โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เรือพิฆาต

ดัชนี เรือพิฆาต

ูเอสเอส วินสตัน เอส. เชอร์ชิล (USS Winston S. Churchill) ของกองทัพเรือสหัฐอเมริกา เรือพิฆาต (destroyer) เป็นคำศัพท์เฉพาะทางของกองทัพเรือซึ่งหมายถึงเรือรบที่รวดเร็วและคล่องแคล่ว มีระยะทำการไกล มีหน้าที่คุ้มกันเรือขนาดใหญ่ในกองเรือรบ ขบวนเรือ หรือ หมู่เรือบรรทุกอากาศยาน โดยปกป้องจากเรือรบที่มีขนาดเล็กกว่า มีระยะยิงที่สั้นแต่ทรงพลัง (แต่เดิมคือเรือตอร์ปิโด, ต่อมาภายหลังเป็นเรือดำน้ำและอากาศยาน).

19 ความสัมพันธ์: กองทัพเรือโซเวียตยุทธการที่ดันเคิร์กยุทธนาวีทะเลคอรัลยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เตยุทธนาวีที่ซามาร์ยูเอสเอส ไอโอวา (BB-61)รายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหารลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)ปฏิบัติการเท็งโงเรือพิฆาตชั้นคงโงเรือพิฆาตฟุยุซุกิเรือพิฆาตซุซุสึกิเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5เรือลาดตระเวนเรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกาเรือประจัญบานยะมะโตะเอสเอช-60 ซีฮอว์กเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเคลย์มอร์ (แก้ความกำกวม)

กองทัพเรือโซเวียต

กองทัพเรือโซเวียต (Военно-морской флот СССР (ВМФ)) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของสหภาพโซเวียต กองทัพเรือโซเวียตมีกองเรือย่อยคือกองเรืออาร์กติก, กองเรือบอลติก, กองเรือทะเลดำ, กองเรือแปซิฟิก และนอกจากนี้กองทัพเรือโซเวียตยังบัญชาการ ฐานทัพเรือเลนินกราด และ กองเรือรบเล็กแคสเปียน ซึ่งเป็นกองเรือที่ลาตตะเวนในทะเลสาบแคสเปียนและบัญชาการ Soviet Naval Aviation, นาวิกโยธินโซเวียต และ Coastal Artillery.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและกองทัพเรือโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ดันเคิร์ก

ทธการที่ดันเคิร์ก เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งเกิดที่ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การยุทธ์นี้ต่อสู้กันระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศสบนแนวรบด้านตะวันตก ยุทธการที่ดันเคิร์กเป็นการป้องกันและอพยพทหารบริติชและฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรประหว่างวันที่ 26 พฤษภาคมถึง 4 มิถุนายน 1940 หลังสงครามลวง ยุทธการที่ฝรั่งเศสเริ่มอย่างจริงจังเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 ทางทิศตะวันตก กองทัพเยอรมันกลุ่มบีบุกครองประเทศเนเธอร์แลนด์และบุกไปทางทิศตะวันตก ผู้บัญชาการสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอกฝรั่งเศส โมรีส เกมลิน (Maurice Gamelin) เริ่ม "แผนดี" และเข้าประเทศเบลเยียมเพื่อประจัญบานกับฝ่ายเยอรมันในประเทศเนเธอร์แลนด์ แผนดังกล่าวต้องพึ่งพาป้อมสนามแนวมากีโนตามชายแดนเยอรมัน–ฝรั่งเศสอย่างมาก แต่กองทัพเยอรมันข้ามแนวดังกล่าวมาแล้วผ่านประเทศเนเธอร์แลนด์ส่วนใหญ่ก่อนกองทัพฝรั่งเศสมาถึง เกมลินจึงส่งกำลังภายใต้บังคับบัญชาของเขา ได้แก่ กองทัพสนามยานเกราะ (mechanized army) สามกอง คือ กองทัพที่ 1 ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และกำลังรบนอกประเทศบริเตน (British Expeditionary Force) ไปแม่น้ำดิล (Dyle) วันที่ 14 พฤษภาคม กองทัพเยอรมันกลุมเอทะลวงผ่านป่าอาร์เดนและบุกไปทางทิศตะวันตกอย่างรวดเร็วสู่ซะด็อง (Sedan) แล้วหันขึ้นเหนือสู่ช่องแคบอังกฤษ การนี้จอมพลเอริช ฟอน มันชไตน์ เรียกว่า "เกี่ยวออก" (หรือเรียก "แผนเหลือง" หรือแผนมันชไตน์) ซึ่งเป็นการโอบทัพฝ่ายสัมพันธมิตร การตีโต้ตอบหลายครั้งของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งยุทธการที่อารัส (Arras) ไม่สามารถหยุดยั้งหัวหอกของเยอรมันได้ ซึ่งไปถึงชายฝั่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม แยกกองทหารบริติชใกล้กับแอคม็องตีแย (Armentières) กองทัพที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และกองทัพเบลเยียมที่อยู่เหนือขึ้นไปจากกำลังฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่อยู่ทางใต้ของการบุกทะลวงของเยอรมัน เมื่อถึงช่องแคบแล้ว กำลังเยอรมันกวาดไปทางเหนือตามชายฝั่ง คุกคามที่จะยึดท่าและดักกองทัพบริติชและฝรั่งเศสก่อนที่จะสามารถอพยพไปบริเตน ฝ่ายเยอรมันหยุดการบุกเข้าดันเคิร์กซึ่งเป็นการตัดสินใจที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดครั้งหน่งของสงคราม สิ่งที่เรียกว่า "คำสั่งหยุด" นั้นมิได้มาจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งขัดต่อความเชื่อของมหาชน จอมพลแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอเสนอว่ากองทัพเยอรมันรอบวงล้อมดันเคิร์กควรหยุดการบุกเข้าท่าและสะสมกำลังเพื่อเลี่ยงการตีฝ่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิตเลอร์อนุมัติคำสั่งดังกล่าวในวันที่ 24 พฤษภาคมด้วยการสนับสนุนของกองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพหยุดเป็นเวลาสามวันซึ่งทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีเวลาเพียงพอสำหรับจัดระเบียบการอพยพดันเคิร์กและตั้งแนวป้องกัน แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประเมินสถานการณ์ดังกล่าวไว้อย่างเลวร้าย โดยบริเตนถึงขั้นอภิปรายกันเรื่องยอมจำนนแบบมีเงื่อนไขต่อเยอรมนี ในบั้นปลายทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการช่วยเหลือกว่า 330,000 น.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและยุทธการที่ดันเคิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีทะเลคอรัล

ทธนาวีทะเลคอรัล เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 4-8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและยุทธนาวีทะเลคอรัล · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต

ทธนาวีอ่าวเลย์เต หรือในอดีตรู้จักกันในชื่อ ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินครั้งที่สอง เป็นยุทธนาวีครั้งใหญ่ที่สุดในสงครามโลกครั้งที่สองและใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ สมรภูมิอยู่ในทะเลบริเวณใกล้กับเกาะเลย์เต ซามาร์ และลูซอนของประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 23-26 ตุลาคม..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่ซามาร์

"ยุทธนาวีที่ซามาร์"เป็นส่วนหนึ่งของยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เตซึ่งเป็นหนึ่งในสงครามทางเรือที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในฟิลิปปินส์ ซึ่งเกิดเหตุการณืที่เกาะซามาร์ในประเทศฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 1944 โดยที่กองทัพเรืออเมริกันยังไม่ได้เตรียมตัวไว้กับกองกำลังฝ่ายอักษะถือว่าเป็นยุทธการทางทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของกองทัพเรือ.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและยุทธนาวีที่ซามาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส ไอโอวา (BB-61)

ูเอสเอส ไอโอวา (BB-61) เป็นเรือประจัญบานลำแรกในชั้นไอโอวาของสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อตามรัฐไอโอวา เนื่องจากการยกเลิกการสร้างเรือชั้นมอนแทนาดังนั้นเรือชั้นไอโอวาจึงเป็นเรือประจัญบาญรุ่นสุดท้ายและนับว่าเป็นเรือประจัญบาญที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยสหรัฐอเมริกา โดยเรือ ไอโอวา เป็นเรือลำเดียวในชั้นเดียวกันที่ได้เข้าปฏิบัติการในมหาสมุทรแปซิกฟิกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี 1943 ไอโอวา ถูกเลือกเป็นเรือสำหรับประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ สำหรับการเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปประชุมกับนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลแห่งราชอาณาจักรและโจเซฟ สตาลินผู้นำโซเวียต ณ เมืองเตหะราน ดังนั้นเรือประจัญบานลำนี้จึงมีเครื่องอำนวยความสะดวก เช่น อ่างอาบน้ำสำหรับประธานาธิบดีและลิฟต์สำหรับขึ้นลงดาดฟ้าเรือIowa was not the first US battleship to have a bathtub, the 1912 joiner plans for the U.S.S. ''Texas'' and U.S.S. ''New York'' indicate that bathtubs were in the Admiral's Bath, Captain's Bath, Chief of Staff's bath, Junior Officer's Bath, Warrant Officer's Bath, Wardroom Officer's Baths, and the Sick Bay Bath when those ships were constructed.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและยูเอสเอส ไอโอวา (BB-61) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหาร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและรายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1940 ทหารสกีของฟินแลนด์ - 12 มกราคม 1940 ทหารโซเวียตเสียชีวิตหลังจากถูกโจมตีที่ถนนราเต เส้นทางการรุกของกองทัพเยอรมันและกองทัพอังกฤษในการทัพนอร์เวย์ การรุกสายฟ้าแลบระหว่างยุทธการแห่งฝรั่งเศส - กลางเดือนพฤษภาคม 1940 อพยพจากดันเคิร์กระหว่างปฏิบัติการไดนาโม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในกรุงปารีส - 23 มิถุนายน 1940 เครื่องบินรบเยอรมันเตรียมทำการรบในยุทธการแห่งบริเตน เดอะบลิตซ์: กรุงลอนดอนถูกทิ้งระเบิดทางอากาศโดยกองทัพอากาศเยอรมัน.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940) · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเท็งโง

ปฏิบัติการเท็งโง เป็นปฏิบัติการทางทะเลหลักครั้งสุดท้ายของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามแปซิฟิกของสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการเท็งโงยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า Operation Heaven One (ปฏิบัติการสรวงสวรรค์) และ Ten-ichi-gō (เท็งอิชิโง) ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและปฏิบัติการเท็งโง · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาตชั้นคงโง

รือพิฆาตชั้นคงโงเป็นเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น ได้รับการพัฒนามาจากเรือพิฆาตชั้น Arleigh Burke (อาร์ลีห์เบิร์ก) ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการปรับปรุง/ดัดแปลง ให้ตรงตามภัยคุกคามและตามความต้องการของ กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น (JMSDF) มีภารกิจหลักคือการป้องกันภัยทางอากาศให้กับกองเรือ ส่วนภารกิจรองคือการต่อต้านเรือผิวน้ำและเรือดำน้ำ ประจำการเมื่อปี 1991-1996 สำหรับเครื่องยนต์ของเรือนั้น ใช้เครื่องยนต์กังหันก๊าส Ishikawajima-Harima LM2500 ของมิซูบิชิ (ซึ่งได้รับสิทธิบัตรการผลิตของ General Electric LM2500 ซึ่งเป็นเครืองยนต์ตัวเดียวกับที่ติดตั้งใน เรือพิฆาตชั้น Arleigh Burke ของสหรัฐ Type 052 Luhu-class ของกองทัพเรือปลอปล่อยประชาชนจีน และ เรือจักรีนฤเบศร ของไทย รวมถึงเรือบรรทุกเครืองบิน Vikrant ของอินเดีย) โดยเรือชั้นคงโง ติดตั้ง Ishikawajima-Harima LM2500 ถึง 4 ระบบ ทำให้เรือชั้นนี้ ขับเคลื่อนได้ที่ความเร็ว 30 นอต (56 km/h) ด้วยกำลัง 100,000 แรงม้า(75 MW).

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือพิฆาตชั้นคงโง · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาตฟุยุซุกิ

ฟุยุซุกิ เป็นเรือพิฆาตชั้นอะกิซุกิ (Akizuki) ของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ชื่อมีความหมายว่า "จันทร์ฤดูหนาว" ในวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือพิฆาตฟุยุซุกิ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาตซุซุสึกิ

ซุซุสึกิ เป็นเรือพิฆาตชั้นอะกิซุกิ (Akizuki) ของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ชื่อมีความหมายว่า "จันทร์กระจ่าง (ในฤดูใบไม้ร่วง)" ในวันที่ 6–7 เมษายน..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือพิฆาตซุซุสึกิ · ดูเพิ่มเติม »

เรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5

รือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5 (T5) เป็นเรือยิงตอร์ปิโดประจำการในราชนาวียูโกสลาเวียระหว่างปี..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5 · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวน

รือ ยูเอสเอส พอร์ต รอยัล (CG 73) เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา แห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เรือลาดตระเวน (อังกฤษ: Cruiser) เป็นประเภทของเรือรบประเภทหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน เรือลาดตระเวนมีวัตุถุประสงค์หลักในการปฏิบัติการโจมตีและป้องกันภารกิจทางทะเลได้อย่างอิสระ มีความคล่องตัวสูง สามารถต่อตีเป้าหมายได้หลากหลายประเภท เช่น เรือดำน้ำ อากาศยาน และเรือรบผิวน้ำประเภทอื่นๆ เรือลาดตระเวนเริ่มมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งสงครามเย็นสงบลง ในอดีตนั้นเรือลาดตระเวนมิได้จัดเป็นหนึ่งในประเภทของเรือรบ หากแต่เป็นเรือฟริเกตที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการลาดตระเวนอย่างอิสระออกจากกองเรือขนาดใหญ่ จึงจำต้องมีส่วนในการเข้าโจมตีเรือสินค้าของศัตรู จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า "เรือลาดตระเวน" กลายเป็นรูปแบบของเรือรบประเภทหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อภารกิจลาดตระเวนโดยเฉพาะ และจากปลายทศวรรษ 1890 ถึงทศวรรษที่ 1950 เรือลาดตระเวนจะหมายถึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภายหลังได้มีการปลดประจำการเรือประจัญบานจนหมดสิ้นแล้วนั้น ทำให้เรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปฏิบัติการรบผิวน้ำ อย่างไรก็ตามก็ได้มีการพัฒนาให้เรือลาดตระเวนมีความสามารถในการป้องกันกองเรือจากภัยคุกคามทางอากาศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเภทของเรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือรบผิวน้ำที่มีขนาดระวางขับน้ำมากที่สุดในกองทัพเรือ (ไม่นับเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือช่วยรบอื่นๆ) อย่างไรก็ตามยังมีเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีชั้นอาเลห์เบิร์ก ของสหรัฐอเมริกา และชั้นคองโง ของญี่ปุ่น ที่มีขนาดใหญ่ระดับเดียวกับเรือลาดตระเวน แต่ก็ไม่อาจใช้คำว่าเรือลาดตระเวนได้ เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือลาดตระเวน · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา

รือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา (อังกฤษ: Ticonderoga class cruiser) เป็นชั้นเรือรบหนึ่งในประเภทเรือลาดตระเวนติดอาวุธนำวิถีกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ได้รับอนุมัติการสร้างครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบานยะมะโตะ

รือประจัญบานยะมะโตะ เป็นเรือประจัญบานขนาดยักษ์ ตั้งตามชื่อ "ยะมะโตะ" ซึ่งเป็นจังหวัดโบราณในประเทศญี่ปุ่น เป็นเรือประจัญบานชั้นยะมะโตะลำแรกของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น เรือประจัญบานยะมะโตะและเรือประจัญบานมูซาชิที่อยู่ในชั้นเดียวกัน เป็นเรือประจัญบานขนาดใหญ่ที่สุดและมีอาวุธทรงประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่ญี่ปุ่นสามารถสร้างได้ ด้วยระวางขับน้ำ 72,800 ตันและปืนใหญ่ขนาดปากลำกล้อง 460 มิลลิเมตร (18 นิ้ว) ทั้งคู่จมลงในระหว่างสงคราม เรือรบลำนี้มีความหมายอันยิ่งใหญ่สำหรับจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสัญลักษณ์ด้านนาวิกานุภาพของชาติ (คำว่า "ยะมะโตะ บางครั้งก็หมายถึงประเทศญี่ปุ่น) และถูกเรือบรรทุกเครื่องบินอเมริกันจมช่วงปลายของสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปฏิบัติการฆ่าตัวตายเท็งโง ซึ่งการจมของเรือรบยะมะโตะ บางครั้งถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นด้ว.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอช-60 ซีฮอว์ก

อสเอช-60/เอ็มเอช-60 ซีฮอว์ก (SH-60/MH-60 Seahawk) เป็นเฮลิคอปเตอร์หลากภารกิจที่มีเครื่องยนต์เทอร์โบชาฟท์สองเครื่องยนต์ โดยมีพื้นฐานโครงสร้างมาจากยูเอช-60 แบล็กฮอว์กและเฮลิคอปเตอร์ตระกูลซิคอร์สกี้ เอส-70 การดัดแปลงที่เด่นชัดที่สุดคือที่ส่วนหางเพื่อลดรอยขูดขีดที่อาจเกิดขึ้นเมื่อลงจอดบนดาดฟ้าเรือ กองทัพเรือสหรัฐใช้โครงสร้างของเอช-60 พัฒนารุ่นที่มีชื่อว่าเอสเอช-60บี เอสเอช-60เอฟ เอชเอช-60เอช เอ็มเอช-60อาร์ และเอ็มเอช-60เอส มันสามารถใช้ได้บนเรือฟริเกต เรือพิฆาต เรือลาดตระเวน เรือสนับสนุนการรบ เรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบก หรือเรือบรรทุกเครื่องบิน ซีฮอว์กสามารถใช้ทำหน้าที่ในสงครามปราบเรือดำน้ำ สงครามใต้น้ำ สงครามทำลายกำลังพื้นผิว สงครามพิเศษทางน้ำ ภารกิจค้าหาและช่วยเหลือ การกิจค้นหาและช่วยเหลือการรบ การส่งกำลังเพิ่มเติมทางดิ่ง และการเคลื่อนย้ายคนเจ็.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเอสเอช-60 ซีฮอว์ก · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

มีความสำคัญอย่างมากในทุกสมรภูมิทั้งในยุโรป แอฟริกาหรือแม้กระทั่งแปซิฟิกก็ตาม เพราะถ้าจะทำให้กองทัพบกเข้มแข็งก็ต้องมีกองบินที่แข็งแกร่งก่อน เครื่องบินรบที่สำคัญก็มี สปิตไฟท์ของ อังกฤษ แมสเซอร์สมิตซ์ 109 ของเยอรมัน เครื่องบินซีโร่ของญี่ปุ่น พี-51 มัสแตง ของสหรัฐ โดยในแปซิฟิคเครื่องบินรบจะมีบทบาทมากว่าเรือรบอย่างเห็นได้ชัด ในสมรภูมิยุโรปเครื่องบินก็เป็นส่วนสำคัญในปฏิบัติการสายฟ้าแลบของเยอรมันในช่วงต้นของสงคราม อาจพูดได้ว่าเครื่องบินรบนั้นสำคัญที่สุด เป็นตัวแปรที่สำคัญในสงครามอย่างยิ่ง นอกจากนี้ นาซีเยอรมันได้คิดค้นเครื่องบินรบไอพ่นเป็นครั้งแรก ทำให้กลายเป็นที่หวาดกลัวของกองทัพอากาศสัมพันธมิตรแต่ทว่าหลังสงคราม สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียตได้นำมันมาพัฒนาและสร้างได้หลายชนิด หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

เคลย์มอร์ (แก้ความกำกวม)

ลย์มอร์ (Claymore) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เรือพิฆาตและเคลย์มอร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »