โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เรือดำน้ำ

ดัชนี เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

89 ความสัมพันธ์: บลุปบีเออี ซิสเต็มส์ฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)พ.ศ. 2458พ.ศ. 2485พ.ศ. 2500พระอภัยมณีพลศาสตร์ของไหลเชิงคณนาพลิกตำนานรักใต้ทะเลลึกกองทัพเรือนอร์เวย์กองทัพเรือไทยยานพาหนะยานสำรวจน้ำลึกยุทธการใต้สมุทรยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เตยุทธนาวีเกาะช้างรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหารรูดอล์ฟ อีมิว คาลมานลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลกล็อกฮีด เอซี-130วูดโรว์ วิลสันสิ่งประดิษฐ์สุภาษ จันทระ โพสสงัด ชลออยู่สงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวีสโมกกีแบร์หมึก (สัตว์)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หอยงวงช้างออสการ์อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียอาร์เอ็มเอส คาร์เพเทียอู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจอีเบย์ธีโอดอร์ โรสเวลต์ถังอับเฉาทรชนคนสวยที่สุดในประเทศไทยท่อยิงตอร์ปิโดดาส โบทดิอะเมซิ่งเรซ 13คริสต์สหัสวรรษที่ 2ตอร์ปิโดปฏิบัติการโวเร็คปฏิบัติการเท็งโงแอลัน ทัวริง...ใต้ทะเลสองหมื่นโยชน์โรเบิร์ต ฟุลตันโซนาร์ไมลส์ "เทลส์" พราวเวอร์เบร์เกต์ แอตแลนติกเรือเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์เรือพิฆาตเรือพิฆาตฟุยุซุกิเรือลาดตระเวนเรือหลวงพลายชุมพลเรือหลวงมัจฉาณุเรือหลวงวิรุณเรือหลวงสินสมุทรเรืออูเรือผิวน้ำเรือดำน้ำชั้นทรียงฟ็องเรือดำน้ำชั้นโอะยะชิโอะเรือดำน้ำแบบ 206เรือดำน้ำแบบ 209เรือดำน้ำในอาเซียนเรือดำน้ำโซเวียต เอส-194เร็ว..แรงทะลุนรก 8เวสต์แลนด์ลิงซ์เอชเอ็มเอ็ส แวนการ์ด (เอส 28)เอส-2 แทรคเคอร์เอส-3 ไวกิ้งเอสตาดิโอเดลาเซรามิกาเอจีเอ็ม-84 ฮาร์พูนเอ็กโซเซต์เจอร์เกน พรอชนาวเจเอส มัทสึยูกิ (ดีดี-130)เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเซคันด์ไลฟ์U21 มกราคม29 มิถุนายน4 กุมภาพันธ์7 พฤษภาคม ขยายดัชนี (39 มากกว่า) »

บลุป

กราฟเสียงของบลุป บลุป (Bloop) เป็นชื่อเรียกของเสียงความถี่ต่ำมากใต้มหาสมุทรซึ่ง องค์การสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration หรือ NOAA) ของสหรัฐอเมริกาสามารถตรวจจับได้ในช่วงฤดูร้อนของ พ.ศ. 2540 ต้นกำเนิดของบลุปยังเป็นปริศน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและบลุป · ดูเพิ่มเติม »

บีเออี ซิสเต็มส์

ีเออี ซิสเต็มส์ พีแอลซี (BAE Systems plc) เป็นบริษัทผลิตยุทโธปกรณ์ และอากาศยานสัญชาติอังกฤษ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองฟาร์นโบโร แฮมป์เชอร์ ประเทศอังกฤษ เป็นบริษัทผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่อันดับสองของโลก รองจากโบอิง และอันดับหนึ่งของยุโรป บีเออี ซิสเต็มส์ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและบีเออี ซิสเต็มส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)

ฟาเธอร์แลนด์ เป็นนวนิยายขายดีในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อหาแนวสืบสวน-ฆาตกรรม เขียนโดยนักข่าวอังกฤษ รอเบิร์ต แฮร์ริส โดยมีจุดเด่นคือ ประวัติศาสตร์สมมุติว่า หากนาซีเยอรมนีชนะสงครามโลกครั้งที่สอง โลกจะเป็นอย่างไร ผู้จัดพิมพ์ในประเทศไทยคือ ปราดเปรียวสำนักพิม.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พระอภัยมณี

ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพระอภัยมณี · ดูเพิ่มเติม »

พลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา

แบบจำลองการไหลของอากาศความเร็วสูงรอบๆกระสวยอวกาศระหว่างการเดินทางกลับสู่โลก มัค 7 พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (CFD ซี่งย่อมาจาก Computational Fluid Dynamics) คือสาขาหนึ่งในกลศาสตร์ของไหลที่ใช้กระบวนการเชิงตัวเลขและขั้นตอนวิธี (algorithm) ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการไหลของของไหล เพื่อการนี้ คอมพิวเตอร์จะถูกนำมาใช้เพื่อทำการคำนวณนับล้านๆครั้ง ก่อนที่จะสร้างแบบจำลองการทำปริกิริยาของของไหลและก๊าซต่อขอบผิวซึ่งกำหนดโดยสภาวะของขอบเขต แต่ทว่า ผลลัพธ์ที่ได้นั้นก็ยังเป็นเพียงการประมาณการณ์ที่ได้จากในหลายๆกรณีเท่านั้นถึงแม้ว่าจะใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงในการคำนวณก็ตาม อย่างไรก็ตาม การพัฒนาของโปรแกรมนี้ในปัจจุบัน ความแม่นยำและความเร็วในการคำนวณสถานะการณ์ที่ซับซ้อนนั้นได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่นการจำลองการไหลแบบเทอร์บิวแลนต์ หรือ Transonic โปรแกรมนี้แต่เดิมถูกนำมาใช้กับการจำลองกังหันลม แต่ปัจจุบันถูกนำมาใช้ในการทดสอบการบินด้ว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา · ดูเพิ่มเติม »

พลิกตำนานรักใต้ทะเลลึก

ลิกตำนานรักใต้ทะเลลึก (Ghosts of the Abyss) เป็นภาพยนตร์สารคดี เกี่ยวกับการสำรวจซากเรืออาร์เอ็มเอส ไททานิกของนักวิทยาศาสตร์ กำกับโดย เจมส์ คาเมรอน นำแสดงโดยบิล แพกซ์ตัน ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทกับคาเมรอน ภาพยนตร์เรื่องนี้ถ่ายทำโดยใช้เรือดำน้ำดำสำรวจในสถานที่จริง บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ โดยใช้กล้องถ่ายภาพระบบ IMAX 3D ออกฉายเมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 2003 เฉพาะที่โรงภาพยนตร์ไอแมกซ์ เป็นภาพยนตร์สามมิติเรื่องแรกของวอลต์ ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของคาเมรอน หลังจากภาพยนตร์เรื่อง ไททานิก.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและพลิกตำนานรักใต้ทะเลลึก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือนอร์เวย์

กองทัพเรือนอร์เวย์ ('''''Sjøforsvaret'''''., "the naval defence (forces)") เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพนอร์เวย์ มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของ ประเทศนอร์เวย์ ในปี 2008 กองทัพเรือนอร์เวย์ มีกำลังพลประมาณ 3,700 นาย และมีเรือรบในประจำการ 70 ลำแบ่งเป็น เรือฟรีเกรตหนัก 5 ลำ, เรือดำน้ำ 6 ลำ, เรือตรวจการ 14 ลำ และ เรือเก็บกวาดทุ่นระเบิด 4 ลำ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและกองทัพเรือนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร. กร.) หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ (นสร. กร.) และหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและกองทัพเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

ยานพาหนะ

ักรยานยนต์เป็นยานพาหนะชนิดหนึ่ง ยานลอยตัวเป็นพาหนะชนิดหนึ่ง ยานพาหนะ หมายถึงวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ ยานพาหนะส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ อาทิ จักรยาน รถยนต์ จักรยานยนต์ รถไฟ เรือ และเครื่องบิน เป็นต้น หรือไม่ได้สร้างขึ้นโดยมนุษย์แต่สามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ เช่น ภูเขาน้ำแข็งหรือท่อนซุงลอยน้ำ เป็นต้น ยานพาหนะสามารถชักจูงโดยสัตว์ เช่น รถม้าหรือเกวียนเทียมวัว อย่างไรก็ตามตัวสัตว์เองนั้นก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ ซึ่งรวมไปถึงมนุษย์ที่เคลื่อนย้ายขนส่งมนุษย์ด้วยกันเอง (คนอุ้มคน) ก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ แต่สัตว์และมนุษย์เหล่านั้นจะเรียกว่าเป็น พาหนะ (ไม่มีคำว่ายาน) ยานพาหนะแบ่งตามการเคลื่อนย้ายได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ยานพาหนะส่วนใหญ่ที่เคลื่อนย้ายขนส่งบนพื้นจะมีล้อ เช่น เกวียน, จักรยาน,รถยนต์ และรถไฟ และส่วนยานพาหนะที่ไม่ได้เคลื่อนที่บนพื้นมักถูกเรียกว่า craft เช่น watercraft, sailcraft, aircraft (อากาศยาน), hovercraft (ยานสะเทินน้ำสะเทินบก) และ spacecraft (ยานอวกาศ).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและยานพาหนะ · ดูเพิ่มเติม »

ยานสำรวจน้ำลึก

นสำรวจน้ำลึกทรีเอสต์ ก่อนหน้าจะดำลงไปยังร่องลึกมาเรียนา ยานสำรวจน้ำลึก (bathyscaphe) เป็นเรือใต้ทะเลลึกดำอิสระขับเคลื่อนด้วยตนเอง ประกอบด้วยเคบินลูกเรือทรงกลมคล้ายกับเครื่องดำน้ำทรงกลม แต่ถูกแขวนไว้ใต้เคบิลลอยแทนที่จะเป็นเคเบิลพื้นผิว อันเป็นรูปแบบที่ใช้ในเครื่องดำน้ำทรงกลมดั้งเดิม ยานสำรวจน้ำลึกดังกล่าวจะบรรจุน้ำมันเชื้อเพลิง เนื่องจากสามารถจัดหาได้ ลอยตัว และไม่สามารถถูกอัดได้สำหรับจุดประสงค์ในการใช้งานทุกประการ คุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิงที่ไม่สามารถถูกอัดได้หมายความว่าตัวถังสามารถสร้างขึ้นโดยไม่ต้องมีความหนามากนัก เนื่องจากความดันภายในและภายนอกตัวถังเท่ากัน และไม่จำเป็นต้องทนกับความแตกต่างของความดันแต่อย่างใด แต่ตรงกันข้ามกับเคบินลูกเรือที่ต้องสามารถทนความแตกต่างของความดันอย่างมหาศาล และจะต้องมีการสร้างในมีความหนา การลอยตัวสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยการแทนที่น้ำมันเชื้อเพลิงด้วยน้ำ ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่า ออกุสเต ปิการ์ ผู้ประดิษฐ์ยานสำรวจน้ำลึกลำแรก ตั้งชื่อ bathyscaphe โดยใช้คำภาษากรีกโบราณ βαθύς (ลึก) และ σκάφος (เรือ).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและยานสำรวจน้ำลึก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการใต้สมุทร

ทธการใต้สมุทร (The silent service) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเกี่ยวกับการต่อสู้โดยเรือดำน้ำนโยบายและแนวคิดทางการเมือง ผลงานของไคจิ คาวางูจิ ความยาว 32 เล่มจบ โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ เรื่องราวของกับตันไคเอเดะ ชิโร่ กับลูกเรือได้ให้หายสาบสูญระหว่างปฏิบัติภารกิจบนเรือดำน้ำนิวเคลียร์ยามาโตะ (ยามาโตะ เป็นชื่อเรียกของประเทศญี่ปุ่นสมัยอดีต) โดยเรือดำน้ำมีชื่อเดิมว่าซีแบท (ที่แปลว่า ค้างคาวทะเล) และต่อมาเรือดำน้ำยามาโตะ ได้ประกาศตนเองเป็นประเทศเอกราชยามาโตะ โดยมีอำนาจและสิทธิการเมืองเทียบเท่ากับประเทศอื่นทั่วโลก ในระหว่างเนื้อเรื่องได้มียุทธการต่อสู้ใต้น้ำโดยเรือดำน้ำและตอร์ปิโด และมีการเน้นไปทางทฤษฎีและแนวคิดทางการเมือง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและยุทธการใต้สมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต

ทธนาวีอ่าวเลย์เต หรือในอดีตรู้จักกันในชื่อ ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินครั้งที่สอง เป็นยุทธนาวีครั้งใหญ่ที่สุดในสงครามโลกครั้งที่สองและใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ สมรภูมิอยู่ในทะเลบริเวณใกล้กับเกาะเลย์เต ซามาร์ และลูซอนของประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 23-26 ตุลาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีเกาะช้าง

การรบที่เกาะช้าง หรือที่รู้จักกันในนาม ยุทธนาวีเกาะช้าง เป็นเหตุการณ์รบทางเรือที่เกิดขึ้นในกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ไทยเรียกร้องให้ปรับปรุงเส้นแบ่งเขตแดน ไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส เสียใหม่ โดยใช้แนวร่องน้ำลึกเป็นเกณฑ์ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักความยุติธรรม และให้ฝรั่งเศสคืนดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงที่ฝรั่งเศสยึดไปจากเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ให้ไทย ยุทธภูมิในการรบครั้งนี้เกิดขึ้นที่บริเวณด้านใต้ของเกาะช้าง จังหวัดตราด เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 และถือเป็นการรบทางทะเลครั้งเดียวในประวัติศาสตร์กองทัพเรือไทย และรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อีกด้ว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและยุทธนาวีเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหาร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและรายชื่อประเทศตามข้อมูลทางการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน

รูดอล์ฟ (รูดี้) อีมิว คาลมาน (Rudolf (Rudy) Emil Kálmán; เกิด 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน) เป็นวิศวกรไฟฟ้า นักทฤษฎีระบบเชิงคณิตศาสตร์ และผู้พัฒนาตัวกรองคาลมาน (Kalman filter) และเป็นผู้นำเสนอแบบจำลองปริภูมิสถานะ และนำเสนอแนวคิดเรื่องสภาพควบคุมได้และสภาพสังเกตได้ มาใช้ในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ อันเป็นการนำองค์ความรู้ของทฤษฎีระบบควบคุมไปสู่ยุคใหม่ ที่เรียกว่า ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่ (modern control theory).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและรูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939) · ดูเพิ่มเติม »

ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก

K-19: The Widowmaker ฉายในไทยใช้ชื่อว่า ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก เป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ของโซเวียต ที่ประสบอุบัติเหตุกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล เนื่องจากระบบหล่อเย็นชำรุด ขณะปฏิบัติการอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ดัดแปลงจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นกับเรือดำน้ำชั้นโฮเทล หมายเลข K-19 ที่ประสบอุบัติเหตุเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด เอซี-130

ล็อกฮีด เอซี-130 (Lockheed AC-130) เป็นเครื่องบินติดอาวุธขนาดหนัก โครงสร้างพื้นฐานถูกสร้างขึ้นโดยล็อกฮีดและโบอิงเป็นผู้รับผิดชอบในการเปลี่ยนให้มันกลายมาเป็นเครื่องบินติดอาวุธและเครื่องบินสนับสนุน มันเป็นแบบหนึ่งของเครื่องบินขนส่งซี-130 เฮอร์คิวลิส เอซี-130เอเข้ามาแทนที่เอซี-47 สปูคกี้ในสงครามเวียดนาม ผู้ใช้งานเพียงผู้เดียวของเครื่องบินติดอาวุธคือกองทัพอากาศสหรัฐฯ ซึ่งใช้เอซี-130เอช สเปกเตอร์และเอซี-130ยู สปูคกี้, กองทัพอากาศสหรัฐฯ, ตุลาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและล็อกฮีด เอซี-130 · ดูเพิ่มเติม »

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและวูดโรว์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งประดิษฐ์

งประดิษฐ์ (invention) หรือ นวัตกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่ว่าจะกระด้วยความฉลาดหรือบังเอิญ แล้วผู้ที่ประดิษฐ์สิ่งของ เรามักจะเรียกว่านักประดิษฐ์ (inventor) สิ่งประดิษฐ์คือสิ่งของต่างๆที่เกิดจากความต้องการของมนุษย์เพื่อใช้ในการแสวงหาประโยชน์ หรือ อำนวยความสะดวกสบายต่าง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสิ่งประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภาษ จันทระ โพส

ษ จันทระ โพส สุภาษ จันทระ โพส (Subhash Chandra Bose; सुभाष चन्द्र बोस; 23 มกราคม ค.ศ. 1897 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1945) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนตาชี (Netaji; नेता जी; "ท่านผู้นำ") เป็นผู้นำกลุ่มอิสระชาวอินเดียที่ต้องการการปลดปล่อยประเทศอินเดียให้เป็นเอกราชจากการปกครองของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสุภาษ จันทระ โพส · ดูเพิ่มเติม »

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสงัด ชลออยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี

นธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี (Treaty for the Limitation and Reduction of Naval Armament) หรือ สนธิสัญญารัฐนาวีกรุงลอนดอน (London Naval Treaty) เป็นการตกลงระหว่างสหราชอาณาจักร จักรวรรดิญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อิตาลี และสหรัฐอเมริกา ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 1930 ซึ่งเป็นการวางกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการรบด้วยเรือดำน้ำ และการจำกัดจำนวนการต่อเรือรบของภาคีสนธิสัญญ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี · ดูเพิ่มเติม »

สโมกกีแบร์

ปสเตอร์ในปี 1944 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนช่วยป้องกันไฟป่าโดยดับกองไฟทันทีที่พบ สโมกกีแบร์ (Smokey Bear) เป็นมาสคอตของกรมป่าไม้แห่งสหรัฐอเมริกา (United States Forest Service) ออกแบบขึ้นในปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและสโมกกีแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและหมึก (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้าง

ำหรับหอยงวงช้างที่นิยมนำมารับประทาน ดูที่: หอยกูอีดั๊ก หอยงวงช้าง เป็นมอลลัสคาในชั้นเซฟาโลพอด จัดอยู่ในอันดับย่อย Nautilina จัดเป็นมอลลัสคาที่มีวิวัฒนาการค่อนข้างสูง เป็นสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิตอยู่บนโลกนี้แล้วกว่า 350 ล้านปี จัดอยู่ในชั้นเซฟาโลพอด อันเป็นชั้นเดียวกับปลาหมึก ในชั้นย่อยนอติลอยด์ จัดเป็นนอติลอยด์เพียงกลุ่มเดียวเท่าที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่งก็ว่าได้.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและหอยงวงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ออสการ์

Oscar อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย (RMS Lusitania) คือชื่อเรือเดินสมุทรสัญชาติอังกฤษที่ครอบครองรางวัลบลูริบบันด์ (Blue Riband) ซึ่งมอบให้กับเรือที่เป็นเจ้าของสถิติเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาน้อยที่สุด และเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียเดินสมุทรครั้งแรกโดยบริษัทสายการเดินเรือคูนาร์ดในปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและอาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย

อาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย (RMS Carpathia) คือชื่อเรือเดินสมุทรของสายการเดินเรือคิวนาร์ด (Cunard Line) เริ่มก่อสร้างเมื่อ ค.ศ. 1901 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1903 เป็นเรือที่รู้จักกันดีในฐานะเรือที่ไปช่วยเหลือผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์เรืออาร์เอ็มเอส ไททานิก อัปปาง เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 และเรือลำนี้ก็อัปปางลงในวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและอาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย · ดูเพิ่มเติม »

อู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ

อู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง U-571 นำแสดงโดย แมทธิว แม็คคอนาเฮย์, บิลล์ แพ็กตัน, ฮาวีย์ ไคเทล, จอน บอง โจวี กำกับการแสดงโดย โจนาธาน มอสโทว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและอู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อีเบย์

อีเบย์ (eBay Inc.) อีเบย์ (ชื่อในตลาดแนสแด็ก: EBAY) เป็นมาร์เก็ตเพลซที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นผู้นำด้านโกลบอล คอมเมิร์ซ รวมถึงเว็บไซต์อีเบย์ สตับฮับ และอีเบย์คลาสสิฟายด์ โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและอีเบย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ. 1905 อีกด้ว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและธีโอดอร์ โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถังอับเฉา

ังอับเฉา (ballast tank) เป็นส่วนของท้องเรือหรือส่วนของฐานทุ่นลอย ที่ออกแบบไว้ให้สูบน้ำเข้าออกได้ เพื่อปรับจุดศูนย์ถ่วงให้เรือหรือทุ่นนั้นสามารถทรงตัวได้ดีขึ้น โดยเฉพาะในสภาพทะเลเปิด ตำแหน่งของถังอับเฉาในเรือดำน้ำ เมื่อมองจากภายนอก ส่วนถังอับเฉาในเรือดำน้ำ จะไม่ได้มีหน้าที่ปรับจุดศูนย์ถ่วงเพียงอย่างเดียว แต่จะควบคุมการดำลง/ลอยขึ้น และระดับความลึกของเรือดำน้ำด้วย โดยเมื่อต้องการจะดำลง ก็จะสูบน้ำเข้าถังอับเฉา จนตัวเรือมีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำรอบๆ ทำให้เรือจมลง และเมื่อต้องการจะลอยขึ้น ก็จะไล่น้ำออกจะถังอับเฉาโดยใช้อากาศอัดมาแทนที่จนเรือมีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ ทำให้เรือลอย นอกจากจะใช้กับเรือแล้ว ยังมีการใช้ถังอับเฉาลักษณะคล้ายกันในส่วนฐานของแท่นขุดเจาะน้ำมันและกังหันลมแบบลอยทะเล เพื่อรักษาจุดศูนย์ถ่วงด้ว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและถังอับเฉา · ดูเพิ่มเติม »

ทรชนคนสวย

ทรชนคนสวยภาพยนตร์ไทยแนวสายลับผจญภัย ระบบ 35 มม.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและทรชนคนสวย · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ท่อยิงตอร์ปิโด

ท่อยิงตอร์ปิโด (Torpedo tube) เป็นอุปกรณ์ทรงกระบอกที่ใช้ในการปล่อยตอร์ปิโด ท่อยิงตอร์ปิโดมีอยู่สองประเภทหลักคือ ท่อยิงตอร์ปิโดใต้น้ำที่ติดตั้งในเรือดำน้ำและเรือผิวน้ำบางประเภท และท่อยิงตอร์ปิโดแบบฐานยิง (เรียกอีกอย่างว่า ฐานปล่อยตอร์ปิโด, Torpedo launcher) ที่ติดตั้งบนเรือผิวน้ำ ฐานปล่อยตอร์ปิโดของเรือผิวน้ำจะถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ตามประเภทของตอร์ปิโดที่รองรับเท่านั้น ในขณะที่ท่อยิงตอร์ปิโดของเรือดำน้ำจะมีขนาดมาตฐาน ท่อยิงปิโดยุคใหม่จะมีขนาดมาตรฐาน คือ 324 มม.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและท่อยิงตอร์ปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ดาส โบท

ูท (Das Boot; The Boat; ฉายในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2525 ใช้ชื่อว่า อู 96 นรกใต้สมุทร) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและดาส โบท · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 13

อะเมซิ่ง เรซ 13 (The Amazing Race 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับฤดูกาลที่ 13 นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ของผังรายการโทรทัศน์ในสหรัฐอเมริกาประจำปี ค.ศ. 2008-09 โดยเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551 (ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา ทางช่องซีบีเอส) และตอนสุดท้ายออกอากาศในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ซึ่งในประเทศไทยเริ่มออกอากาศในวันที่ 29 กันยายน ทางช่อง เอเอ็กซ์เอ็น ณ เวลา 21 นาฬิกา และสิ้นสุดการออกอากาศในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและดิอะเมซิ่งเรซ 13 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 2

ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและคริสต์สหัสวรรษที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ตอร์ปิโด

ตอร์ปิโดของเยอรมัน ค.ศ. 1900 ตอร์ปิโด (torpedo) (หรือในอดีตเรียกว่า automotive, automobile, locomotive, หรือ fish torpedo; ภาษาพูดเรียก "fish") คืออาวุธยิงบรรจุระเบิดที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ปล่อยเหนือหรือใต้ผิวน้ำ และขับเคลื่อนใต้น้ำเข้าหาเป้าหมาย ออกแบบให้ระเบิดเมื่อสัมผัสหรือเข้าใกล้เป้าหมาย เดิมคำว่าตอร์ปิโดใช้เรียกอุปกรณ์ที่หลากหลายแต่ส่วนมากใช้เรียกสิ่งที่ปัจจุบันเรียกว่าทุ่นระเบิด จากประมาณปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและตอร์ปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการโวเร็ค

- ขอบเขตการปฏิบัติการ พื้นที่ของเขตปฏิบัติการโวเร็คเมื่อเทียบกับแผนที่ประเทศโปแลนด์ แผนการโวเร็ค (Worek Plan) หรือ ปฏิบัติการโวเร็ค (Operation Worek, Plan Worek ซึ่งมีความหมายว่า แผนถุงกระสอบ) เป็นปฏิบัติการของกองทัพเรือโปแลนด์ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเรือดำน้ำของโปแลนด์ห้าลำออกปฏิบัติการเพื่อป้องกันมิให้กองทัพเรือเยอรมันทำการยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งของโปแลนด์ และโจมตีเรือรบของข้าศึกที่กำลังทำลายเครื่องปอ้งกันตามแนวชายฝั่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คาบสมุทรเฮล แผนการดังกล่าวไม่เกิดผลอะไรเลย เนื่องจากฝ่ายเยอรมนีไม่มีแผนการที่จะยกพลขึ้นบก แผนการดังกล่าวยังกำหนดให้เรือดำน้ำเหล่านั้นปฏิบัติการในพื้นที่ที่ถูกกักในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งโปแลนด์ ทำให้เรือดำน้ำเหล่านั้นตกเป็นเหยื่อของหน่วยต่อต้านเรือดำน้ำที่แข็งแกร่งโดยง่าย เรือดำน้ำของโปแลนด์ไม่สามารถจมเรือของข้าศึกได้แม้แต่ลำเดียวแม้ว่าจะพยายามกันอย่างสุดฤทธิ์แล้วก็ตาม ความเสียหายเดียวที่เกิดขึ้น คือ ทุ่นระเบิดของเรือดำน้ำ Żbik ได้จมเรือกวาดทุ่นระเบิดลำหนึ่งของฝ่ายเยอรมัน เรือดำน้ำทั้งหมดของโปแลนด์ไม่ได้รับการเสียหายเลย แต่ก็ต้องประสบกับการสึกหรอของตัวเรือดำน้ำและปัญหาทางด้านเทคนิค ทำให้ผู้บังคับการกองเรือดำน้ำต้องสั่งยกเลิกปฏิบัติการ เมื่อตอนกลางเดือนกันยายน 1939.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและปฏิบัติการโวเร็ค · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเท็งโง

ปฏิบัติการเท็งโง เป็นปฏิบัติการทางทะเลหลักครั้งสุดท้ายของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามแปซิฟิกของสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการเท็งโงยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า Operation Heaven One (ปฏิบัติการสรวงสวรรค์) และ Ten-ichi-gō (เท็งอิชิโง) ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและปฏิบัติการเท็งโง · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและแอลัน ทัวริง · ดูเพิ่มเติม »

ใต้ทะเลสองหมื่นโยชน์

หน้าปก Vingt mille lieues sous les mers ใต้ทะเลสองหมื่นลีก ฉบับภาษาฝรั่งเศส ใต้ทะเลสองหมื่นโยชน์ (Vingt mille lieues sous les mers; Twenty Thousand Leagues Under the Sea) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ที่เขียนโดยฌูล แวร์น ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1870 นวนิยายกล่าวถึง กัปตันนีโม กับเรือดำน้ำของเขา ชื่อ นอติลุส ผ่านมุมมองของศาสตราจารย์ปิแอร์ แอรอนแนกซ์ นักชีววิทยาผู้โดยสารไปกับเรือ เรือดำน้ำลำนี้ถูกสร้างขึ้นมาอย่างลับๆ โดยหน่วยงานของรัฐบาล และเดินทางไปทั่วโลก ตอนที่มีชื่อเสียงที่สุดของนิยาย คือตอนที่เรือดำน้ำถูกโจมตีโดย ปลาหมึกยักษ์ ลูกเรือต้องต่อสู้กับปลาหมึกยักษ์และเสียชีวิตไปหลายคน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและใต้ทะเลสองหมื่นโยชน์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ฟุลตัน

รเบิร์ต ฟุลตัน โรเบิร์ต ฟุลตัน (Robert Fulton - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2308 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2358) วิศวกร นักวาดภาพจิ๋วและภาพทิวทัศน์ และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองแลงคาสเตอร์ รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้พัฒนาเรือกลไฟเชิงพาณิชย์และเรือรบกลไฟลำแรกของโลก.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและโรเบิร์ต ฟุลตัน · ดูเพิ่มเติม »

โซนาร์

รื่องโซนาร์ (Sonar: Sound navigation and ranging) เป็นเครื่องมือสำหรับตรวจหาวัตถุใต้น้ำ มีความสำคัญเช่นเดียวกับเรือผิวน้ำ ส่วนมากจะถูกใช้ในการหาตำแหน่งของระเบิด เรืออับปาง ฝูงปลา และทดสอบความลึกของท้องทะเล มีหลักการทำงานคล้ายกับเครื่องเรดาร์ แต่โซนาร์จะใช้คลื่นเสียง และต้องใช้ในน้ำ แต่เรดาร์จะใช้ได้ในอากาศเท่านั้น หลักการทำงานของโซนาร.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและโซนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมลส์ "เทลส์" พราวเวอร์

มลส์ พราวเวอร์ (Miles Prower) หรือรู้จักกันในชื่อว่า เทลส์ (Tails) เป็นตัวละครจากวิดีโอเกมในเกมชุดโซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อกและยังปรากฏตัวมาในหนังสือการ์ตูนและแอนิเมชันอีกด้วย ชื่อ "ไมลส์ พราวเวอร์" มาจากคำว่า "ไมลส์ เพอ อาวร์" (Miles per hour แปลว่า ไมล์ต่อชั่วโมง) เขาเป็นจิ้งจอกสองหาง (คล้ายคลึงกับจิ้งจอกเก้าหางตามตำนานเทพเจ้าของญี่ปุ่น) เขาสามารถบินโดยหมุนหางทั้งสองข้างเหมือนกับใบพัดเฮลิคอปเตอร์ วันเกิดเขาคือวันที่ 29 ตุลาคม ในการปรากฏตัวครั้งแรกเขามาในสีส้ม ถูกเปลี่ยนเป็นสีส้มเหลืองในโซนิคแอดเวนเจอร์และสีเหลืองในโซนิคฮีโร่ส์ เทลส์กลายเป็นตัวละครที่ได้รับความนิยมอย่างมาก รองจากโซนิคและชาโดว.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและไมลส์ "เทลส์" พราวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบร์เกต์ แอตแลนติก

right เบร์เกต์ แอตแลนติก (Breguet Atlantique) เป็นเครื่องบินลาตตระเวนชายฝั่งทะเลและปราบเรือดำน้ำใช้งานอยู่ในกองทัพเรือขององค์การนาโต เครื่องต้นแบบเริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1961 และเริ่มประจำอยู่ในกองทัพเรือฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1965 ประจำการอยู่ 4 ประเทศ เยอรมัน ฮอลแลนด์ อิตาลี ปากีสถาน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเบร์เกต์ แอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

เรือ

รือ เป็นยานพาหนะที่ใช้เดินทางทางน้ำ เรือโดยทั่วไปโครงสร้างประกอบด้วยตัวเรือเป็นโครงสร้างที่สามารถลอยน้ำได้ (ซึ่งอาจเป็นส่วนเดียวหรือสองส่วนขนาดกันก็ได้ แต่ไม่รวมถึงแพซึ่งปกติโครงสร้างลอยน้ำจะทำจากกระบอกกลวงหลายๆท่อนผูกติดกัน) กับ ส่วนที่เป็นการขับเคลื่อนของเรือ เช่น ไม้พาย (เรือพาย หรือ เรือแจว) เครื่องยนต์หางยาว (เรือหางยาว) ใบเรือ เรือใบ เป็นต้น อาร์คิมีดีส ค้นพบหลักที่ทำให้สิ่งต่างๆลอยได้ เริ่มต้นจากเขาโดดลงอ่างอาบน้ำ และสังเกตว่า น้ำจะกระฉอนออกไป ขณะที่เรือลอยอยู่ในน้ำ เรือก็"แทนที่"น้ำในรูปแบบเดียวกัน และยังค้นพบอีกว่า น้ำส่วนที่เรือเข้าไปแทนที่จะต้านกลับด้วยแรงที่เท่ากับน้ำหนักของเรือ ความหนาแน่นของเรือเป็นสิ่งสำคัญ ความหนาแน่นคือ น้ำหนักวัตถุที่วัดได้ต่อหนึ่งปริมาตรของวัตถุนั้น หากเรือหรือวัตถุใดๆก็ตามมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ สิ่งนั้นจะลอยได้ แต่หากวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าก็จะจม.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือ · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์

ูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6) เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ลำสุดท้าย เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ (Yorktown class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อตามเรือธง คือ ยูเอสเอส ยอร์กทาวน์ (CV-5) ที่เข้าประจำการตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 1936 ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองไม่นาน เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์พัฒนามาจาก ยูเอสเอส เรนเจอร์ (CV-4) และเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเล็กซิงตัน ซึ่งดัดแปลงมาจากเรือลาดตระเวนประจัญบาน เรือบรรทุกเครื่องบินในชั้นนี้มีทั้งสิ้น 3 ลำ คือ ยูเอสเอส ยอร์กทาวน์ (CV-5), ยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6) และยูเอสเอส ฮอร์เน็ต (CV-8) ทั้งสามลำมีระวางขับน้ำ 19,800 ตัน และยังมีเรือ ยูเอสเอส วาสป์ (CV-7) ที่ถูกย่อส่วน ลดระวางขับน้ำเหลือเพียง 14,700 ตัน เพื่อให้กองทัพเรือสหรัฐมีกำลังรบรวมเหลือเพียง 135,000 ตัน เป็นไปตามสนธิสัญญาวอชิงตัน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาต

ูเอสเอส วินสตัน เอส. เชอร์ชิล (USS Winston S. Churchill) ของกองทัพเรือสหัฐอเมริกา เรือพิฆาต (destroyer) เป็นคำศัพท์เฉพาะทางของกองทัพเรือซึ่งหมายถึงเรือรบที่รวดเร็วและคล่องแคล่ว มีระยะทำการไกล มีหน้าที่คุ้มกันเรือขนาดใหญ่ในกองเรือรบ ขบวนเรือ หรือ หมู่เรือบรรทุกอากาศยาน โดยปกป้องจากเรือรบที่มีขนาดเล็กกว่า มีระยะยิงที่สั้นแต่ทรงพลัง (แต่เดิมคือเรือตอร์ปิโด, ต่อมาภายหลังเป็นเรือดำน้ำและอากาศยาน).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือพิฆาต · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาตฟุยุซุกิ

ฟุยุซุกิ เป็นเรือพิฆาตชั้นอะกิซุกิ (Akizuki) ของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ชื่อมีความหมายว่า "จันทร์ฤดูหนาว" ในวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือพิฆาตฟุยุซุกิ · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวน

รือ ยูเอสเอส พอร์ต รอยัล (CG 73) เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา แห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เรือลาดตระเวน (อังกฤษ: Cruiser) เป็นประเภทของเรือรบประเภทหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน เรือลาดตระเวนมีวัตุถุประสงค์หลักในการปฏิบัติการโจมตีและป้องกันภารกิจทางทะเลได้อย่างอิสระ มีความคล่องตัวสูง สามารถต่อตีเป้าหมายได้หลากหลายประเภท เช่น เรือดำน้ำ อากาศยาน และเรือรบผิวน้ำประเภทอื่นๆ เรือลาดตระเวนเริ่มมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งสงครามเย็นสงบลง ในอดีตนั้นเรือลาดตระเวนมิได้จัดเป็นหนึ่งในประเภทของเรือรบ หากแต่เป็นเรือฟริเกตที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการลาดตระเวนอย่างอิสระออกจากกองเรือขนาดใหญ่ จึงจำต้องมีส่วนในการเข้าโจมตีเรือสินค้าของศัตรู จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า "เรือลาดตระเวน" กลายเป็นรูปแบบของเรือรบประเภทหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อภารกิจลาดตระเวนโดยเฉพาะ และจากปลายทศวรรษ 1890 ถึงทศวรรษที่ 1950 เรือลาดตระเวนจะหมายถึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภายหลังได้มีการปลดประจำการเรือประจัญบานจนหมดสิ้นแล้วนั้น ทำให้เรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปฏิบัติการรบผิวน้ำ อย่างไรก็ตามก็ได้มีการพัฒนาให้เรือลาดตระเวนมีความสามารถในการป้องกันกองเรือจากภัยคุกคามทางอากาศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเภทของเรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือรบผิวน้ำที่มีขนาดระวางขับน้ำมากที่สุดในกองทัพเรือ (ไม่นับเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือช่วยรบอื่นๆ) อย่างไรก็ตามยังมีเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีชั้นอาเลห์เบิร์ก ของสหรัฐอเมริกา และชั้นคองโง ของญี่ปุ่น ที่มีขนาดใหญ่ระดับเดียวกับเรือลาดตระเวน แต่ก็ไม่อาจใช้คำว่าเรือลาดตระเวนได้ เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือลาดตระเวน · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพลายชุมพล

รือหลวงพลายชุมพล (HTMS Phlai-chumphon) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงสินสมุทร โดยเรือหลวงพลายชุมพล ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงสินสมุทร แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทร เรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ 3 ลำ มีลักษณะภายนอกเหมือนกันทุกประการ ต่างจากเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงพลายชุมพล เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือหลวงพลายชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงมัจฉาณุ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือหลวงมัจฉาณุ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงวิรุณ

right เรือหลวงวิรุณ (HTMS Wirun) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงสินสมุทร และเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงวิรุณ เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือหลวงวิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงสินสมุทร

รือหลวงสินสมุทร (HTMS Sinsamut) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงพลายชุมพล โดยเรือหลวงสินสมุทร ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงพลายชุมพล แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทรมีลักษณะภายนอกเหมือนกับเรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ ทุกประการ ชื่อเรือหลวงสินสมุทร เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือหลวงสินสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เรืออู

เรืออู 995 เรืออู (AU-boat; AU-Boot, อู๋โบท, คำเต็ม: Unterseeboot, อุนเทอร์เซโบท หมายถึง "เรือใต้ทะเล") คำนี้ในภาษาเยอรมันหมายถึงเรือดำน้ำใด ๆ แต่ในภาษาอังกฤษ (ร่วมกับอีกหลายภาษา) หมายความเฉพาะถึงเรือดำน้ำเยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง เรืออู๋นั้นมีเป็นอาวุธกองเรือที่มีประสิทธิภาพต่อเรือรบข้าศึก ทว่าถูกใช้มีประสิทธิภาพสูงสุดในบทบาทการสงครามเศรษฐกิจ (การตีโฉบฉวยเรือพาณิชย์) การปิดล้อมทางทะเลต่อการขนส่งสินค้าทางเรือข้าศึก เป้าหมายหลักของการทัพเรืออูในสงครามโลกทั้งสองครั้งคือกองเรือพาณิชย์ที่นำเสบียงจากประเทศแคนาดา จักรวรรดิอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไปส่งยังหมู่เกาะสหราชอาณาจักร และรวมถึงสหภาพโซเวียตและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในสงครามโลกครั้งที่สอง เรือดำน้ำจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (และก่อนหน้านั้น) ก็เรียกว่าเรืออู๋ว่า เอิท ชอบ เดีย หมวดหมู่:เรือดำน้ำ หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรืออู · ดูเพิ่มเติม »

เรือผิวน้ำ

เรือผิวน้ำ เอสเอส จอห์น ดับเบิลยู บราวน์ เรือผิวน้ำ (surface ship) เป็นเรือของกองทัพเรือประเภทหนึ่งที่จำกัดขอบเขตอยู่บนผิวน้ำทะเลเท่านั้น คำ ๆ นี้เดิมทีหมายถึง เรือยุคใหม่ทุกชนิดที่ไม่ใช่เรือดำน้ำ แม้ว่าเรือนั้นจะมีขนาดตั้งแต่เรือบดไปจนถึงเรือบรรทุกอากาศยานก็ตาม หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การทหาร หมวดหมู่:เรือ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือผิวน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำชั้นทรียงฟ็อง

200px เรือดำน้ำชั้นทรียงฟ็อง (Triomphant class submarine) เป็นเรือดำน้ำหัวรบขีปนาวุธนิวเคลียร์ของประเทศฝรั่งเศส ติดหัวรบขีปนาวุธนิวเคลียร์พร้อมยิงทันที 16 ลูก ความยาว 452 ฟุต ระยะทางขับน้ำ 14,000 ตัน ทำความเร็วได้เร็ว 25 นอต บรรจุลูกเรือ 110 คน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำชั้นทรียงฟ็อง · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำชั้นโอะยะชิโอะ

รือดำน้ำชั้นโอะยะชิโอะ หรือชั้นของเรือดำน้ำดีเซล-ไฟฟ้า แห่งกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น เข้าประจำการในช่วงทศวรรษที่ 1990 โดยมีขนาดใหญ่กว่าเรือดำน้ำชั้นฮะรุชิโอะ ปัจจุบันเข้าประจำการทั้งสิ้น 11 ลำ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำชั้นโอะยะชิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำแบบ 206

thumb เรือดำน้ำแบบ 206 (Type 206 submarine; U-Boot-Klasse 206) เป็นเรือดำน้ำเครื่องยนต์ดีเซลของเยอรมนี ได้รับการออกแบบและสร้างโดยบริษัท Howaldtswerke-Deutsche Werft (HDW) เป็นเรือดำน้ำขนาดเล็กที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อประจำการในกองทัพเยอรมนีตะวันตกเพื่อต่อต้านประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอในช่วงสงครามเย็น เหมาะสำหรับทะเลน้ำตื้น โดยเฉพาะในทะเลบอลติก ตัวลำเรือเป็นโลหะผสม non-magnetic ทำให้ตรวจจับได้ยาก และปลอดภัยจากทุ่นระเบิดแบบแม่เหล็ก เรือดำน้ำแบบ 206 มีความยาว 48.6 เมตร ระวางขับน้ำ 498 ตัน มีท่อปล่อยตอร์ปิโดขนาด 533 มม.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำแบบ 206 · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำแบบ 209

รือดำน้ำแบบ 209 (Type 209 submarine; U-Boot-Klasse 209) เป็นเรือดำน้ำเครื่องยนต์ดีเซลที่ได้รับการออกแบบโดยบริษัท Howaldtswerke-Deutsche Werft (HDW) ของเยอรมนี ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 เพื่อใช้สำหรับส่งออก เป็นเรือดำน้ำขนาดเล็กที่ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพเยอรมนี แต่ถูกส่งออกไปยัง 13 ประเทศทั่วโลก เป็นจำนวนมากกว่า 60 ลำ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำแบบ 209 · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำในอาเซียน

นื่องด้วยสภาพภูมิประเทศของบรรดาสมาชิกอาเซียน มีภูมิศาสตร์ติดกับทะเลและเป็นหมู่เกาะ อีกทั้งเมื่อนับความยาวของชายฝั่งและทะเลแล้ว ยังมีความยาวมากที่สุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งทรัพยากรธรรมทั้งน้ำมัน แหล่งอาหาร รวมถึงมีแหลมสุมาตราและช่องแคบมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ของ การขนส่งสินค้า และการเดินทางโดยเรือ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำในอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำโซเวียต เอส-194

รือดำน้ำโซเวียต เอส-194 เป็นเรือดำน้ำของสหภาพโซเวียต ในชั้น โปรเจกต์ 613 หรือที่นาโตกำหนดรหัสเรียกขานว่า เรือดำน้ำชั้นวิสกี้ ซึ่งต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือของโซเวียต ระหว่าง พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2501 เป็นจำนวน 236 ลำ ประจำการในกองทัพเรือโซเวียตระหว่างสงครามเย็น พัฒนามาจากเรืออู Type-XXI ของเยอรมนี ที่โซเวียตยึดได้ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง หลังสิ้นสุดสงครามเย็น กองทัพเรือโซเวียตปลดประจำการเรือในชั้นนี้ และแยกชิ้นส่วนขายเป็นเศษเหล็ก สำหรับเรือ S-194 ลำนี้ นาย Timo Wallin นักธุรกิจชาวสวีเดนได้ซื้อไว้ เปลี่ยนชื่อเป็น ยู-194 และปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ลอยน้ำ และให้เช่าเป็นสถานที่จัดเลี้ยง โดยถอดเครื่องยนต์และแบตเตอรี่ออก จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เรือดำน้ำ เมือง Helsingborg ประเทศสวีเดน ต่อมา นาย Wallin ได้ประกาศขายเรือลำนี้ในราคา 250,000 ยูโร และตกลงขายให้ เจษฎา เดชสกุลฤทธิ์ เจ้าของพิพิธภัณฑ์เจษฎา เทคนิค มิวเซียม เพื่อนำไปจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์แห่งใหม่ที่กำลังสร้างที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพิธีส่งมอบเรือเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2550 และใช้เรือลากจูงมาประเทศไทย โดยมีกำหนดเปิดให้ประชาชนเข้าชมในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 นำไปปรับปรุง และเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์อย่างเป็นทางการในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เรือ S-194 ผ่านการซ่อมแซมที่อู่เรือ Gryfia เมือง Szczecin ประเทศโปแลนด์ และจะลากจูงกลับประเทศไทย แต่เกิดอุบัติเหตุอับปางลงนอกชายฝั่งเมือง Thyborøn ประเทศเดนมาร์ก 50 กิโลเมตร หลังจากเจอพายุ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 นายเจษฎา เดชสกุลฤทธิ์ กำลังศึกษาความเป็นไปได้ ที่จะกู้เรือขึ้นมาใหม่ เพื่อนำมาจัดแสดงต่อไป.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเรือดำน้ำโซเวียต เอส-194 · ดูเพิ่มเติม »

เร็ว..แรงทะลุนรก 8

ร็ว..แรงทะลุนรก 8 (The Fate of the Furious) หรือ Fast & Furious 8 หรือ Fast 8 (บางครั้งใช้ F8) เป็นภาพยนตร์โลดโผน กำกับโดยเอฟ. แกรี เกรย์ เขียนบทโดยคริส มอร์แกน เป็นภาพยนตร์ลำดับที่ 8 ในชุด เดอะฟาสต์แอนด์เดอะฟิวเรียส นำแสดงโดยวิน ดีเซล, มิเชลล์ ราดรีเกซ, ดเวย์น จอห์นสัน, ไทรีส กิบสัน, ลูดาคริส, ชาร์ลิส โตรน, เจสัน สเตธัม, เคิร์ต รัสเซลล์และสกอตต์ อีสต์วุด ภาพยนตร์เข้าฉายในสหรัฐ วันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเร็ว..แรงทะลุนรก 8 · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์แลนด์ลิงซ์

ลิงซ์ของฝรั่งเศส เวสต์แลนด์ลิงซ์ (Westland Lynx) หรือ ซูเปอร์ลิงซ์ (Super Lynx) หรือนิยมย่อว่า ลิงซ์ (Lynx) เป็นเฮลิคอปเตอร์ทางทหาร แรกบินเมื่อ 21 มีนาคม พ.ศ. 2514 Super Lynx ได้ประจำการในกองทัพหลายประเทศ รวมถึงกองทัพเรือไทยอีกด้วย โดยใช้ชื่อว.ตผ.1 หรือ เฮลิคอปเตอร์ตรวจการเรือผิวน้ำแบบที่1 ประจำการในฝูงบิน 203 กองบินทหารเรือ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเวสต์แลนด์ลิงซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอชเอ็มเอ็ส แวนการ์ด (เอส 28)

อ็มเอ็ส แวนการ์ด (เอส 28)(HMS Vanguard (S28)) เป็น เรือดำน้ำติดหัวรบขีปนาวุธนิวเคลียร์ของอังกฤษ ติดหัวรบขีปนาวุธนิวเคลียร์แบบพร้อมยิงทันที 16 ลูก มีความยาว 492 ฟุต ระวางขับน้ำ 16,000 ตัน และความเร็ว 25 นอต ถูกปล่อยสู่ท้องทะเลในปี พ.ศ. 2535 มีลูกเรือ 145 คน.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอชเอ็มเอ็ส แวนการ์ด (เอส 28) · ดูเพิ่มเติม »

เอส-2 แทรคเคอร์

right เอส-2 แทรคเคอร์ (S-2 Tracker) เอส-2 แทรคเคอร์ เป็นเครื่องบินปราบเรือดำน้ำประจำเรือบรรทุกอากาศยาน เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1952 และใช้งานกันกว้างขวางในหลายประเทศ ได้แก่ ฮอลแลนด์ อิตาลี อาร์เจนตินา บราซิล ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ไทย และ สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอส-2 แทรคเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอส-3 ไวกิ้ง

right เอส-3 ไวกิ้ง (S-3 Viking) เอส-3 ไวกิ้งเป็นเครื่องบินปราบเรือดำน้ำประจำเรือบรรทุกอากาศยาน เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1971 กองทัพเรือสหรัฐฯสั่งสร้างทั้งสิ้น 187 เครื่อง.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอส-3 ไวกิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เอสตาดิโอเดลาเซรามิกา

อสตาดิโอเดลาเซรามิกา (Estadio de la Cerámica) หรือชื่อเดิม เอลมาดริกัล (El Madrigal) เป็นสนามฟุตบอลในเมืองบิยาร์เรอัล ประเทศสเปน ใช้งานมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอสตาดิโอเดลาเซรามิกา · ดูเพิ่มเติม »

เอจีเอ็ม-84 ฮาร์พูน

อจีเอ็ม-84 ฮาร์พูน เป็นระบบขีปนาวุธนำวิถีพื้นสู่พื้น และอากาศสู่พื้น โจมตีเรือรบผิวน้ำในระยะขอบฟ้าทุกสภาพอากาศ พัฒนาและผลิตโดยบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโบอิง) มีจำนวนผลิตกว่า 7,000 ลูก นับตั้งแต่เปิดตัวครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอจีเอ็ม-84 ฮาร์พูน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กโซเซต์

''Exocet'' เอ็กโซเซต์ (Exocet) เอ็กโซเซต์เป็นขีปนาวุธโจมตีเรือที่ยิงจากรถปล่อย เรือดำน้ำ และ เครื่องบิน เอ็กโซเซต์ถูกสร้างและพัฒนาโดยบริษัท เอ็มบีดีเอ แผนกย่อยหนึ่งของแอโรสปาติอาล รุ่น เอ็มเอ็ม 38 ถูกยิงจากฐานปล่อยบนเรือ ในปี ค.ศ. 1967 เอ็กโซเซต์ เอ็มเอ็ม 40 เป็นรุ่นล่าสุดที่ได้มีการพัฒนา รัศมีการยิง 180 กิโลเมตรมีระบบนำทางจีพีเอส-ไอเอ็นเอส สามารถโจมตีเป้าหมายที่อยู่ตามแนวชายฝั่งได้ หมวดหมู่:ขีปนาวุธ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเอ็กโซเซต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์เกน พรอชนาว

อร์เกน พรอชนาว (Jürgen Prochnow; IPA: 'jʏɐgən 'pʀɔxnoː) นักแสดงชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เกี่ยวกับเรือดำน้ำ Das Boot ในปี 1981 ของวูล์ฟกัง ปีเตอร์เซน และภาพยนตร์ไซไฟ Dune ในปี 1984 สร้างจากนวนิยายของแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต และบทผู้ร้ายใน Beverly Hills Cop II คู่กับเอ็ดดี้ เมอร์ฟี ในปี 1987 เจอร์เกน พรอชนาว เกิดที่เบอร์ลิน เติบโตที่เมืองดึสเซลดอร์ฟ รัฐนอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลิน ประเทศเยอรมนี เข้าโรงเรียนการแสดงที่เมืองเอสเซิน และมีผลงานการแสดงตั้งแต่ปี 1974 หลังจากประสบความสำเร็จจาก Das Boot เขาย้ายไปใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา พรอชนาวเคยเป็นตัวเลือกหนึ่งในนักแสดงที่จะได้รับบท "เทอร์มิเนเตอร์" ใน เดอะ เทอร์มิเนเตอร์ (1984) ยี่สิบปีหลังจากนั้น เขาได้รับบทเป็นอาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ ในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง See Arnold Run (2005) ภาพยนตร์ชีวประวัติของชวาร์เซเน็กเกอร์ จนกระทั่งเข้ามาเล่นการเมือง เป็นผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย เขารับบทนี้ร่วมกับโรแลนด์ คิคคิงเจอร์ ที่ภายหลังได้เป็นนักแสดงแทนอาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ ใน เทอร์มิเนเตอร์ ซาลเวชั่น (2009).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเจอร์เกน พรอชนาว · ดูเพิ่มเติม »

เจเอส มัทสึยูกิ (ดีดี-130)

right เรือเจเอส มัทสึยูกิ (JS.MATSUYUKI DD-130) เป็น เรือปราบเรือดำน้ำของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น (Japan Maritime Self Defence Force:JMSDDF) จัดเป็นประเภทเรือพิฆาตติดขีปนาวุธนำวิถีชั้น ฮัทสึยูกิ (Hatsuyuki-class destroyer) เป็นเรือพิฆาตยุคที่ 3 เข้าประจำการเมื่อปี..2529.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเจเอส มัทสึยูกิ (ดีดี-130) · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

มีความสำคัญอย่างมากในทุกสมรภูมิทั้งในยุโรป แอฟริกาหรือแม้กระทั่งแปซิฟิกก็ตาม เพราะถ้าจะทำให้กองทัพบกเข้มแข็งก็ต้องมีกองบินที่แข็งแกร่งก่อน เครื่องบินรบที่สำคัญก็มี สปิตไฟท์ของ อังกฤษ แมสเซอร์สมิตซ์ 109 ของเยอรมัน เครื่องบินซีโร่ของญี่ปุ่น พี-51 มัสแตง ของสหรัฐ โดยในแปซิฟิคเครื่องบินรบจะมีบทบาทมากว่าเรือรบอย่างเห็นได้ชัด ในสมรภูมิยุโรปเครื่องบินก็เป็นส่วนสำคัญในปฏิบัติการสายฟ้าแลบของเยอรมันในช่วงต้นของสงคราม อาจพูดได้ว่าเครื่องบินรบนั้นสำคัญที่สุด เป็นตัวแปรที่สำคัญในสงครามอย่างยิ่ง นอกจากนี้ นาซีเยอรมันได้คิดค้นเครื่องบินรบไอพ่นเป็นครั้งแรก ทำให้กลายเป็นที่หวาดกลัวของกองทัพอากาศสัมพันธมิตรแต่ทว่าหลังสงคราม สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียตได้นำมันมาพัฒนาและสร้างได้หลายชนิด หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

เซคันด์ไลฟ์

ซคันด์ไลฟ์ (Second Life: SL) เป็นโลกเสมือนบนอินเทอร์เน็ต เริ่มให้บริการเมื่อราว พ.ศ. 2546 พัฒนาโดยบริษัทลินเดนรีเสิร์ช (นิยมเรียกกันว่า ลินเดนแล็บ) และได้รับความสนใจในทางสากลผ่านสื่อข่าวเป็นกระแสหลักในช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 ถึงต้นปี พ.ศ. 2550 สามารถใช้บริการเซคันด์ไลฟ์ผ่านทางโปรแกรมลูกข่ายที่ชื่อว่า Second Life Viewer ซึ่งดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์หลัก ผู้ใช้งานแต่ละคนจะเรียกว่า ผู้อาศัย (Resident) ซึ่งสามารถสื่อสารหรือแสดงปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้คนอื่นผ่านการแสดงออกของอวตาร (avatar) โปรแกรมดังกล่าวเป็นระดับการพัฒนาขั้นสูงของบริการเครือข่ายเชิงสังคมผสานเข้ากับมุมมองทั่วไปของเมทาเวิร์ส (metaverse) ผู้อาศัยแต่ละคนสามารถสำรวจ พบปะกับผู้อาศัยอื่น คบหาสมาคม มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่วนบุคคลหรือเป็นกลุ่ม สร้างและซื้อขายไอเทม (ทรัพย์สินเสมือน) หรือให้บริการใดๆ บนเซคันด์ไลฟ์ เซคันด์ไลฟ์เป็นหนึ่งในโลกเสมือนที่ได้รับแรงบันดาลใจจากความเคลื่อนไหวทางวรรณกรรมที่เรียกว่า ไซเบอร์พังก์ (cyberpunk) และนวนิยายของนีล สตีเฟนสัน (Neal Stephenson) เรื่อง Snow Crash จุดมุ่งหมายของลินเดนแล็บคือสร้างโลกใหม่ที่คล้ายเมทาเวิร์สซึ่งสตีเฟนสันอธิบายไว้ว่า เป็นโลกที่ผู้ใช้งานสร้างขึ้นเอง และผู้คนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ เล่นด้วยกัน ทำธุรกิจ หรือการสื่อสารอย่างอื่น เซคันด์ไลฟ์มีหน่วยเงินเป็นของตัวเองเรียกว่า ลินเดนดอลลาร์ (Linden Dollar: L$) และสามารถแลกเปลี่ยนได้กับหน่วยเงินจริงเป็นดอลลาร์สหรัฐ ในตลาดที่ประกอบด้วย ผู้อาศัย ลินเดนแล็บ และบริษัทในชีวิตจริง แม้เซคันด์ไลฟ์จะถูกเรียกว่าเกมในบางครั้ง แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ถึงแม้อาจจัดได้ว่าเป็นเกมอย่างหนึ่งที่พื้นฐานที่สุด แต่เซคันด์ไลฟ์ก็ไม่มีแต้ม คะแนน ผู้ชนะหรือผู้แพ้ ระดับ กลยุทธ์ในการจบเกม หรือคุณสมบัติอื่นใดที่จะระบุว่าเป็นเกม แต่ถึงกระนั้น ในโลกของเซคันด์ไลฟ์อาจมีเกมให้เล่นด้วยก็ได้ โปรแกรมนี้เป็นเพียงสภาพแวดล้อมเสมือนที่วางโครงสร้างไว้บางส่วน ที่ซึ่งตัวละครจะต้องรับผิดชอบกิจกรรมใดๆ ด้วยตัวเอง เพื่อความบันเทิงส่วนตัว บัญชีผู้ใช้ทั้งหมดของเซคันด์ไลฟ์ได้รับการลงทะเบียนมากกว่า 8.5 ล้านบัญชี ถึงแม้ว่าจะมีหลายบัญชีที่ไม่ได้ใช้งาน ผู้อาศัยบางคนก็อาจมีบัญชีมากกว่าหนึ่ง และไม่มีตัวเลขใดที่ได้รับรายงานอย่างเป็นทางการ ถึงอย่างไรก็ตามสิ่งที่เด่นชัดก็คือ เซคันด์ไลฟ์มีคู่แข่งหลายโปรแกรมที่โดดเด่น เช่น อิมวู (IMVU), แทร์ (There), แอ็กทีฟเวิลด์ส (Active Worlds) และเรดไลต์เซนเทอร์ (Red Light Center).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและเซคันด์ไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

U

U (ตัวใหญ่:U ตัวเล็ก:u) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 21 ซึ่งในภาษาอังกฤษอ่านว่า "ยู" ในขณะที่เยอรมัน อิตาลี สเปน และฝรั่งเศส เรียกว่า "อู" ในขณะเดียวกันในประเทศไทยนิยมเรียกว่า "ยู" เช่นเดียวกับใน ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า "ยู" (ユー).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและU · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เรือดำน้ำและ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เรือดำน้ำและ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »