จากที่เตียวก๊กก่อตั้งกองทัพโจรโพกผ้าเหลืองนี้เอง ทำให้เหล่าขุนศึกต่างๆพากันสั่งสมกำลัง และทำการแย่งชิงอาณาเขตและอำนาจกัน ทำให้แผ่นดินจีนเกิดแยกเป็นสามก๊กในเวลาต่อมา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ตีเยวก๊ก ตีเยวก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เตียวหลำ

ตียวหลำ (Zhang Nan, ? — ค.ศ. 222) ชื่อรองว่า เหวินจิ้น เป็นขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วง ยุคสามก๊ก เตียวหลำเกิดที่แคว้นเกงจิ๋วต่อมาได้เข้ามารับใช้ เล่าปี่ เมื่อคราวเล่าปี่เข้ายึดเกงจิ๋วและได้ตามไปรับใช้เมื่อเล่าปี่เข้ายึดแคว้นเอ๊กจิ๋วจนกระทั่งถูกฆ่าตายในสนามรบใน ศึกอิเหลง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวหลำ · ดูเพิ่มเติม »

เตียวหงี

ตียวหงี เป็นนายทหารของจ๊กก๊กในยุคสามก๊กในประวัติศาสตร์จีน เป็นบุคคลสำคัญในปราบปรามอนารยชนซึ่งกบฏต่อจ๊กก๊ก ถูกสังหารเมื่อครั้ง เกียงอุย นำทัพจ๊กตีทัพวุยก๊ก ขณะที่พยายามขัดขวางข้าศึกไม่ให้ขับไล่ตามเกียงอ.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวหงี · ดูเพิ่มเติม »

เตียวอุ๋น

ตียวอุ๋น (Zhang Yun, ? — ?) ขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซึ่งก่อนหน้านั้นได้เคยรับใช้ เล่าเปียว เจ้าเมือง เกงจิ๋ว เมื่อ โจโฉ ยกกองทัพลงใต้ทางฝ่ายเกงจิ๋วซึ่งในขณะนั้นปกครองโดย เล่าจ๋อง บุตรชายของเล่าเปียวที่ถึงแก่กรรมไปก่อนหน้านั้นไม่นานก็เกรงว่าจะไม่ปลอดภัยจึงได้ยอมแพ้ต่อโจโฉเตียวอุ๋นจึงได้มารับใช้วุยก๊กสืบต่อมาซึ่งเตียวอุ๋นถึงแก่กรรมเมื่อใดไม่มีหลักฐาน แต่สามก๊กฉบับวรรณกรรมของ ล่อกวนตง ได้กล่าวไว้ว่าก่อนเกิด ศึกผาแดง ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวอุ๋น · ดูเพิ่มเติม »

เตียวซี

ตียวซี (Xing Cai) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ภรรยาของพระเจ้าเล่าเสี้ยน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวซี · ดูเพิ่มเติม »

เตียวซี (จักรพรรดินีองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเล่าเสี้ยน)

ระนางเตียวซี (Empress Zhang, ? — ?) หรือ จักรพรรดินีจาง จักรพรรดินีแห่งจ๊กก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก พระนางเตียวซีประสูติเมื่อใดไม่ปรากฎเป็นธิดาของ เตียวหุย และแฮหัวฮูหยินและเป็นพระขนิษฐาของจักรพรรดินีจางหรือพระนางเตียวซีจักรพรรดินีพระองค์แรกของ พระเจ้าเล่าเสี้ยน จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จ๊กทำให้มีการเรียกขานพระนามของพระองค์เป็นพระนามเดียวกับพระเชษฐภคินีเมื่อพระนางเตียวซีสิ้นพระชนม์ใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวซี (จักรพรรดินีองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเล่าเสี้ยน) · ดูเพิ่มเติม »

เตียวโป้ (เจ้าเมืองตองกุ๋น)

ตียวโป้ (Qiao Mao, ? — ค.ศ. 190) ตัวละครที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ ยุคสามก๊ก เป็นเจ้าเมืองตองกุ๋น เป็นหลานของ เกียวก๊กโล จึงมีศักดิ์เป็นญาติกับสองสาวงามแห่ง กังตั๋ง คือ ไต้เกี้ยว และ เสียวเกี้ยว เตียวโป้ได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับ อ้วนเสี้ยว และเจ้าเมืองอื่น ๆ อีก 16 เมืองใน ศึกปราบตั๋งโต๊ะ เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวโป้ (เจ้าเมืองตองกุ๋น) · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเลี้ยว

ตียวเลี้ยว (Zhang Liao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนพลคนสำคัญของโจโฉ เดิมอยู่รับใช้ลิโป้ ต่อมาลิโป้ถูกจับได้ที่เมืองแห้ฝือถูกประหาร ส่วนเตียวเลี้ยวโจโฉเกลี้ยกล่อมให้มาร่วมงานด้วย และเป็นบุคคลที่กวนอูให้ความเคารพนับถือ เพราะนับถือในความซื่อสัตย์และฝีมือ ทั้ง ๆ ที่อยู่คนละฝ่ายกัน ซึ่งเตียวเลี้ยวเป็นคนที่อาสาโจโฉไปเกลี้ยกล่อมกวนอูขณะที่แตกทัพให้มาอาศัยอยู่ชั่วคราวกับโจโฉนั่นเอง เตียวเลี้ยวเป็นขุนพลที่มีความชำนาญทั้งในพิชัยสงคราม กลศึก การรบบนหลังม้า จึงมักได้รับหน้าที่ภาระสำคัญจากโจโฉเสมอ ๆ แม้จะเป็นขุนพลผู้มาสวามิภักดิ์ภายหลัง เช่นการรักษาเมืองหับป๋า ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการรบกับซุนกวน ซึ่งเตียวเลี้ยวก็สามารถทำหน้าที่ได้ดี นอกจากจะรักษาฐานที่มั่นไว้ได้โดยตลอดแล้ว ยังสามารถเป็นฝ่ายรุก รบชนะทัพง่อหลายครั้ง จนเกือบจะจับเป็นซุนกวนได้ จึงเป็นขุนพลที่ทางง่อก๊กขยาดในฝีมือ ถึงกับมีคำกล่าวว่า เตียวเลี้ยวมีตำแหน่งเป็นหนึ่งในห้าทหารเสือของวุยก๊ก (เตียวเลี้ยว, เตียวคับ, งักจิ้น, ซิหลง และอิกิ๋ม) เตียวเลี้ยวเสียชีวิตลงเพราะโดนลูกธนูยิงเมื่อโจผีบุกง่อก๊ก หลังจากโจผีทราบถึงการเสียชีวิตของเตียวเลี้ยวก็จัดพิธีศพอย่างยิ่งใหญ่สมเกียรติ ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์แตกต่างจากวรรณกรรมอยู่พอสมควร จดหมายเหตุสามก๊กของเฉินโซ่วระบุว่า หลังจากพระเจ้าโจผีขึ้นครองราชย์แล้ว ซุนกวนเป็นฝ่ายยกทัพมารุกรานวุยก๊ก (ไม่ใช่โจผียกไป) เตียวเลี้ยวจึงถูกส่งตัวมาประจำการ ณ หับป๋าอีกครั้ง และเขาก็เอาชนะทัพง่อได้เป็นครั้งที่สอง ทำให้โจผีชื่นชมมาก จึงได้เพิ่มบรรดาศักดิ์และมอบเกียรติยศให้มากมาย ถึงขนาดเปรียบเทียบเขากับ “ซ่าวหู่” ยอดนักรบแห่งราชวงศ์โจว จากนั้นไม่นานเตียวเลี้ยวก็ล้มป่วย พระเจ้าโจผีจึงส่งแพทย์หลวงประจำราชสำนักไปรักษาอาการ ทั้งยังเสด็จไปเยี่ยมเตียวเลี้ยวเป็นการส่วนตัว โดยเสวยอาหารร่วมกับเขาอย่างไม่ถือตัว จนอาการของเตียวเลี้ยวดีขึ้นไม่ช้าไม่นาน ซุนกวนตั้งท่าจะรุกรานวุยก๊กอีก พระเจ้าโจผีจึงให้เตียวเลี้ยวไปรับศึกร่วมกับโจฮิว ครั้นสองฝ่ายประจันหน้ากันที่แม่น้ำแยงซี ซุนกวนซึ่งเคยแพ้เตียวเลี้ยวมาหลายครั้งหลายหนถึงกับกล่าวว่า และแม้จะไม่ได้รบกับซุนกวนอีก แต่เตียวเลี้ยวก็สามารถนำทัพเอาชนะลิห้อมแห่งกังตั๋งได้ในปีเดียวกันนั้น ซึ่งถือเป็นชัยชนะเหนือง่อก๊กรอบที่สาม อาจกล่าวได้ว่านายพลเตียว “ทำแฮตทริก” ชนะง่อก๊กได้ถึงสามครั้ง ซึ่งคงมีนายทหารน้อยคนในแผ่นดินที่จะทำได้เช่นนี้ จากนั้นไม่นาน เตียวเลี้ยวก็ล้มป่วยและเสียชีวิตลง เป็นการ "ป่วยตาย" ไม่ได้โดนเกาทัณฑ์ยิงในการรบเหมือนที่วรรณกรรมหลอกว้านจงเล่าไว้ เตียวเลี้ยวถือเป็นหนึ่งในยอดนายทหารยุคสามก๊กที่ไม่ได้มีดีแค่ฝีมือรบ แต่ยังเปี่ยมไปด้วยสติปัญญา เขาได้รับการยกย่องจากเฉินโซ่ว ผู้บันทึกจดหมายเหตุสามก๊ก ให้เป็น “หมายเลขหนึ่ง” ในบรรดา “ห้าทหารเอกแห่งวุยก๊ก” ร่วมด้วย เตียวคับ ซิหลง งักจิ้น และ อิกิ๋ม ด้วยความที่อยู่วุยก๊ก ซึ่งมักถูกมองเป็น “ก๊กผู้ร้าย” ทำให้เตียวเลี้ยวไม่ได้รับการยกย่องและเป็นที่จดจำของผู้อ่านวรรณกรรมมากเท่ากับทหารเอกฝ่ายจ๊กอย่าง กวนอู เตียวหุย หรือจูล่ง ทั้งๆ ที่ “มือปราบกังตั๋ง” อย่างเขา ยิ่งใหญ่เกรียงไกรไม่แพ้นักรบคนไหนในแผ่นดินเล.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเลี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเหียน

เตียวเหียน (Zhang Hong) เป็นที่ปรึกษาของซุนเซ็ก รับราชการพร้อมกับ เตียวเจียว เตียวเจียวและเตียวเหียนเป็น 2 ปราชญ์แซ่เตียวที่ทรงปัญญาในกังตั๋ง เป็นชาวเมืองกองเหล็ง (กฺวั่งหลิง) มณฑลเจียงซู มีชื่อรองว่า จื่อกาง เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถมาก ไม่เห็นแก่ลาภยศ ประพันธ์บทกวี่ไว้สิบกว่าบท เขียนอรรถาธิบายคัมภีร์อี้จิง คำประพันธ์ยุคฮั่น หลี่จี้ จ่อซื้อ ชุนซิว มีชื่อเสียงโด่งดังจิวยี่เป็นผู้แนะนำซุนเซ็กให้เชิญเตียวเหียนกับเตียวเจียวมาเป็นที่ปรึกษา ตอนแรกซุนเซ็กส่งของกำนัลและจดหมายไปเชิญ บุคคลทั้งสองไม่ยอมมา ซุนเซ็กต้องไปเชิญเองจึงยอมรับ เตียวเหียนได้รับแต่งตั้งให้เป็นชันเหมาเจิ้งหยี่ (เสนาธิการทหาร) ถ้าเตียวเหียนออกศึก เตียวเจียวจะควบคุมการบริหารอยู่ในเมือง ถ้าเตียวเจียวออกศึก เตียวเหียนก็จะอยู่ในเมือง เป็นเช่นนี้ตลอดเวลา เมื่อซุนเซ็กเป็นใหญ่ขึ้นในกังตั๋ง ได้ให้เตียวเหียน ไปทูลพระเจ้าเหี้ยนเต้ที่ราชธานีฮูโต๋ โจโฉเห็นเตียวเหียนเป็นหัวแรงสำคัญของซุนเซ็ก ก็กักตัวไว้ ไม่ยอมให้กลับ พอซุนเซ็กตายแล้ว โจโฉยอมให้เตียวเหียนกลับมาช่วยซุนกวน โดยเชื่อว่าจะภักดีต่อโจโฉ เตียวเหียนรับราชการอยู่กับซุนกวน จนกระทั้งป่วยมาก จนต้องกลับไปรักษาตัวที่บ้าน ก่อนจะตายได้มีหนังสือแนะนำให้ซุนกวนย้ายเมืองหลวงของกังตั๋งจากลำซี มาตั้งที่เบาะเหลง (นานกิง) ซึ่งซุนกวนก็ได้ปฏิบัติตาม หมวดหมู่:ง่อก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเหียน · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเอ๊ก

ตียวเอ๊ก (Zhang Yi, ? — ค.ศ. 264) มีชื่อรองว่า ป้อกง เป็นขุนศึกแห่งจ๊กก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก เตียวเอ๊กเกิดที่ตำบลอู่หยัง เมืองเจียนอุ๋ยเป็นทายาทที่สืบเชื้อสายจาก เตียวเหลียง ที่ปรึกษาคนสำคัญของ จักรพรรดิฮั่นเกา ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก มีความสามารถทางทหารได้รับพระราชทานยศเป็น ต้าเจียงจวิน (จอมพล) แรกเริ่มเดิมที เตียวเอ็กรับราชการอยู่กับเล่าเจี้ยงแห่งเอ็กจิ๋วแต่หลังจากเล่าปีเข้ายึดครองเอ็กจิ๋วแล้วเขาก็ได้เข้าร่วมกับเล่าปี่ เขาได้เข้าต่อสู้เพื่อจ๊กก๊กหลายครั้ง เช่นศึกชิงฮันต๋ง ศึกอิเหลง และติดตามขงเบ้งบุกขึ้นปราบวุยก๊กที่ภาคเหนือ เมื่อ ขงเบ้ง อัครมหาเสนาบดีและสมุหนายกแห่งจ๊กก๊กถึงแก่กรรมใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเจ (ฮั่นตะวันออก)

ตียวเจ (Zhang Ji, ? — ค.ศ. 196) ขุนพลของ ตั๋งโต๊ะ (Dong Zhuo) ในช่วงต้นของ ยุคสามก๊ก เตียวเจภายหลังจากที่ตั๋งโต๊ะถูกสังหารโดย ลิโป้ (Lü Bü) ได้จับมือกับอดีตขุนพลของตั๋งโต๊ะอีก 3 คนคือ ลิฉุย (Li Jue), กุยกี (Guo Si) และ หวนเตียว (Fan Chou) บุกเข้ายึด พระนครฉางอัน (Chang an) สังหาร อ้องอุ้น (Wang Yun) และพยายามสังหารลิโป้แต่ลิโป้รู้ตัวและพา เตียวเสี้ยน (Diao Chan) หนีออกจากฉางอันไปได้ทำให้ขุนพลทั้ง 4 เข้าควบคุม จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน (Emperor Han Xian) หรือ พระเจ้าเหี้ยนเต้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเจ (ฮั่นตะวันออก) · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเจียว

ตียวเจียว (Zhang Zhao) เป็นตัวละครใน วรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ ยุคสามก๊ก เสนาธิการของ ซุนกวน ชื่อรอง จื่อปู้ เป็นชาวเมืองเผิงเฉิง ซื่อสัตย์ ยุติธรรม มีความรู้กว้างขวางคงแก่เรียนรับราชการมาตั้งแต่ซุนเซ็กและเป็นผู้ช่วยซุนเซ็กสร้างแคว้นกังตั๋งก่อนตายซุนเซ็กได้มอบให้เตียวเจียวดูแลซุนกวนซึ่งอายุยังน้อย เมื่อโจโฉนำทัพมาตั้งที่ริมแม่น้ำแยงซีเกียงตรงข้ามกับกังตั๋ง เพื่อเตรียมทำศึกกับกังตั๋ง เตียวเจียวได้หว่านล้อมให้ซุนกวนยอมสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ แต่ขงเบ้งได้หว่านล้อมจิวยี่ให้สู้ศึกจนกระทั่งเอาชนะโจโฉในศึกผาแดงได้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเจียว · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเค้า

เตียวเค้า (Zhang Ti) (ค.ศ. 236 -ค.ศ. 280) อัครมหาเสนาบดีคนสุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ง่อ ในช่วงรัชสมัย พระเจ้าซุนโฮ ในช่วง การรุกรานของราชวงศ์จิ้น เตียวเค้าพร้อมกับเหล่าขุนศึกได้ออกรบต้านทานทัพของราชวงศ์จิ้นที่นำโดย กาอุ้น อย่างกล้าหาญจนกระทั่งตายในที่รบเมื่อปี ค.ศ. 280 หลังจากนั้นได้ไม่นานพระเจ้าซุนโฮก็ประกาศยอมแพ้.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเค้า · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเป๋า

ตียวเป๋า (Zhang Bu, ? — ค.ศ. 264) ขุนศึกแห่งง่อก๊กในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก เตียวเป๋ามีส่วนสำคัญในการโค่นล้ม ซุนหลิม ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินที่กุมอำนาจในราชสำนักและสถาปนา ซุนโฮ ขึ้นเป็นจักรพรรดิร่วมกับ เตงฮอง ขุนศึกชั้นผู้ใหญ่ที่รับใช้ง่อก๊กมาถึง 4 สมัยแต่เตียวเป๋ากลับถูกพระเจ้าซุนโฮประหารชีวิตด้วยพระองค์เองเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียวเป๋า · ดูเพิ่มเติม »

เตียนห้อง

ตียนห้อง (Tian Feng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เสนาธิการของอ้วนเสี้ยว มีความคิดความอ่านดี แต่เลือกนายผิด ในช่วงที่โจโฉยกทัพกำลังมาตีเล่าปี่ที่ชีจิ๋ว เล่าปี่ส่งจดหมายถึงอ้วนเสี้ยวให้ช่วยตีฮูโต๋เพื่อทำให้โจโฉห่วงหน้าพะวงหลัง แต่อ้วนเสี้ยวอ้างว่าอ้วนซงบุตรคนเล็กของตนป่วยไม่มีจิตใจจะทำสงคราม เตียนห้องพยายามชี้ข้อดีของการบุกตี แต่อ้วนเสี้ยวไม่ฟัง ต่อมา อ้วนเสี้ยวคิดยกทัพตีโจโฉ เตียนห้องมาห้ามแล้วว่าครั้งก่อนที่ฮูโต๋ว่างเปล่ากลับไม่เข้าตี มาตีเมื่อโจโฉมีกำลังพร้อมสรรพต้องพ่ายแพ้อย่างแน่นอน อ้วนเสี้ยวโกรธกล่าวหาว่าเตียนห้องพูดทำลายขวัญกองทัพ แล้วให้นำตัวไปขัง ต่อมา อ้วนเสี้ยวพ่ายแพ้โจโฉราบคาบในศึกกัวต๋อสมดังคาดของเตียนห้อง อ้วนเสี้ยวคิดถ้าปล่อยเตียนห้องออกจากห้องขัง เตียนห้องต้องเยาะเย้ยตนแน่ จึงส่งคนไปสังหารเตียนห้อง แต่เตียนห้องรู้ชะตาตนเองดี จึงได้ปลิดชีวิตตนเองไปก่อนหน้านี้แล้ว.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียนห้อง · ดูเพิ่มเติม »

เตียนอุย

ตียนอุย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ชาวเมืองตันลิว เป็นองครักษ์คนสำคัญของโจโฉ เป็นคนรูปร่างใหญ่ ใช้ทวนคู่เป็นอาวุธ มีพลังแข็งแกร่ง เข้ามารับราชการกับโจโฉโดยการแนะนำของแฮหัวตุ้นในช่วงที่โจโฉมีอำนาจในภาคตะวันออก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตียนอุย · ดูเพิ่มเติม »

เตงหงี

ตงหงี (Ding Yi, ? — ค.ศ. 220) ชื่อรองว่า เจิ้งหลี่ เป็นที่ปรึกษาของ โจสิด บุตรชายของ โจโฉ ผู้ก่อตั้ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก เตงหงีเกิดที่ตำบลเพ่ยเสี้ยนซึ่งเป็นนิวาสถานเดิมของ หลิวปัง ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองราชบัลลังก์เป็น จักรพรรดิฮั่นเกา ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก โดยเตงหงีได้เข้ามารับใช้วุยก๊กและเกือบจะได้แต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของโจโฉแต่กลับถูก โจผี บุตรชายคนที่ 2 ของโจโฉขัดขวางเนื่องจากโจผีเห็นว่าเตงหงีตาบอดข้างหนึ่งไม่คู่ควรและให้แต่งงานกับ แฮหัวหลิม บุตรชายคนที่ 2 ของ แฮหัวตุ้น ขุนศึกคนสำคัญของโจโฉแทนทำให้เตงหงีไม่พอใจและได้เป็นที่ปรึกษาให้กับบุตรชายคนที่ 3 ของโจโฉคือโจสิด เมื่อโจโฉได้ขึ้นเป็น วุยอ๋อง และใกล้จะเสียชีวิตได้เตรียมการแต่งตั้งผู้สืบทอดตำแหน่งเตงหงีจึงเสนอชื่อโจสิดแต่โจโฉปฏิเสธและแต่งตั้งโจผีขึ้นเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งแทนเมื่อโจโฉถึงแก่อสัญกรรมใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตงหงี · ดูเพิ่มเติม »

เตงงาย

ตงงาย (Deng Ai) เป็นแม่ทัพคนสำคัญของฝ่ายวุยก๊ก ในยุคสามก๊กตอนปลาย มีชื่อรองว่าซื่อไจ่ เป็นชาวตำบลจี๋หยาง มณฑลเหอหนาน เป็นคนฉลาด ไหวพริบดี ชำนาญพิชัยสงคราม สุมาอี้เห็นปัญญาดีจึงเอาตัวมาส่งเสริม เมื่อเกียงอุย ขุนพลจ๊กก๊ก ลูกศิษย์ขงเบ้ง ยกทัพมาตีวุยก๊ก เตงงายก็สามารถยันทัพเกียงอุยไว้ได้ทุกครั้ง ในกาลนั้น พระเจ้าเล่าเสี้ยนปกครองจ๊กก๊ก ทรงลุ่มหลงสุรานารี ทำให้บ้านเมืองแหลกเหลว สุมาเจียวจึงให้เตงงายและจงโฮยยกทัพเข้าตีจ๊กก๊ก เตงงายเดินทัพลัดเลาะมาทางด่านอิมเป๋งและสามารถยึดเสฉวนได้ในที่สุด เตงงายถือว่าเป็นผู้พิชิตจ๊กก๊ก มีความดีความชอบใหญ่หลวง แต่สุมาเจียวกลับระแวงเตงงาย จึงให้จงโฮยกับอุยก๋วนปราบเตงงายและจับตัวส่งไปเมืองหลวง ระหว่างทางก็ให้สังหารเตงงายกับเตงต๋งผู้บุตรเสี.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเตงงาย · ดูเพิ่มเติม »

เต๊งหงวน

ต๊งหงวน (Ding Yuan) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เจ้าเมืองเต๊งจิ๋ว มีลูกเลี้ยงและองครักษ์คนหนึ่งชื่อลิโป้ เต๊งหงวนเป็นเจ้าเมืองคนหนึ่ง ที่โฮจิ๋นเรียกตัวมาเพื่อกำจัด 10 ขันที หลังจากโฮจิ๋นถูก 10 ขันทีสังหาร และ 10 ขันทีถูกกำจัดจนสิ้น ตั๋งโต๊ะ เจ้าเมืองซีหลงได้เข้ามากุมอำนาจในเมืองหลวง และเสนอเหล่าขุนนางให้ปลดพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ และสถาปนาหองจูเหียบขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้แทน แต่เหล่าขุนนางส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย เต๊งหงวนเป็นคนหนึ่งที่ลุกขึ้นด่าตั๋งโต๊ะว่าเป็นกบฏ แต่ตั๋งโต๊ะไม่กล้าจัดการกับเต๊งหงวน เพราะมีลิโป้ยืนถือทวนอยู่ข้างหลัง ตั๋งโต๊ะได้ออกอุบายให้ลิโป้มาอยู่ข้างตน โดยให้คนนำทรัพย์สินเงินทองไปซื้อตัวลิโป้ และสั่งให้ลิโป้ไปฆ่าเต๊งหงวน เต๊งหงวนถูกลิโป้สังหารในปี..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเต๊งหงวน · ดูเพิ่มเติม »

เต๊งไก๋

นศึกในช่วง ค.ศ. 194 เต๊งไก๋ (Tian Kai, ?— ค.ศ. 199) ผู้ตรวจการแห่งเฉงจิ๋วซึ่งรับใช้ กองซุนจ้าน ขุนศึกที่มีชื่อเสียงแห่ง ยุคสามก๊ก ในช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เมื่ออ้วนเสี้ยวได้ก่อตั้งกองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองเพื่อปราบตั๋งโต๊ะที่เข้ายึดอำนาจจากราชสำนักฮั่นซึ่งกองซุนจ้านก็เป็นหนึ่งในแม่ทัพใหญ่ที่ได้เข้าร่วมเต๊งไก๋จึงได้ติดตามกองซุนจ้านเข้าทำศึกในครั้งนี้ด้วย หลังจากที่กองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองได้สลายตัวไปใน..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเต๊งไก๋ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็กเธาว์

ซ็กเธาว์ (Red Hare;; กระต่ายแดง) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก สุดยอดของม้าในยุคสามก๊ก มีเอกลักษณ์คือขนสีแดงทั้งตัว ในสามก๊กได้กล่าวถึง เซ็กเธาว์ ว่าสามารถวิ่งได้วันละพันลี้ เดิมทีเป็นม้าของตั๋งโต๊ะ ซึ่งต่อมาได้มอบให้กับ ลิโป้พร้อมกับเครื่องบรรณาการมากมาย เพื่อให้ลิโป้ทรยศพ่อบุญธรรม คือเต๊งหงวน ชื่อเซ็กเธาว์นั้นแท้ที่จริงแล้วไม่ใช่ชื่อม้า แต่เป็นชื่อสายพันธุ์ม้า เชื่อว่ามีถิ่นกำเนิดแถบตะวันออกกลางหรือเติร์กเมนิสถาน ลิโป้นั้นเป็นคนเห็นแก่ลาภยศจึงได้บุกลอบเข้าไปฆ่าพ่อบุญธรรมของตนจนตายเสีย และจึงเข้าร่วมกับตั๋งโต๊ะในที่สุด ต่อมาหลังจาก ลิโป้ถูกโจโฉประหารที่เมืองเสียวพ่าย ม้าเซ็กเธาว์ก็ตกไปเป็นของโจโฉจนกระทั่ง เมื่อ กวนอูมาอยู่กับโจโฉระยะนึง โจโฉต้องการมัดใจกวนอูและมอบเครื่องบรรณาการมากมายให้รวมทั้งม้าเซ็กเธาว์ด้วย และกวนอูก็ใช้ม้าเซ็กเธาว์ได้เป็นอย่างดี ภายหลังเมื่อกวนอู ถูกจับตัวโดย ลิบอง และ ลกซุน เซ็กเธาว์ก็ตกเป็นของซุนกวน แต่ในที่สุดเมื่อกวนอูถูกประหาร มันก็ไม่ยอมกินอะไรและอดตายในที่สุด ขณะที่บันทึกในประวัติศาสตร์จริง ระบุว่าม้าเซ็กเธาว์หายไปพร้อมกับลิโป้ถูกจับ จุดประกาย 7 วัฒนธรรม, ม้าวิเศษในตำนานจีน โดย ดนุพล ศิริตานนท.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเซ็กเธาว์ · ดูเพิ่มเติม »

เปาสิ้น

ปาสิ้น (Bao Xin) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก มีน้องชายชื่อเปาต๋ง เมื่อครั้งตั๋งโต๊ะเริ่มเข้ามามีอำนาจในเมืองหลวง เปาสิ้นคิดอ่านเห็นว่า หากนานไปตั๋งโต๊ะต้องคิดเหิมเกริมเป็นแน่แท้ จึงปรึกษาอ้วนเสี้ยวเพื่อหาทางกำจัดตั๋งโต๊ะ แต่อ้วนเสี้ยวยังมิเห็นด้วย อ้วนเสี้ยวว่าแผ่นดินเพิ่งสงบ ยังมิควรก่อการใดๆให้วุ่นวายอีก เปาสิ้นจึงไปปรึกษาอ้องอุ้น แต่อ้องอุ้นก็คิดอ่านเช่นเดียวกันกับอ้วนเสี้ยว อ้องอุ้นว่าจะทำการใดต้องคิดตรองดูให้ดีก่อน เปาสิ้นน้อยใจ พาพรรคพวกออกไปอยู่ป่า ภายหลังครั้งรวบรวมกองกำลังพันธมิตรปราบตั๋งโต๊ะ เปาสิ้นก็ได้นำทัพมาร่วมด้วย ครั้งนั้นเปาสิ้นสั่งให้เปาต๋งนำทหารม้า 5,000 นายบุกตีด่านกิสุยก๋วน แต่แตกพ่ายแก่ทัพของฮัวหยง เปาต๋งเสียชีวิตในการรบ ภายหลังเปาสิ้นเข้าเป็นขุนพลใต้สังกัดของแฮหัวตุ้น ปีหนึ่งโจรโพกผ้าเหลืองอาละวาดหนักในหลายพื้นที่ โจโฉส่งทัพไปปราบปรามโจรโพกผ้าเหลือง เปาสิ้นก็เข้าร่วมการรบด้วย แต่เสียชีวิตในการรบ รูปเปาสิ้นจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเปาสิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เปาต๋ง

ปาต๋ง (Bao Zhong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นน้องชายและขุนพลคนสนิทของเปาสิ้น เจ้าเมืองเจปัก เปาสิ้นได้เข้าร่วมกองทัพพันธมิตร 18 หัวเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อล้มล้างตั๋งโต๊ะในปี พ.ศ. 732 โดยซุนเกี๋ยนเจ้าเมืองเตียงสาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นทัพหน้าในการตีด่านกิสุยก๋วน อันเป็นเมืองหน้าด่านของเมืองหลวงลกเอี๋ยง เปาสิ้นคิดริษยาเกรงว่าซุนเกี๋ยนจะได้รับความชอบแต่เพียงผู้เดียว จึงให้เปาต๋งคุมทหารห้าหมื่นนายยกไปทางลัด เพื่อตีด่านกิสุยก๋วนตัดหน้าซุนเกี๋ยน แต่เปาต๋งก็ถูกฮัวหยงขุนพลของตั๋งโต๊ะสังหาร ส่วนทหารเจปักทั้งห้าหมื่นนายก็ถูกตีแตก.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเปาต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

เปาเตียว

ปาเตียว (Fu Rong, ? — ค.ศ. 222) ขุนศึกแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ใน ศึกอิเหลง เมื่อ..

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเปาเตียว · ดูเพิ่มเติม »

เปี๋ยนฮี

ปี๋ยนฮี (Bian Xi) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กเป็นขุนพลผู้รักษาด่านกิสุยก๋วน.

ใหม่!!: ยุคสามก๊กและเปี๋ยนฮี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Three Kingdoms PeriodThree Kingdoms periodสมัยสามก๊ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »