โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กองทัพเรือไทย

ดัชนี กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร. กร.) หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ (นสร. กร.) และหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.).

151 ความสัมพันธ์: ชัชชัย สุขขาวดีชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์บางระจัน (แก้ความกำกวม)พ.ศ. 2484พรชัย ทองบุราณพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550พระอภัยมณีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พะจุณณ์ ตามประทีปพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพลพิธีย่ำพระสุริย์ศรีพี-3 โอไรออนพงษ์เทพ หนูเทพกบฏแมนฮัตตันกรมอุตุนิยมวิทยากระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กรณีพิพาทอินโดจีนกวี สิงหะกองบัญชาการกองทัพไทยกองทัพบกไทยกองทัพอากาศไทยกองทัพไทยกองทัพเรือกันยายน พ.ศ. 2549การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการปฏิบัติการพิเศษฐานทัพเรือกรุงเทพฐานทัพเรือสัตหีบภานุวัฒน์ กองจันทร์มาริษา อมาตยกุลมาร์ชสามัคคีสี่เหล่ายศทหารและตำรวจไทยยุทธนาวีเกาะช้างยูโรคอปเตอร์ EC145ร.น.รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ราชนาวี (แก้ความกำกวม)รายชื่อธงในกองทัพไทยรายการธงในประเทศไทยรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทยวันกองทัพเรือ (ประเทศไทย)วันอาภากรวันเรือดำน้ำ (ประเทศไทย)วิทยา ทำว่องวิทยุครอบครัวข่าวศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณสมยศ ทัศนพันธ์...สมรักษ์ คำสิงห์สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสะพานภูมิพลสุบรรณ พันโนนสุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์สีชัง (เพลง)สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลกองเรือยุทธการสโมสรฟุตบอลราชนาวีสโมสรฟุตซอลราชนาวีหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)หอประชุมกองทัพเรือหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือหน่วยบัญชาการนาวิกโยธินหน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม (ประเทศไทย)อมร ศิริกายะอารีย์ วิรัฐถาวรอำเภอพระสมุทรเจดีย์อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2553อู่กรุงเทพอ่าวกรุงเทพจอมพล (ประเทศไทย)จอมพลอากาศ (ประเทศไทย)จอมพลเรือ (ประเทศไทย)จิตต์ สังขดุลย์ธงชาติไทยธงฉานธงฉาน (ไทย)ธนบุรีถวิล รายนานนท์ถนนอิสรภาพทหารเรือท่าอากาศยานสงขลาท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)ณรงค์ พิพัฒนาศัยณะ อารีนิจดอกประดู่ (เพลง)ดาวิกา โฮร์เน่ดิอาเซียนเวย์ครองแผ่นดินโดยธรรมคอบร้าโกลด์คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต้นกลต้นหนซอยกัปตันบุชซีลประดู่ประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2484ป้อมวิไชยประสิทธิ์นักศึกษาวิชาทหารแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2โรงเรียนนายเรือโจรสลัดโธมัส เฮย์เวิร์ด เฮส์ไกรสร จันทร์สุวานิชย์เกษราภรณ์ สุตาเกาะน้อย (กรุงเทพมหานคร)เรือมดเรือหลวง นาวีอันดามันเรือหลวงพฤหัสบดีเรือหลวงพลายชุมพลเรือหลวงกระบี่เรือหลวงกูดเรือหลวงมัจฉาณุเรือหลวงวิรุณเรือหลวงศรีอยุธยาเรือหลวงสินสมุทรเรือหลวงอ่างทองเรือหลวงจักรีนฤเบศรเรือหลวงธนบุรีเรือหลวงนเรศวรเรือธงเรือดำน้ำแบบ 206เรือควบคุมทะเลเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางนาคเวลามาตรฐานไทยเอสเอช-60 ซีฮอว์กเด่น ดอกประดู่เด่นชัย เทพนาเต่าทะเลเปรม ติณสูลานนท์เปี่ยมวิไล เล่าเปี่ยมTITV Everest 200717 มกราคม19 ธันวาคม29 มิถุนายน3 พฤศจิกายน30 พฤศจิกายน7 พฤษภาคม ขยายดัชนี (101 มากกว่า) »

ชัชชัย สุขขาวดี

ัชชัย สุขขาวดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หรั่ง ร็อคเคสตร้า อดีตนักร้องนำ วงดนตรีร็อก ร็อคเคสตร้า ปัจจุบันเป็นนักร้องเดี่ยว มีความสามารถพิเศษวิธีการร้องมีระดับของบันไดเสียงที่กว้าง เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เรียกตามประสาชาวร็อคว่า แหบหลบใน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและชัชชัย สุขขาวดี · ดูเพิ่มเติม »

ชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์

นาวาเอก ชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์ หรือ หมวดเนท (30 เมษายน พ.ศ. 2528 — 22 เมษายน พ.ศ. 2556) เป็นหัวหน้าหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิด (EOD) ที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ หลังจากเข้าพิธีสมรสกับคนรักเพียงไม่กี่เดือน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน (แก้ความกำกวม)

งระจัน เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวเมืองวิเศษชัยชาญ ในสมัยการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง นอกจากนี้ ยังสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและบางระจัน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย ทองบุราณ

รือเอก พรชัย ทองบุราณ (ชื่อเล่น: หมี, อู๊ด; เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 ที่อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอดีตนักมวยสากลสมัครเล่นเหรียญทองแดงทีมชาติไทย ในการชกโอลิมปิก 2000 ที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพรชัย ทองบุราณ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)

ลเรือโท พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ) หรือ กัปตัน ริเชอลิเออ (André du Plessis de Richelieu, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารเรือของกองทัพเรือสยาม เป็นรองผู้บัญชาการการรบของไทยในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 และเป็นผู้ออกแบบป้อมพระจุลจอมเกล้.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary) เป็นงานฉลองที่ประกอบด้วยรัฐพิธี ราชพิธี และราษฎรพิธี เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระอภัยมณี

ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพระอภัยมณี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พะจุณณ์ ตามประทีป

ลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป (ชื่อเล่น: ตุ้ม) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตหัวหน้าสำนักงานมูลนิธิรัฐบุรุษและนายทหารคนสนิท พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและประธานองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-ร่วมรุ่นกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา, พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.ท.สัณฐาน ชยนนท์), โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 69, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 (วปอ.46) พล.ร.อ.พะจุณณ์ มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2549 โดยในคืนวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พล.ร.อ.พะจุณณ์ ซึ่งในขณะนั้นมียศ พลเรือโท (พล.ร.ท.) เป็นผู้รับหนังสือร้องทุกข์ของแผ่นดินจาก นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้นำการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่นำคณะผู้ชุมนุมกลุ่มหนึ่งเดินจากที่ชุมนุมลานพระบรมรูปทรงม้า มายังบ้านสี่เสาเทเวศน์ ซึ่งเป็นบ้านพักของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นผู้นำนายสนธิเข้าไปเจรจาในบ้านเป็นเวลา 10 นาที ก่อนที่นายสนธิจะออกมา เนื่องจากในขณะนั้น พล.อ.เปรม มิได้อยู่ในบ้าน หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ด้วยในอัตราข้าราชการทหารกองทัพเรือ จากนั้นในปี พ.ศ. 2552 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง ข้าราชการทหารและตำรวจ ในส่วนของ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ได้เลื่อนยศเป็น พลเรือเอก (พล.ร.อ.) ในอัตราจอมพล และได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ โดยในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทยนั้น พล.ร.อ.พะจุณณ์ ในฐานะนายทหารใกล้ชิด พล.อ.เปรม มักจะเป็นผู้ตอบโต้หรือแถลงแทนตัว พล.อ.เปรม เมื่อถูกพาดพิงถึงเสมอ ๆ หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศและกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ชีวิตส่วนตัว พล.ร.อ.พะจุณณ์สมรสกับ นางพรเพ็ญ ตามประทีป มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ แพรววลัย ตามประทีป อดีตประธานสหภาพรัฐวิสาหกิจ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพะจุณณ์ ตามประทีป · ดูเพิ่มเติม »

พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล

ีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล หรือภาษาปากว่า พิธีสาบานธง เป็นพิธีการทางทหารซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในวันกองทัพไทย และวันสำคัญของแต่ละเหล่าทัพ ผู้ที่เป็นทหารทุกคนจะต้องผ่านการเข้าร่วมพิธีดังกล่าว เพื่อแสดงถึงความเป็นทหารอย่างสมบูรณ์ พิธีนี้เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Ceremony of Taking the Oath of Allegiance to the Colours".

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล · ดูเพิ่มเติม »

พิธีย่ำพระสุริย์ศรี

ีย่ำพระสุริย์ศรี เป็นพิธีการของทหารเรือไทยพิธีหนึ่ง คล้ายกับการสวนสนามเพื่ออำลาชีวิตราชการของผู้บังคับบัญชาระดับสูง เช่น ผู้บัญชาการทหารเรือ, ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ผู้บัญชาการหน่วยนาวิกโยธิน เป็นต้น กระทำในเวลาโพล้เพล้ใกล้ค่ำ มีความสวยงามจากดวงไฟที่ประดับและลำแสงสุดท้ายของพระอาทิตย์ก่อนที่จะลับขอบฟ้า พิธีย่ำพระสุริย์ศรี มีขึ้นครั้งแรกที่บริเวณที่บริเวณสนามหน้ากองบัญชาการหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ค่ายกรมหลวงชุมพร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 ในโอกาสที่หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ฉลองพระเกียรติ เรือโทหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และได้จัดให้มีพิธีเช่นเดียวกันนี้ต่อเนื่องอีกหลายครั้งจนถึงปัจจุบัน ซึ่งพิธีนี้นั้นจะเริ่มกระทำในเวลาที่พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าพอดี (ประมาณ 18.00 น.) ถือเป็นขนบธรรมเนียมของทหารหน่วยนาวิกโยธิน โดยมีการอัญเชิญธงราชนาวีลงจากยอดเสา โดยทั่วไปที่ถือเอาเวลาพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าเป็นหลัก จึงได้ชื่อว่า "พิธีย่ำพระสุริย์ศรี" ซึ่งเรียกตามชื่อ "เพลงพระสุริย์ศรี" ซึ่งเป็นเพลงที่เกิดจากภูมิปัญญาทหารเรือไทยที่พัฒนาจากจังหวะเพลงย่ำค่ำ มาเป็นเพลงบรรเลงรูปจบกระบวนของการแสดงดนตรีสยาม หรือเพลง ฟีนาเล่ และด้วยเหตุผลที่ว่าขนบธรรมเนียมประเพณีทหารเรือ เมื่อเชิญธงราชนาวีลงจากยอดเสา พลแตรเดี่ยวจะเป่าเพลง ย่ำค่ำ อันเป็นตำนานเก่าแก่สืบมาช้านาน จึงน่าอนุโลมใช้คำ ย่ำพระสุริย์ศรี กับพิธีการเช่นนี้ได้ ถึงแม้ว่าจะไม่ตรงกับความหมายในภาษาอังกฤษนัก แต่มีความหมายในภาษาไทยว่า การจบ สิ้นสุด หรือยุติลงอย่างสง่างาม ซึ่งสอดรับกับพิธีการของการอำลาชีวิตราชการอย่างกลมกลืน ดังนั้น พิธีย่ำพระสุริย์ศรี จึงมีความเป็นมาด้วยประการเช่นนี้ โดยพิธีการนี้ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน มิได้ลอกเลียนแบบมาจากหน่วยทหารสวนสนามของนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกาแต่อย่างใดเพียงแต่อาศัยเค้าโครงมาสอดแทรกการแสดงทางทหารประกอบวงโยธวาทิต ซึ่งทั้งสิ้นจะกระทำอยู่ท่ามกลางความสว่างจากดวงไฟที่จัดไว้อย่างเหมาะสม โดยมีลำแสงของพระอาทิตย์ที่ทาบทาท้องฟ้ายามเย็นย่ำเป็นฉากหลังที่สวยงามตามธรรมชาติ และปิดท้ายด้วยการจุดพลุดอกไม้ไฟอันงดงามตระการตา หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน จะจัดพิธีเช่นนี้ขึ้นเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ หรือเทิดเกียรติ หรือเทิดเกียรติบุคคลสำคัญของกองทัพเรือเท่านั้น พิธีดังกล่าว จะใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง ซึ่งเป็นเวลาที่ลำแสงสุดท้ายของพระอาทิตย์จะค่อย ๆ เลือนลับไปกับความมืด และเหมาะสมสำหรับการต่อด้วยงานเลี้ยงรับรองอย่างเป็นพิธีการ ที่สามารถจัดขึ้นในเวลาถัดไปในสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียงกัน จนถึงปัจจุบันนี้ (พ.ศ. 2554) พิธีย่ำพระสุริย์ศรีมีมาแล้วทั้งสิ้น 18 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายมีขึ้นในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554 เนื่องในโอกาสที่ พล.ร.อ.กำธร พุ่มหิรัญ ผู้บัญชาการทหารเรือจะเกษียณอายุราชการ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพิธีย่ำพระสุริย์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

พี-3 โอไรออน

right พี-3 โอไรออน (P-3 Orion) เครื่องบิน พี-3 เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1985 มันถูกประจำการในกองทัพเรือสหรัฐฯเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1989 แทนที่เครื่องบิน ล็อกฮีด พี-2 เนปจูน และยังประจำการในกองบินทหารเรือของกองทัพเรือไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพี-3 โอไรออน · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์เทพ หนูเทพ

ลเรือเอกพงษ์เทพ หนูเทพ (ชื่อเล่น: นิค, บิ๊กนิค; เกิด 29 สิงหาคม 2500) องคมนตรีไทยในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประธานคณะกรรมการบริหารมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตรอง ปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตผู้บัญชาการ โรงเรียนนายเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและพงษ์เทพ หนูเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแมนฮัตตัน

กบฏแมนฮัตตัน หรือ กรณีแมนฮัตตัน ชื่อเรียกเหตุการณ์การกบฏในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เมื่อทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" นำโดย น.ต.มนัส จารุภา ร.น.ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ นายทหารนอกราชการ อดีตผู้บังคับการกรมนาวิกโยธิน นาวาเอก อานนท์ ปุณฑริกาภา ผู้บังคับการกองสำรองเรือรบ นาวาตรี ประกาย พุทธารี สังกัดกรมนาวิกโยธิน และ นาวาตรี สุภัทร ตันตยาภรณ์ สังกัดกรมนาวิกโยธิน ทำการกบฏจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอนสัญชาติอเมริกัน ชื่อ "แมนฮัตตัน" ที่ท่าราชวรดิฐ โดยนำไปกักขังไว้ในเรือรบหลวงชื่อ "ศรีอยุธยา" ที่จอดรออยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งก่อนหน้านี้ คณะผู้ก่อการคิดจะก่อการในลักษณะเช่นนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่ยังไม่สบจังหวะที่เหมาะสม จึงได้แต่เลื่อนออกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวลาลงมือจริง หลายฝ่ายที่ถูกชักชวนให้ลงมือก็คาดว่าจะต้องมีการเลื่อนอีกแน่นอน จึงมิได้ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เหตุที่เลือกเอาวันนี้เป็นวันลงมือ เพราะก่อนหน้านั้นเพียงหนึ่งวัน มีการปล่อยกำลังทหารกองหนุนกลับสู่ภูมิภาค ทำให้จำนวนทหารในพระนครเหลือน้อย เรียกกลับมาประจำการไม่ทัน อีกทั้งพื้นที่บริเวณนี้ก็เป็นเขตของทหารเรือด้วย จึงลงมือได้ง่ายกว่า ในเหตุการณ์กบฏ หัวหน้าคณะก่อการ คือ น.อ.อานนท์ ปุณฑริกกาภา ร.น. สั่งการให้ทหารเรือกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการมุ่งหน้าและตรึงกำลังไว้ที่พระนคร และประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระจายเสียงในฐานะนายกรัฐมนตรีจากในเรือ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลไม่ยอม ได้กระจายเสียงตอบโต้ไปโดยใช้วิทยุของกรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) โดยได้ให้นายวรการบัญชา ประธานสภาผู้แทนราษฎร รักษาการนายกรัฐมนตรีแทน และตั้งกองบัญชาการขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล (ในขณะนั้นคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม) จึงเกิดการต่อสู้ยิงกันอย่างหนักระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาลและทหารฝ่ายก่อการ ซึ่งตามแผนการของผู้ก่อการแล้ว ฝ่ายก่อการต้องยึดโรงไฟฟ้าและสถานีโทรศัพท์กลาง ที่หน้าวัดราชบุรณะ (วัดเลียบ) ให้ได้ โดยเรือรบหลวงศรีอยุธยาจะต้องแล่นผ่านสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งเปิดรอ เพื่อไปตั้งกองบัญชาการที่ฝั่งพระนคร และมีกำลังทหารจากต่างจังหวัดยกเข้ามาสมทบทั้งทหารเรือและทหารบก แต่เมื่อลงมือจริง ๆ แล้วกลับไม่เป็นไปตามนั้น สะพานพระพุทธยอดฟ้าก็ไม่เปิด และในที่สุดเครื่องยนต์เรือก็เสียจากการถูกโจมตีหนัก โดยในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกบฏแมนฮัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยา

กรมอุตุนิยมวิทยาแห่งราชอาณาจักรไทย (Meteorological Department of Thailand) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทำหน้าที่ในการพยากรณ์อากาศ รายงานปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว ความสูงของคลื่น รายงานพยากรณ์อากาศประจำวันและพยากรณ์อากาศในช่วงเวลาที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งออกประกาศเตือนต่าง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกรมอุตุนิยมวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทอินโดจีน

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป. พิบูลสงคราม กล่าวปราศรัยแก่นิสิตนักศึกษาและประชาชนที่มาชุมนุมเรียกร้องเอาดินแดนอินโดจีน คืนจากฝรั่งเศส ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ที่หน้ากระทรวงกลาโหม หลวงวิจิตรวาทการประกาศสงครามผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกรณีพิพาทอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

กวี สิงหะ

ลเรือเอก กวี สิงหะ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย พล.ร.อ.กวี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก และเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกวี สิงหะ · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการกองทัพไทย

กองบัญชาการกองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces Headquarters) เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ซึ่งแปรสภาพมาจากกองบัญชาการทหารสูงสุด (Supreme Command Headquarters) มีหน้าที่ควบคุม อำนวยการ สั่งการและกำกับดูแลการดำเนินงานของส่วนราชการในกองทัพไทยในการเตรียมกำลัง การป้องกันราชอาณาจักร และการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดมีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ มีที่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 127 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 ผู้บังคับบัญชา ปัจจุบันคือ พลเอก ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลเอก หัสพงศ์ ยุวนวรรธนะ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลเรือเอก สายันต์ ประสงค์สำเร็จ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลอากาศเอก สุทธิพงษ์ อินทรียงค์ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, พลเอก ยศนันท์ หร่ายเจริญ รองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอากาศไทย

กองทัพอากาศไทย (อักษรย่อ: ทอ., '''Royal Thai Air Force''': '''RTAF'''.) เกิดขึ้นภายหลังจากการจัดตั้งกองทัพอากาศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นกองทัพอากาศหน่วยแรกของโลกเพียง 4 ปีเท่านั้น ถือได้ว่าเป็นกองทัพอากาศที่ก่อตั้งเป็นลำดับแรกๆ ของเอเชีย และมีวีรกรรมครั้งสำคัญเกิดขึ้นมากมายในช่วงกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส ปัจจุบันมีกองบัญชาการอยู่ที่เขตสายไหม เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และภายในปี พ.ศ. 2554 หลังจากได้รับมอบฝูงบิน Gripen กับเครื่องบินเตือนภัยทางอากาศจากบริษัท Saab และการปรับปรุงครึ่งชีวิตให้กับฝูงบิน F-16-A/B ให้มีมาตรฐานเทียบเท่ากับรุ่น C/D กองทัพอากาศไทยจะมีอิทธิพลทางอากาศมากเป็นอันดับที่สองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รองจากสิงคโปร์ในแง่ของขีดความสามารถและความทันสมัยของอากาศยาน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกองทัพอากาศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพไทย

กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือ

กองทัพเรือ หมายถึง กองกำลังทางทหารที่ปฏิบัติการทางน้ำ และมีหน้าที่ป้องกันประเทศทั้งในลำน้ำและในท้องทะเลหลวง กิจการของกองทัพเรือนั้นได้รวมเอาทั้งกิจการนาวิกโยธินซึ่งเป็นทหารเรือฝ่ายบก และกิจการการป้องกันชายฝั่งด้วย ในประเทศที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น สหรัฐอเมริกา จะแยกกิจการเหล่านี้เป็นเหล่าทัพย่อยต่างหากเพื่อให้เกิดความสะดวกในการบริหารจัดการองค์กร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือ · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและกันยายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิบัติการพิเศษ

การปฏิบัติการพิเศษ (Special Operation) คือ การปฏิบัติอย่างหนึ่งที่ไม่จัดให้มีการปฏิบัติในกรอบการปฏิบัติของหน่วยที่มีอยู่เดิมหรือโดยปกติ เป็นงานที่เกิดขึ้นใหม่ด้วยความริเริ่มในการแก้ไขปัญหา ซึ่งคุกคามและมีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อหน่วยงาน องค์กร หรือประเทศ โดยริเริ่มการปฏิบัตินับแต่ในขั้นเตรียมการ ปฏิบัติการและขั้นหลังการปฏิบัติ ทั้งนี้ ภัยคุกคามยังมีลักษณะขอบเขตอยู่เพียงความสนใจของผู้นำ ลักษณะขององค์กร และผลกระทบที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงอย่างไร ดังนั้น การปฏิบัติการพิเศษจึงปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบขององค์กรและภัยคุกคามเป็นหลัก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและการปฏิบัติการพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ฐานทัพเรือกรุงเทพ

นทัพเรือกรุงเทพ (Bangkok Naval Base) มีหน้าที่การป้องกันพื้นที่ การรักษาความสงบเรียบร้อย และระเบียบวินัยของทหาร การสารวัตรทหาร การรักษาความปลอดภัยฐานที่ตั้งหน่วยทหาร และพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย การกิจการพลเรือน การควบคุมเรือพาณิชย์ การเรือนจำ การดุริยางค์ ตลอดจนให้การฝึก และศึกษาวิชาการดุริยางค์ และวิชาการอื่นตามที่ได้รับมอบหม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและฐานทัพเรือกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ฐานทัพเรือสัตหีบ

นทัพเรือสัตหีบ (Sattahip Naval Base) เป็นฐานทัพของกองทัพเรือไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลสัตหีบ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย มีหน้าที่ปกป้องน่านน้ำในสัตหีบและดูแลกองกำลังของกองทัพเรือในสัตหีบ ผู้บัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบคนปัจจุบันคือ พลเรือโท สุกิตติ เสงี่ยมพงษ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและฐานทัพเรือสัตหีบ · ดูเพิ่มเติม »

ภานุวัฒน์ กองจันทร์

อก ภานุวัฒน์ กองจันทร์ เป็นนักฟุตบอลระดับอาชีพจากประเทศไทย ปัจจุบันเขาทำหน้าที่ให้แก่สังกัดสโมสรฟุตบอลราชนาวี ในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและภานุวัฒน์ กองจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาริษา อมาตยกุล

ตรี มาริษา อมาตยกุล นักร้องวงสุนทราภรณ์ เจ้าของน้ำเสียงกังวาลชัดเจนกับทรงผม "สวอน" ที่ผู้ชมจดจำคุ้นเคยตลอดมากว่า 50 ปี.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและมาริษา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชสามัคคีสี่เหล่า

มาร์ชสามัคคีสี่เหล่า เป็นเพลงมาร์ชที่นาวาตรีพยงค์ มุกดา ประพันธ์ขึ้น เพื่อเป็นการปลุกใจ และสร้างความสามัคคีระหว่างทหารเหล่าทัพต่างๆ และตำรวจ ในฐานะที่เป็นผู้ที่มีหน้าที่ปกป้องอธิปไตย และความมั่นคงของประเทศ ทั้งภายใน และภายนอกราชอาณาจักร เพลงนี้ได้ประพันธ์ขึ้นโดยการนำเอาวรรคแรกของเพลงชาติไทย และบางส่วนของเพลงมาร์ชสำคัญของทั้งสามเหล่าทัพและตำรวจมาดัดแปลงรวมกันเป็นเพลงเดียว ดังนี้.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและมาร์ชสามัคคีสี่เหล่า · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารและตำรวจไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์และตราสัญลักษณ์ของกองทัพไทย ยศทหารและตำรวจไทยตามแบบชาติตะวันตกเริ่มกำหนดให้มียศทหารและตำรวจไทยขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการปรับปรุง และจัดระบบระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินใหม่ตามแบบยุโรปในทุกด้าน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกยศและบรรดาศักดิ์ออกจากกันอย่างเด็ดขาด และโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสำหรับลำดับยศนายทหารบกขึ้นในปี พ.ศ. 2431 กำหนดให้มียศทหารบกตามลำดับชั้นแบบอารยประเทศ ต่อมาเมื่อจัดระเบียบฝ่ายทหารบกเรียบร้อยแล้วจึงให้จัดระเบียบยศทหารเรือ โดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือต่างประเทศเป็นลำดับถัดมา เมื่อมีการจัดตั้งกองทัพอากาศในสมัยรัชกาลที่ 8 ก็ได้จัดระเบียบยศทหารโดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือ ส่วนยศของตำรวจนั้นได้นำรูปแบบยศของกองทัพบกมาปรับใช้โดยอนุโลม ยศต่างๆ ในประเทศไทยสมัยปัจจุบันมีกฎหมายรองรับเป็นพระราชบัญญัติยศทหาร พุทธศักราช 2479 สำหรับยศของสามเหล่าทัพ และพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาต..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและยศทหารและตำรวจไทย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีเกาะช้าง

การรบที่เกาะช้าง หรือที่รู้จักกันในนาม ยุทธนาวีเกาะช้าง เป็นเหตุการณ์รบทางเรือที่เกิดขึ้นในกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ไทยเรียกร้องให้ปรับปรุงเส้นแบ่งเขตแดน ไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส เสียใหม่ โดยใช้แนวร่องน้ำลึกเป็นเกณฑ์ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักความยุติธรรม และให้ฝรั่งเศสคืนดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงที่ฝรั่งเศสยึดไปจากเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ให้ไทย ยุทธภูมิในการรบครั้งนี้เกิดขึ้นที่บริเวณด้านใต้ของเกาะช้าง จังหวัดตราด เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 และถือเป็นการรบทางทะเลครั้งเดียวในประวัติศาสตร์กองทัพเรือไทย และรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อีกด้ว.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและยุทธนาวีเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรคอปเตอร์ EC145

ูโรคอปเตอร์ EC145 (อังกฤษ: Eurocopter EC145) (ปัจจุบัน แอร์บัส เฮลิคอปเตอร์ H145) เป็นเฮลิคอปเตอร์แบบคู่แฝดที่พัฒนาและผลิตขึ้นโดยยูโรคอปเตอร์ ซึ่งมีชื่อว่า แอร์บัส เฮลิคอปเตอร์ ในปีค.ศ. 2014 แต่เดิมเรียกว่า BK 117 C2 EC145 ใช้ MBB / Kawasaki BK 117 C1 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเฮลิคอปเตอร์ของตำรวจ ยูโรคอปเตอร์ EC145 เป็นเฮลิคอปเตอร์แบบคู่แฝดและสามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ถึงเก้าคนพร้อมกับลูกเรือสองคนขึ้นอยู่กับรุ่นของเฮลิคอปเตอร์ ยูโรคอปเตอร์ EC145 ถูกวางตลาดสำหรับการขนส่งผู้โดยสารการขนส่งของกการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) และการค้นหาและกู้ภั.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและยูโรคอปเตอร์ EC145 · ดูเพิ่มเติม »

ร.น.

ร.น. ย่อมาจาก ราชนาวี เป็นคำลงท้าย ใช้ประกอบชื่อ และยศทหารสัญญาบัตร สังกัดกองทัพเรือไทย ที่มียศตั้งแต่ เรือตรี ขึ้นไป (เว้นแต่การเขียนในราชการภายในกองทัพเรือ) เพื่อให้แตกต่าง และไม่ให้สับสนกับยศทหารสังกัดกองทัพอากาศไทย การใช้งาน ให้ใช้ ร.น. ต่อท้ายนามสกุลเมื่อใช้ยศเป็นคำย่อไปภายนอกกองทัพเรือ แต่เป็นภายในหน่วยสังกัดกระทรวงกลาโหม เช่น นาวาตรี หม่อมหลวง ประพันธ์ สนิทวงศ์ ใช้คำย่อว่า น.ต. ม.ล.ประพันธ์ สนิทวงศ์ ร.น. เปรียบเทียบกับ นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ หรือ น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ แต่ในกรณีที่ใช้ภายในกองทัพเรือ แม้จะใช้ยศเป็นคำย่อ ก็ไม่ต้องลงท้าย ร.น. อนึ่ง ในกรณีใช้ในราชการภายนอกกระทรวงกลาโหม ต้องเขียนยศเป็นคำเต็มเสมอ และในกรณีที่เขียนยศเป็นคำเต็มทุกกรณีไม่ต้องลงท้าย ร.น. ตัวอย่างการใช้ ใช้ภายในกองทัพเรือ น.ต.ม.ล.ประพันธ์ สนิทวงศ์, พล.ร.อ.ประชุม เครือวัลย์ ใช้ภายนอกกองทัพเรือ แต่เป็นภายในกระทรวงกลาโหม น.ต.ม.ล.ประพันธ์ สนิทวงศ์ ร.น., พล.ร.อ.ประชุม เครือวัลย์ ร.น. ใช้ภายนอกกระทรวงกลาโหม นาวาตรี หม่อมหลวง ประพันธ์ สนิทวงศ์, พลเรือเอก ประชุม เครือวัล.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและร.น. · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ราชนาวี (แก้ความกำกวม)

ราชนาวี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและราชนาวี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในกองทัพไทย

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในกองทัพไทยอย่างสังเขป.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและรายชื่อธงในกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการธงในประเทศไทย

งชาติไทย หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ในประเทศไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและรายการธงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันกองทัพเรือ (ประเทศไทย)

วันกองทัพเรือ (Royal Thai Navy Day) ตรงกับวันที่ 20 พฤศจิกายน ของทุกปี ในสมัยโบราณยังมิได้มีการแบ่งแยกกำลังรบทางเรือออกจากทางบก จวบจนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงเริ่มมีการแบ่งแยกกำลังรบทางเรือออกจากทางบก เมื่อครั้งเริ่มแรกตั้งกรมทหารเรือนั้น กิจการทหารเรือบางประเภทยังขาดบุคคลที่มีความรู้ความชำนาญ จำเป็นต้องจ้างชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการตามตำแหน่งหน้าที่ต่างๆ อาทิ ผู้บังคับการเรือและผู้บัญชาการป้อมต่างๆ ต่อมาภายหลังวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริว่า กิจการของทหารเรือเท่าที่อาศัยชาวต่างประเทศเข้ามาประจำตำแหน่งหน้าที่ต่างๆ นั้น ไม่อาจที่จะหวังในด้านการรักษาอธิปไตยของชาติได้ดีเท่ากับคนไทยเอง พระองค์มีพระราชประสงค์ให้จัดการศึกษาแก่ทหารเรือไทย ให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะรับตำแหน่งหน้าที่ต่างๆ ในเรือแทนชาวต่างชาติที่จ้างไว้ต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระราชโอรส เสด็จไปทรงศึกษาวิชาการทหารเรือยังประเทศอังกฤษ ภายหลังจากที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหารเรือ และกลับมารับราชการในกรมทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมทหารเรือ จัดการฝึกสอนวิชาการทหารเรือขึ้น โดยเริ่มตั้งโรงเรียนขึ้นครั้งแรกที่บริเวณอู่หลวงใต้วัดระฆัง ตรงข้ามท่าราชวรดิฐ สำหรับอบรมนายทหารชั้นประทวน หรือฝ่ายช่างกลและเดินเรือ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและวันกองทัพเรือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วันอาภากร

วันอาภากร ตรงกับวันที่ 19 พฤษภาคม ของทุกปี ตรงกับวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) ซึ่งเป็นที่เคารพของทหารเรือไทย ในฐานะที่ทรงเป็นผู้วางรากฐาน และพัฒนากิจการกองทัพเรือไทย จัดตั้งฐานทัพเรือ โรงเรียนนายเรือ กองทัพเรือไทยได้กำหนดให้วันที่ 19 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันอาภากร พร้อมกับขนานพระนามพระองค์ท่านเป็น "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" ตั้งแต..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและวันอาภากร · ดูเพิ่มเติม »

วันเรือดำน้ำ (ประเทศไทย)

วันเรือดำน้ำ ตรงกับวันที่ 4 กันยายน ของทุกปี วันที่ 4 กันยายน ของทุกปี บรรดาทหารเรือที่เคยประจำการในเรือดำน้ำ ได้ถือเอาวันนี้เป็นวันที่ระลึกเรือดำน้ำ สืบเนื่องจากเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2480 เรือดำน้ำ 2 ลำ จากจำนวน 4 ลำ ซึ่งสั่งต่อจาก บริษัทมิตซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น คือ เรือหลวงมัจฉานุ และ เรือหลวงวิรุณ ได้สร้างแล้วเสร็จ ทางบริษัทพร้อมที่จะส่งมอบให้แก่ราชนาวีไทย ดังนั้น ทหารที่ถูกจัดให้อยู่ประจำเรือทั้งสองลำนี้ ได้กระทำพิธีรับมอบและลงประจำเรือตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ถึงแม้กองทัพเรือจะปลดระวางประจำการเรือดำน้ำชุดนี้ไปแล้วก็ตาม แต่ในอดีตนั้น เรือดำน้ำเหล่านี้ได้เป็นเขี้ยวเล็บที่เสริมสร้างนาวิกานุภาพของไทยให้เข้มแข็ง จนเป็นที่กล่าวขานและได้รับใช้ชาติอย่างสมบูรณ์ ในกรณีพิพาทกับฝรั่งเศสและในสงครามมหาเอเชียบูรพา จนกระทั่งสงครามสงบ เรือดำน้ำทั้งหมดได้ปลดระวางประจำการไปเมื่อ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและวันเรือดำน้ำ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา ทำว่อง

อก วิทยา ทำว่อง เกิดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2530 ที่จังหวัดลำปาง เป็นนักยิงธนูชาวไทย ผู้เข้าแข่งขันในรายการชายเดี่ยวในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 และเดือนกันยายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและวิทยา ทำว่อง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุครอบครัวข่าว

วิทยุครอบครัวข่าว ผลิตโดย บริษัท เซิร์ช ไลฟว์ จำกัด และ บริษัท วิช 106 จำกัด ดำเนินรายการจากห้องส่งวิทยุบนอาคารมาลีนนท์ แล้วจึงถ่ายทอดสดออกอากาศทางสถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือ (ชื่อย่อ: ส.ทร.) ระบบเอฟเอ็ม ความถี่ 106.0 เมกะเฮิร์ตซ์ เริ่มตั้งแต่วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เวลา 00.00 น. เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน โดยรูปแบบการนำเสนอ ส่วนมากเป็นการรับสัญญาณถ่ายทอดเสียง จากรายการโทรทัศน์ประเภทข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน ที่ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อีกส่วนหนึ่งเป็นรายการวิทยุ ที่มีกลุ่มผู้ประกาศข่าวและพิธีกร “ครอบครัวข่าว 3” เป็นผู้ดำเนินรายการ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและวิทยุครอบครัวข่าว · ดูเพิ่มเติม »

ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ

ลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ (16 มกราคม พ.ศ. 2490 -) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ ทัศนพันธ์

รือตรี สมยศ ทัศนพันธุ์ (14 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2529) นักร้อง นักแต่งเพลงไทยสากล.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมยศ ทัศนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมรักษ์ คำสิงห์

นาวาตรี สมรักษ์ คำสิงห์ ร.น. เป็นนักกีฬาทีมชาติไทยคนแรก ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง จากการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่น ในกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 26 ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมรักษ์ คำสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานภูมิพล

นภูมิพล (Bhumibol Bridge) หรือเดิม สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาสำหรับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม เชื่อมระหว่างถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขสวัสดิ์ ถนนปู่เจ้าสมิงพราย และถนนกาญจนาภิเษก ลักษณะเป็นสะพานขึงขนาด 7 ช่องจราจร ทางด้านเหนือหรือ "สะพานภูมิพล 1" เชื่อมระหว่างแขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร กับตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ทางด้านใต้หรือ "สะพานภูมิพล 2" เชื่อมระหว่างตำบลทรงคนองกับตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2549 แต่ก่อนหน้านั้นได้เปิดใช้ตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2549 ในวันพุธที่ 24 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสะพานภูมิพล · ดูเพิ่มเติม »

สุบรรณ พันโนน

อก สุบรรณ พันโนน (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 ที่จังหวัดขอนแก่น) เป็นอดีตนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยในรุ่นไลท์ฟลายเวท (48 กิโลกรัม) (สังกัดสโมสรราชนาวี) สุบรรณคว้าเหรียญทองเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 ที่กรุงเทพมหานคร มาได้ และในปีต่อมาได้เหรียญทองแดง จากรายการมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลก ที่ฮุสตัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ทำให้สุบรรณติดทีมชาติไปแข่งขันโอลิมปิก 2000 ที่ซิดนีย์ ออสเตรเลีย ซึ่งสุบรรณสามารถโชว์ฟอร์มได้ดีในการชกรอบแรก จนกลายเป็นนักมวยมีความหวังเหรียญทองคนหนึ่งในครั้งนี้ แต่ทว่าในรอบสอง สุบรรณเกิดข้อเท้าพลิกขึ้นมาในระหว่างการชกกับ วาไรลี ไซโดเรนโก (ยูเครน) จึงถูกจับแพ้ไป ต่อมา สุบรรณยังได้เข้าร่วมเอเชียนเกมส์ 2002 อีก และคว้าเหรียญทองได้อีก หลังจากนั้น สุบรรณยังเข้าร่วมในโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ แต่ได้ก็ตกรอบสองเมื่อแพ้ต่อ ยาน บาร์เตเลมี (คิวบา) ซึ่งต่อมาได้เหรียญทอง หลังจากนั้น สุบรรณยังชกรับใช้ทีมชาติอยู่ ในเอเชียนเกมส์ 2006 ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ สุบรรณสามารถผ่านไปจนถึงรอบชิงชนะเลิศได้ แต่ทว่าเป็นฝ่ายแพ้อาร์.เอส.ซี.ต่อ โจว ซื่อหมิง (จีน) ไป (ต่อมา โจว ซื่อหมิง เป็นผู้ได้เหรียญทองโอลิมปิก 2008) ได้เพียงแค่เหรียญเงิน หลังจากนี้ สุบรรณก็ได้แขวนนวมไป เพื่อเปิดโอกาสให้นักมวยรุ่นใหม่ขึ้นมาแทนที่ ปัจจุบัน สุบรรณเป็นโค้ชให้กับทีมมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยทั้งทีมชายและทีมหญิง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสุบรรณ พันโนน · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์

ลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ รองเลขาธิการประจำผู้ดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตเป็นที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ สืบต่อจาก พล.ร.อ.กำธร พุ่มหิรัญ ที่เกษียณอายุราชการ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สีชัง (เพลง)

ลงสีชัง เป็นเพลงที่นำเนื้อร้องมาจากบทละคอนร้องเรื่อง "พระร่วง" หรือ "ขอมดำดิน" บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสีชัง (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลกองเรือยุทธการ

มสรฟุตบอลกองเรือยุทธการ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับไทยลีก 4 โดยสโมสรเคยทำผลงานคว้าตำแหน่งรองแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2552 (แข่งต้นปี 2553).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสโมสรฟุตบอลกองเรือยุทธการ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลราชนาวี

มสรฟุตบอลราชนาวี (สโมสรฟุตบอลราชนาวีสโมสร) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทยสนับสนุนโดยกองทัพเรือไทย ปัจจุบันแข่งขันอยู่ในไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก สโมสรราชนาวีเป็นสโมสรที่มีการเลื่อนชั้นและตกชั้นระหว่างไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกและไทยลีกดิวิชัน 1 หลายรอ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสโมสรฟุตบอลราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตซอลราชนาวี

มสรฟุตซอลราชนาวี เป็นสโมสรฟุตซอลในประเทศไทยสนับสนุนโดยกองทัพเรือไทย ปัจจุบันแข่งขันอยู่ในไทยแลนด์ฟุตซอลลีก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและสโมสรฟุตซอลราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมกองทัพเรือ

หอประชุมกองทัพเรือ (Royal Thai Navy Convention Center) เป็นหอประชุมที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่กรมสารวัตรทหารเรือ และปรับปรุงต่อเติมอาคารราชนาวิกสภา ติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหอประชุมกองทัพเรือ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ ของราชนาวีไทย เป็นหน่วยรบขนาดเล็กของกองทัพเรือขนาด 144 นาย มีหน้าที่หลักในปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลเป็นหลัก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน

หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (Royal Thai Marine Corps) มีหน้าที่บังคับบัญชา นาวิกโยธิน คือ ทหารที่ได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษ เพื่อปฏิบัติภารกิจ โดยมุ่งเน้นการรบภาคพื้นดิน นับ เป็นการรบสะเทินน้ำสะเทินบก เพื่อสนับสนุนการรบของทหารเรือ และอาจทำการรบร่วมกับทหารจากหน่วยรบอื่นๆ เช่น ทหารบก หรือ ทหารอากาศก็ได้ นาวิกโยธินจึงเปรียบเสมือนทหารเหล่าราบของกองทัพเรือนั่นเอง ทหารเรือฝ่ายนาวิกโยธินนับว่ามีขีดความสามารถสูง ได้รับการฝึกทั้งการรบทางทะเลและการรบทางบก สามารถปฏิบัติการได้คล่องตัว เช่น เมื่อต้องการยกพลขึ้นบก การยุทธที่มีความคาบเกี่ยวกับสถานการณ์บกและน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถปฏิบัติงานในท้องที่ชายฝั่ง รักษาความสงบตลอดน่านน้ำ เป็นต้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม (ประเทศไทย)

หน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม หรือ ซีล เป็นหน่วยหนึ่งในหน่วยปฏิบัติการสงครามพิเศษทางเรือ กองทัพเรือไทย ที่ได้รับการกล่าวขวัญว่าเป็นหน่วยที่มีการฝึกหนักที่สุดในบรรดาหน่วยรบพิเศษของทุกเหล่าทั.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและหน่วยทำลายใต้น้ำจู่โจม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

อมร ศิริกายะ

ลเรือเอก อมร ศิริกายะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอมร ศิริกายะ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วิรัฐถาวร

อารีย์ วิรัฐถาวร ในการแข่งขันโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ อารีย์ วิรัฐถาวร เกิดวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ที่ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี จบการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อารีย์ เล่นกีฬายกน้ำหนักตั้งแต่อายุ 12 ปี ร่วมรุ่นกับ อุดมพร พลศักดิ์ และแตงโม พ่วงโพธิ์ ติดทีมชาติครั้งแรก ในการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 21 ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ และการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 22 ที่ประเทศเวียดนาม ได้เหรียญเงินในรุ่น 48 กิโลกรัมหญิง และเอเชียนเกมส์ ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ อารีย์ มาประสบความสำเร็จจากการแข่งขันโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ โดยได้เหรียญทองแดง ในรุ่น 48 กิโลกรัมหญิง โดยเป็นนักกีฬาไทยคนแรกที่ได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันครั้งนี้ และเป็นนักกีฬาหญิงไทยคนที่ 2 ต่อจาก เกษราภรณ์ สุตา ที่ได้เหรียญรางวัลโอลิมปิก ปัจจุบัน อารีย์รับราชการเป็นทหารเรือ (ทร.) ยศ นาวาตรีหญิง (น.ต.).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอารีย์ วิรัฐถาวร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระสมุทรเจดีย์

ระสมุทรเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ชื่อของอำเภอนี้ได้มาจากพระสมุทรเจดีย์ (พระเจดีย์กลางน้ำ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนเกาะกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ. 2370 บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาของอำเภอนี้ เป็นที่ตั้งของป้อมพระจุลจอมเกล้า สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2436 และได้ใช้เป็นที่มั่นในการรบกับเรือรบฝรั่งเศสในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (ในปีเดียวกัน) นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียง ทางกองทัพเรือยังได้นำเรือรบหลวงแม่กลองซึ่งอนุรักษ์ไว้มาจัดแสดงด้ว.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอำเภอพระสมุทรเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2553

อุทกภัยในประเทศไทย เมื่อ..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

อู่กรุงเทพ

ริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (The Bangkok Dock Company (1957) Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย สังกัดกระทรวงกลาโหม ประกอบกิจการอู่เรือ สร้าง ซ่อมเครื่องจักร เครื่องกลเรือ และอุตสาหกรรมพาณิชย์นาวีของกองทัพไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอู่กรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวกรุงเทพ

อ่าวกรุงเทพ อ่าวกรุงเทพ, อ่าวไทยตอนใน หรือ อ่าวไทยรูปตัว ก เป็นจุดเหนือสุดของอ่าวไทย โดยคิดจากอำเภอหัวหินในทางตะวันตกไปจนถึงอำเภอสัตหีบ แม่น้ำเจ้าพระยาและลำน้ำสายแยก แม่น้ำเพชรบุรี แม่น้ำบางตะบูน แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำบางปะกง ไหลลงสู่อ่าวนี้ เกาะหลายเกาะตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของอ่าว เช่น เกาะสีชัง เกาะล้าน เกาะไผ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและอ่าวกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล (ประเทศไทย)

อมพล เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) จอมพลเรือ (ทหารเรือ) และจอมพลอากาศ (ทหารอากาศ) (ตามพระราชบัญญัติยศทหาร พ.ศ. ๒๔๗๙) โดยเป็นยศสูงกว่าพลเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น(จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอากาศ).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและจอมพล (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลอากาศ (ประเทศไทย)

อมพลอากาศ เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพอากาศไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) และจอมพลเรือ (ทหารเรือ) โดยเป็นยศสูงกว่าพลอากาศเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น(จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศจอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอากาศ)ตำแหน่งนี้ถูกก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2480 ยศนี้ท่าเทียบกับยศกองทัพสหราชอาณาจักรจะได้ยศเป็นจอมพล.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและจอมพลอากาศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลเรือ (ประเทศไทย)

อมพลเรือ เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพเรือไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) และจอมพลอากาศ (ทหารอากาศ) โดยเป็นยศสูงกว่าพลเรือเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น (จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ) ตำแหน่งนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2431 ซึ่งตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและจอมพลเรือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์ สังขดุลย์

ลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ (นามเดิม จงจิตต์ สังขดุลย์) นายทหารผ่านศึกในยุทธนาวีเกาะช้าง อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายเรือ ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร เจ้ากรมส่งกำลังบำรุง เสนาธิการทหารเรือ และปลัดกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและจิตต์ สังขดุลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงฉาน

การชักธงฉานที่หัวเรือรบ (ในภาพเป็นธงฉานของกองทัพเรือไอร์แลนด์) ธงฉาน (Jack; Pavillon de beaupré; Gösch; Bandera de proa) คือธงชาติที่บัญญัติให้ใช้เพิ่มเติมสำหรับชักที่เสาหัวเรือรบและเรือประเภทอื่นๆ บางชนิด ปกติแล้วจะชักขึ้นในเวลาที่เรือไม่ได้ออกปฏิบัติการและเมื่อมีการตกแต่งเรือด้วยธงต่างๆ ในวาระพิเศษ ในบางประเทศจะใช้ธงนี้สำหรับหมายยศนายทหารชั้นนายพลเรือด้วย เช่น ธงหมายยศจอมพลเรือของสหราชอาณาจักรใช้ธงฉานของกองทัพเรือสหราชอาณาจักร (ธงเดียวกันกับธงยูเนี่ยนแจ็ค ซึ่งใช้เป็นธงชาติด้วย แต่กำหนดสัดส่วนของธงไว้ที่ 1:2) เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจใช้ในหน้าที่อื่นๆ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น ในกองทัพเรือไทย ธงฉานจะใช้เป็นธงหมายเรือพระที่นั่ง และเรือหลวง และเป็นธงประจำกองทหารสำหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล ในภาษาไทยโบราณ คำว่าธงฉานหมายถึง ธงนำกระบวนกลองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ความหมายในปัจจุบันหมายเอาถึงธงฉานของกองทัพเรือ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติธง..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและธงฉาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงฉาน (ไทย)

งฉานประจำเรือหลวงธนบุรีได้รับการประดับแพรแถบเหรียญกล้าหาญ จากวีรกรรมยุทธนาวีเกาะช้าง ภายหลังสิ้นสุดกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2484 เรือหลวงประแส (ชื่อเดิม: USS Glendale; รหัสเดิม: PF-36) และเรือหลวงท่าจีน (ชื่อเดิม: USS Gallup; รหัสเดิม: PF-47) จอดขณะทำพิธีรับมอบเรือจากกองทัพเรือสหรัฐแเมริกา ที่หัวเรือชักธงฉานของราชนาวีไทย ธงฉานของกองทัพเรือไทย เป็นธงที่ใช้ชักที่หัวเรือรบและเรือหลวง และสำหรับใช้เป็นธงประจำกองทหารสำหรับหน่วยทหารที่ยังไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล ในเวลายกพลขึ้นบก มีลักษณะตามที่ระบุในพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522 ว่า "ธงฉาน มีลักษณะเช่นเดียวกับ ธงชาติ แต่ตรงกลางของผืนธง มีรูปจักรแปดแฉก แฉกของจักร เวียนไปทางซ้าย และมีสมอสอดวงจักร ภายใต้พระมหามงกุฎ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง".

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและธงฉาน (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ธนบุรี

นบุรี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล รายนานนท์

ลเรือเอกถวิล รายนานนท์ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายสัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและถวิล รายนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอิสรภาพ

นนอิสรภาพ (Thanon Itsaraphap) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและถนนอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารเรือ

ทหารเรือชาวจีน ทหารเรือ (Navy) เป็นทหารที่ทำการรบโดยใช้เรือ การเรียงลำดับอาวุโสของทหาร 3 เหล่าทัพ ถ้าเป็นแบบสหราชอาณาจักร จะเรียงจาก ทหารเรือ ทหารอากาศ ทหารบก เพราะเป็นมหาอำนาจทางทะเลมาก่อน ทหารเรือจึงเป็นพี่ใหญ่ ทหารเรือ จะมีเรือหลากหลายชนิด ในกองทัพ เช่น เรือดำน้ำ เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือประจัญบาน เป็นต้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและทหารเรือ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสงขลา

ท่าอากาศยานสงขลา หรือ สนามบินสงขลา (Songkhla Airport) ตั้งอยู่ที่ อ.เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นท่าอากาศยานในการดูแลของกองทัพเรือไทย มีความยาวทางวิ่ง 1,510 เมตร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและท่าอากาศยานสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) (U-Tapao International Airport) หรือมักเรียกกันว่า สนามบินอู่ตะเภา เป็นสนามบินตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานคร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 13 เมตร ห่างจากจังหวัดระยองประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 190 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการ และ กองการสนามบินอู่ต.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ พิพัฒนาศัย

ลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติประธานกรรมการประสานและกำกับการดำเนินงาน ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ประธานกรรมการในคณะกรรมการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 401/2558 และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาประธานกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติและรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและ อดีต ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือสืบต่อจาก พล.ร.อ.สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ที่เกษียณอายุราชการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและณรงค์ พิพัฒนาศัย · ดูเพิ่มเติม »

ณะ อารีนิจ

ลเรือเอก ณะ อารีนิจ ราชองครักษ์เวร ผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย, ตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารเรือ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ประธานกรรมการบริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นอดีตเสนาธิการทหารเรือ, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและณะ อารีนิจ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกประดู่ (เพลง)

งราชนาวีไทย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เพลง ดอกประดู่ หรือที่นิยมเรียกกันอีกอย่างว่าเพลง "หะเบสสมอพลัน" เป็นบทเพลงพระนิพนธ์ใน พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เดิมเรียกชื่อว่า "Comin Thro' the Rye" ตามชื่อทำนองเพลงเดิมในภาษาอังกฤษ (เพลงนี้เป็นเพลงสก็อต เข้าใจกันว่าดัดแปลงทำนองมาจากเพลง Auld Lang Syne อีกทีหนึ่ง) แรงบันดาลใจสำคัญในการทรงนิพนธ์เพลงนี้คือเหตุการณ์วิกฤตการณ์ปากน้ำ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ซึ่งเป็นที่จดจำกันได้ดีทุกคนสำหรับคนไทยในยุคนั้น สันนิษฐานว่าทรงนิพนธ์เพลงดอกประดู่เมื่อ พ.ศ. 2448 เพลงนี้ถือเป็นเพลงสัญลักษณ์ของกองทัพเรือไทยที่คนไทยรู้จักกันดี และเป็นที่มาของการเปรียบเทียบตนเองของทหารเรือไทยว่า เป็น "ลูกประดู่" มาจนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและดอกประดู่ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวิกา โฮร์เน่

วิกา โฮร์เน่ ชื่อเล่น ใหม่ (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดง นางแบบ และนักธุรกิจ เป็นลูกครึ่งไทย–เบลเยี่ยม เข้าวงการบันเทิงขณะอายุ 13-14 ปี โดยถ่ายแบบโฆษณาภาพนิ่งรถจักรยานยนต์ยี่ห้อหนึ่งของญี่ปุ่น จากนั้นได้ถ่ายแบบ เดินแบบและโฆษณามาเรื่อย จนอายุ 17 ปี ได้เซ็นสัญญากับ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ผลงานเป็นนางเอกละครเรื่องแรกและเรื่องที่2 ออกอากาศไล่เลี่ยกัน คือเรื่องเงากามเทพกับเหนือมนุษย์ และได้เสียงตอบรับที่ดี ผลงานแสดงภาพยนตร์ที่ได้ออกฉายเรื่องแรก ปี 2556 เรื่องพี่มาก..พระโขนง ซึ่งรับบทเป็นนางนาค นับว่าประสบความสำเร็จทางด้านรายได้เป็นภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดตลอดกาลของประเทศไทย หลังจากนั้นก็มีภาพยนตร์ออกฉายปีละเรื่อง มีผลงานแสดงภาพยนตร์ต่อมาคือ แผลเก่า ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ, 20 ใหม่ ยูเทิร์นวัย หัวใจรีเทิร์น ถือได้ว่าประสบความสำเร็จทางด้านรางวัล และนักวิจารณ์ ในช่วง เดือนธันวาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและดาวิกา โฮร์เน่ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอาเซียนเวย์

"ดิอาเซียนเวย์" (The ASEAN Way) เป็นบทเพลงประจำสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) อย่างเป็นทางการ ประพันธ์ทำนองโดย กิตติคุณ สดประเสริฐ และสำเภา ไตรอุดม คำร้องโดย พยอม วลัยพัชรา จากประเทศไทย เพลงนี้ได้รับการคัดเลือกเป็นเพลงประจำสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 จากผลงานเพลงที่เข้าประกวดทั้งหมด 99 เพลงจากชาติสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและดิอาเซียนเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ครองแผ่นดินโดยธรรม

หน้าปกสื่อบันทึกเสียง ของเพลง "ครองแผ่นดินโดยธรรม" ครองแผ่นดินโดยธรรม เป็นชื่อเพลงที่กระทรวงกลาโหม, กองทัพไทย และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ร่วมกับ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 โดยเพลงและมิวสิกวิดีโอดังกล่าว เผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2554 เวลา 19:09 นาฬิกา ทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุกระจายเสียงทุกแห่ง พร้อมกันทั่วประเทศ โดยมีผู้เข้าบันทึกเสียงทั้งหมด 9,999 คน ทั้งนี้ สถานีโทรทัศน์ต่างๆ จะเผยแพร่มิวสิกวิดีโอรูปแบบใหม่ ซึ่งนำภาพวีดิทัศน์และเสียงร้องของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ที่ส่งผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเฟซบุ๊กมาลงไว้ในช่วงท้าย โดยจะเปลี่ยนรูปแบบในทุกวันที่ 5 ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม จนถึงเดือนธันวาคม ตลอดปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและครองแผ่นดินโดยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

คอบร้าโกลด์

ตราสัญลักษณ์คอบร้าโกลด์ 2006 ในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการฝึกร่วม/ผสม คอบร้าโกลด์ (Cobra Gold ตัวย่อ: CG) เป็นการฝึกร่วม/ผสมทางการทหารระดับพหุภาคีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในประเทศไทย เริ่มครั้งแรกจากการฝึกทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2525 ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นแบบพหุภาคีโดยมีประเทศอื่น ๆ เข้าร่วม ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น วัตถุประสงค์ของการฝึกคอบร้าโกลด์ คือ ปรับปรุงการทำงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชาติต่าง ๆ ที่เข้าร่วมในการฝึก นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมความสงบสุขและความมั่นคงในภูมิภาค การตอบสนองที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพหลังเหตุการณ์คลื่นสึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 ส่วนหนึ่งเป็นผลที่ได้รับจากการฝึกร่วม/ผสมนี้.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและคอบร้าโกลด์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว. 2553 Fisheries ชื่อคณะประมง (Faculty of Fisheries) ในภาคภาษาอังกฤษ นั้นแปลว่า การรวม (Faculty) ของสหวิชาประมงต่างๆ (Fishery).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นกล

ต้นกล คือพลประจำเรือที่มีวุฒิบัตรรับรองให้รับผิดชอบงานวิศวกรรมบนเรือ ทั้งใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องยนต์ ตลอดจนอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมทั้งเรือ นอกจากนี้ ต้นเรือยังมีหน้าที่ในการพิจารณาน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่น ตลอดจนวัสดุสิ้นเปลืองอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเดินทาง ดูแลวัสดุคงคลังสำหรับอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องเก็บสำรอง ดูแลการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่น เตรียมพร้อมห้องเครื่องยนต์สำหรับการตรวจสอบ ดูแลการบำรุงรักษาส่วนสำคัญระหว่างการเดินเรือ และรับผิดชอบห้องเครื่องยนต์ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ต้นกลของกองทัพเรือไทยคือนายทหารพรรคกลิน หมวดหมู่:พลประจำเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและต้นกล · ดูเพิ่มเติม »

ต้นหน

ต้นหนเรือกำลังอ่านแผนที่ ต้นหน คือ เจ้าหน้าที่ชี้ทิศทางเดินเรือทะเลหรือเดินอากาศยาน มีหน้าที่เบื้องต้นในการอยู่ประจำเรือทะเลหรืออากาศยานเพื่อหาตำแหน่งของยานพาหนะตลอดเวลา กับทั้งวางแผนการเดินทาง และให้คำแนะนำแก่ผู้บังคับการเรือหรือผู้บังคับการอากาศยาน เกี่ยวกับเวลาถึงที่หมายโดยประมาณระหว่างการเดินทางและให้หลีกเลี่ยงการใช้เส้นทางอันตราย นอกจากนี้ ต้นหนยังมีหน้าที่ี่ดูแลรักษาแผนที่สมุทร วารสารการเดินเรือ อุปกรณ์การเดินเรือ รวมตลอดถึงอุปกรณ์อื่นทางอุตุนิยมวิทยาและอุปกรณ์สื่อสารทั้งปวง สำหรับในกองทัพอากาศในปัจจุบัน ต้นหนมักจะได้รับหน้าที่ระบบอาวุธและบังคับร่วมขึ้นอยู่กับชนิด, แบบและรุ่นของเครื่องบิน สำหรับกองทัพเรือไทย ต้นหนเรือคือนายทหารสังกัดพรรคนาวิน ส่วนยศนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่ประจำการ คำ "ต้นหน" ยังเป็นคำโบราณมีความหมายว่า คนนำทาง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและต้นหน · ดูเพิ่มเติม »

ซอยกัปตันบุช

ซอยกัปตันบุช หรือ ตรอกกัปตันบุช หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยเจริญกรุง 30 เป็นซอยแยกจากถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใกล้กับถนนสี่พระยาและท่าน้ำสี่พระยา ติดกับริมฝั่งแม่เจ้าพระยา ชื่อซอยกัปตันบุชมีที่มาจากจอห์น บุช นักเดินเรือชาวอังกฤษ ผู้เข้ามาอาศัยและรับราชการในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จนมีตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมเจ้าท่า และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระวิสูตรสาครดิฐ ซึ่งเคยมีบ้านพำนักอยู่บริเวณแถบนี้ โดยในซอยเป็นที่ตั้งของบ้านเลขที่ 1 ของถนนเจริญกรุง เป็นบ้านที่มีสถาปัตยกรรมสวยงามแบบยุโรปนีโอคลาสสิก ตัวอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปั้นหยา และออกแบบเป็นหน้าจั่วตรงกลางด้านหน้าอาคาร ผนังทาสีเหลือง หน้าต่างทาสีเขียวมะกอกตัดขอบขาว ประตูหน้าต่างเป็นทรงโค้งแบบโรมัน บ้านหลังนี้มักมีความเข้าใจผิดว่าเป็นบ้านของกัปตันบุช แต่ตามหลักฐานชื่อของเจ้าบ้านเลขที่ 1 ถนนเจริญกรุงของกรมไปรษณีย์โทรเลข พบว่าในปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและซอยกัปตันบุช · ดูเพิ่มเติม »

ซีล

ซีล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและซีล · ดูเพิ่มเติม »

ประดู่

ประดู่เต็ม สมิตินันทน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและประดู่ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2484

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2484 ในประเทศไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมวิไชยประสิทธิ์

ป้อมวิไชยประสิทธิ์ เป็นป้อมปราการริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านตะวันตก ทางเหนือของปากคลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ่) ปัจจุบันอยู่ในบริเวณกองบัญชาการกองทัพเรือ พระราชวังเดิม ถนนอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ป้อมวิไชยประสิทธิ์ เดิมเป็นป้อมหอรบตั้งอยู่มุมกำแพงเมืองบางกอก (ธนบุรี) ถูกสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเพื่ออารักขาปากแม่น้ำ ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าขายสำคัญ คาดว่าป้อมนี้ถูกสร้างขึ้นก่อนรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยอาจมีชาวโปรตุเกสช่วยออกแบบพิพัฒน์ กระแจะจันทร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและป้อมวิไชยประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักศึกษาวิชาทหาร

นักศึกษาวิชาทหาร หรืออักษรย่อ นศท. คือ บุคคลซึ่งอยู่ในระหว่างเข้ารับการฝึกวิชาทหารตามหลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการฝึกวิชาทหาร..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและนักศึกษาวิชาทหาร · ดูเพิ่มเติม »

แอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2

อ-7 คอร์แซร์ 2 (A-7 Corsair II) เป็นเครื่องบินโจมตีขนาดเบาบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มเข้ามาแทนที่เอ-4 สกายฮอว์คของกองทัพเรือสหรัฐและเข้ารวมรบในสงครามเวียดนาม คอร์แซร์ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นเดียวกับกองกำลังรักษาดินแดนทางอากาศ เพื่อเข้าแทนที่เอ-1 สกายไรเดอร์ เอฟ-100 ซูเปอร์เซเบอร์ และเอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟ คอร์แซร์ยังถูกใช้โดยกรีซในทศวรรษที่ 1970 และโปรตุเกสและไทยในทศวรรษที่ 1980 โครงสร้างของเอ-7 มีพื้นฐานมาจากเอฟ-8 ครูเซเดอร์ที่ผลิตโดยวูท มันเป็นหนึ่งในเครื่องบินรบรุ่นแรกๆ ที่มีหน้าจอแบบฮัด (head-up display) ระบบนำร่อง และเครื่องยนต์เทอร์โบแฟน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและโรงเรียนนายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

โจรสลัด

รสลัด (Pirate, Buccaneer, Frigate) คือบุคคลที่ปล้นหรือโจรกรรมในทะเล หรือบางครั้งตามชายฝั่งหรือท่าเรือต่างๆ โจรสลัดในปัจจุบันจะแตกต่างกับโจรสลัดในอดีตที่มีลักษณะเฉพาะคือจะมีผ้าคาดหัว ใช้ดาบใบกว้างหรือปืนพกและเรือโจรสลัดขนาดใหญ่ ในปัจจุบันโจรสลัดนิยมใช้เรือเร็ว และใช้ปืนกลแทนที่ดาบ เป้าหมายส่วนใหญ่ที่โจรสลัดเลือกคือเรือสินค้าและเรือโดยสาร สำหรับรูปแบบที่ใช้ในการบุกเข้าปล้นมีทั้งชูธงหลอกล่อเป้าหมายว่าเป็นเรือสินค้าบ้าง เรือของกองทัพหรือของศาสนจักรบ้าง หรือแม้กระทั่งใช้กำลังบุกเข้าโจมตีโดยตรงเลยก็มี.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและโจรสลัด · ดูเพิ่มเติม »

โธมัส เฮย์เวิร์ด เฮส์

Thomas Heyward Hays นายแพทย์โธมัส เฮวาร์ด เฮส์ (Dr.; 21 กันยายน พ.ศ. 2397 - พ.ศ. 2467) นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย แพทย์ใหญ่โรงพยาบาลทหารเรือไทย เป็นผู้อำนวยการและเป็นอาจารย์สอนวิชาแพทย์คนแรกของโรงพยาบาลศิริราช หรือที่ชาวบ้านเรียกกันทั่วไปในสมัยนั้นว่า หมอเฮส์ นายแพทย์เฮส์เป็นชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2397 ณ เมืองชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา ประเทศสหรัฐอเมริกา ศึกษาการแพทย์จากมหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ เดินทางเข้ามาในประเทศไทยประมาณเดือนตุลาคม พ.ศ. 2429 ในฐานะอาสาสมัครของคณะมิชชันนารี นิกายเพรสไบทีเรียน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและโธมัส เฮย์เวิร์ด เฮส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร จันทร์สุวานิชย์

ลเรือเอก ไกรสร จันทร์สุวานิชย์ (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2498) ราชองค์รักษ์พิเศษ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557 อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ คนที่ 36, อดีตผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย, อดีตผู้บัญชาการ โรงเรียนนายเรือ.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและไกรสร จันทร์สุวานิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษราภรณ์ สุตา

กษราภรณ์ ขณะรับเหรียญรางวัลโอลิมปิก นาวาโทหญิง เกษราภรณ์ สุตา เป็นอดีตนักกีฬายกน้ำหนักหญิงทีมชาติไทย เกิดวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ที่ตำบลปงเตา อำเภองาว จังหวัดลำปาง จบการศึกษาจากสถาบันการพลศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ เคยได้รับเหรียญรางวัลจากการแข่งขันกีฬายกน้ำหนักประเภทต่าง ๆ อาทิ เหรียญทอง กีฬาแห่งชาติ ระหว่างปี พ.ศ. 2533–พ.ศ. 2536, เหรียญทอง การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเกษราภรณ์ สุตา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะน้อย (กรุงเทพมหานคร)

กาะน้อย เกาะน้อย แลเห็นพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามอยู่เบื้องหลัง เกาะน้อย เป็นเกาะขนาดเล็กเกาะหนึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านหน้าวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร บนเกาะมีเก๋งจีนขนาดน้อยหลังหนึ่ง และมีต้นอินทผลัมสองหรือสามต้นขึ้นอยู่ มีภาพเพียงไม่กี่ชิ้นที่แสดงความมีตัวตนของเกาะน้อย ภาพหนึ่งที่มีชื่อเสียงคือ "ภาพเงาต้นไม้" ผลงานของฟรานซิศจิตร หรือหลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี) ที่ถ่ายเมื่อปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเกาะน้อย (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

เรือมด

รือใบมด เรือมด หรือ เรือใบมด เป็นเรือใบที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงออกแบบและทรงต่อขึ้นมาด้วยพระองค์เอง และได้จดลิขสิทธิ์เป็นสากล ประเภท International Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ และพระราชทานชื่อ เรือใบมดแปลงมาจากเรือใบ "ม็อธ" ซึ่งที่มาของชื่อทรงมีรับสั่งว่า "ที่ชื่อมดนั้น เพราะมันกัดเจ็บ ๆ คัน ๆ ดี" ต่อมาทรงพัฒนาเรือแบบต่อๆมาอีกโดยได้พระราชทาน ชื่อว่าเรือใบซูเปอร์มด และเรือใบไมโครม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือมด · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวง นาวีอันดามัน

รือหลวงจักรีนฤเบศร เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แห่งกองทัพเรือไทย ที่สร้างแรงบันดาลใจในการตั้งชื่อ เรือหลวง นาวีอันดามัน เป็นนักมวยไทยประเภทมวยฝีมือจากจังหวัดภูเก็ต ผู้ซึ่งเคยทำหน้าที่เป็นนักกีฬามวยสากลสมัครเล่น ชุดทีมชาติไท.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวง นาวีอันดามัน · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพฤหัสบดี

รือหลวงพฤหัสบดี (H.T.M.S.PHARUEHATSABODI) เป็นเรืออเนกประสงค์สำหรับงานอุทกศาสตร์ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือไทย ใช้ในงานสำรวจแผนที่ทะเลและสำรวจสมุทรศาสตร์ งานฝึก และการกู้ภัยทางทะเล ตลอดจนสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง เป็นโครงการจัดหาเพื่อทดแทนเรือสำรวจขนาดเล็กที่ปลดระวางประจำการและเรือเก่าที่มีอายุใช้ราชการมานาน กองทัพเรือ กำหนดหมายเลขเรืออเนกประสงค์ เป็นหมายเลข 813 และได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานชื่อเรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานชื่อเรือว่า เรือหลวงพฤหัสบดี เขียนย่อว่า ร.ล.พฤหัสบดี ตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า H.T.M.S. PHARUEHATSABODI เมื่อวันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2549 ด้วยดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และเรือลำนี้มีระวางขับน้ำมากที่สุดในหมู่เรือสำรวจของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ซึ่งเดิมมีอยู่สามลำ คือ เรือหลวงจันทร เรือหลวงสุริยะ และเรือหลวงศุกร์ เรือหลวงพฤหัสบดี ต่อขึ้นที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยบริษัท ยูนิไทย ชิปยาร์ด แอนด์เอนจิเนียริ่ง ซึ่งเป็นกิจการร่วมค้ากับบริษัท Shelde Naval Ship Building ในเครือ Damen Shipyard Group ของเนเธอร์แลนด์ ก่อสร้างโดยใช้แบบของ Damen Shipyard ด้วยงบประมาณ 900 ล้านบาท ใช้เวลาสร้าง 940 วัน เรือหลวงพฤหัสบดี จะประกอบภารกิจแรกในเดือน สิงหาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพลายชุมพล

รือหลวงพลายชุมพล (HTMS Phlai-chumphon) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงสินสมุทร โดยเรือหลวงพลายชุมพล ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงสินสมุทร แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทร เรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ 3 ลำ มีลักษณะภายนอกเหมือนกันทุกประการ ต่างจากเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงพลายชุมพล เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงพลายชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงกระบี่

รือหลวงกระบี่ (HTMS Krabi) (OPV-551) เป็นเรือรบประเภทเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชั้น ริเวอร์ หมายเลขประจำเรือ 551 ประจำการอยู่ในสังกัดหมวดเรือที่ 1 กองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ ฐานทัพเรือสัตหีบ โดยเรือมีขนาดระวางขับน้ำเต็มที่ 1,969 ตัน และเป็นเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่กองทัพเรือไทยเคยสร้างม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงกูด

รือหลวงกูด ถูกใช้ในการลำเลียงทหาร มีอายุการใช้งานนานกว่า 58 ปี ปัจจุบัน ปลดระวางแล้ว (พุทธศักราช 2549) โดยเมืองพัทยาร่วมกับกองทัพเรือไทย จัดทำโครงการอุทยานใต้ทะเล เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงกูด · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงมัจฉาณุ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงมัจฉาณุ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงวิรุณ

right เรือหลวงวิรุณ (HTMS Wirun) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงสินสมุทร และเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงวิรุณ เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงวิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงศรีอยุธยา

รือหลวงศรีอยุธยา (HTMS Sri Ayudhya) เป็นเรือรบประเภทเรือปืนยามฝั่งสังกัดราชนาวีไทย มีระวางขับน้ำ 2,350 ตัน เครื่องจักรดีเซล 2 เครื่อง ความเร็วมัธยัสถ์ 12.2 นอต ติดอาวุธปืน 8 นิ้ว ป้อมคู่ จำนวน 2 ป้อม ปืน 3 นิ้ว จำ นวน 4 กระบอก ปืน 50 มิลลิเมตร จำนวน 2 แท่น พลประจำเรือ 234 นาย ต่อจากอู่ต่อเรือคาวาซากิ ประเทศญี่ปุ่น ขึ้นระวางประจำการ เมื่อ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงสินสมุทร

รือหลวงสินสมุทร (HTMS Sinsamut) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงวิรุณ และเรือหลวงพลายชุมพล โดยเรือหลวงสินสมุทร ประกอบขึ้นพร้อมกับเรือหลวงพลายชุมพล แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน โดยเรือหลวงสินสมุทรมีลักษณะภายนอกเหมือนกับเรือหลวงมัจฉาณุและเรือหลวงวิรุณ ทุกประการ ชื่อเรือหลวงสินสมุทร เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงสินสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงอ่างทอง

รือหลวงอ่างทอง (791) (HTMS Angthong 791) เป็นเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ลำแรกของกองทัพเรือไทย สังกัดกองเรือยกพลขึ้นบกและยุทธบริการ และเป็นเรือในประจำการที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของของกองทัพเรือไทยในปัจจุบัน รองจาก เรือหลวงจักรีนฤเบศร และ เรือหลวงสิมิลัน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

รือหลวงจักรีนฤเบศร (HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-911) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturias) ของกองทัพเรือสเปน โดยปรับปรุงระบบขับเคลื่อน ระบบควบคุมการบิน ระบบอาวุธ และลดระวางขับน้ำลงเหลือสองในสาม ขึ้นระวางประจำการเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงจักรีนฤเบศร · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงธนบุรี

รือหลวงธนบุรี เป็นเรือรบประเภทเรือปืนยามฝั่งของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในช่วงกรณีพิพาทอินโดจีน ก่อนที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเต็มตัวในปี พ.ศ. 2484.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงนเรศวร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือหลวงนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

เรือธง

รือวิคตอรีเป็นหนึ่งในเรือธงของราชนาวีอังกฤษ เรือธง (Flagship) เป็นเรือที่มีผู้บัญชาการกองเรือ ใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นเรือที่ส่งอาณัติสัญญาณให้เข้าโจมตี กองทัพเรือไทยมีเรือธงได้แก่ เรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือหลวงแม่กลอง แม่คำของ "เรือธง" คือ เรือ ในปัจจุบันคำว่า "เรือธง" ไม่เพียงแต่หมายถึงเรือเท่านั้น แต่ถูกยืมมาใช้กับอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น วงการค้าปลีก เพื่อสื่อความถึงผลิตภัณฑ์ที่แพงที่สุด หรือที่ดีที่สุดของบริษัทนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม การใช้คำดังกล่าวในภาษาไทยเป็นการแปลแบบตรงตัวมาจากคำ "Flagship" ในภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นสำนวนภาษาต่างประเทศที่ไม่มีในภาษาไทยมาตรฐาน การใช้คำในความหมายดังกล่าวจึงอาจทำให้เกิดความสับสนได้โดยง่ายและกลายเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือธง · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำแบบ 206

thumb เรือดำน้ำแบบ 206 (Type 206 submarine; U-Boot-Klasse 206) เป็นเรือดำน้ำเครื่องยนต์ดีเซลของเยอรมนี ได้รับการออกแบบและสร้างโดยบริษัท Howaldtswerke-Deutsche Werft (HDW) เป็นเรือดำน้ำขนาดเล็กที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อประจำการในกองทัพเยอรมนีตะวันตกเพื่อต่อต้านประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอในช่วงสงครามเย็น เหมาะสำหรับทะเลน้ำตื้น โดยเฉพาะในทะเลบอลติก ตัวลำเรือเป็นโลหะผสม non-magnetic ทำให้ตรวจจับได้ยาก และปลอดภัยจากทุ่นระเบิดแบบแม่เหล็ก เรือดำน้ำแบบ 206 มีความยาว 48.6 เมตร ระวางขับน้ำ 498 ตัน มีท่อปล่อยตอร์ปิโดขนาด 533 มม.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือดำน้ำแบบ 206 · ดูเพิ่มเติม »

เรือควบคุมทะเล

รือควบคุมทะเล (The Sea Control Ship; ตัวย่อ: SCS) เป็นเรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็กที่ออกแบบและพัฒนาโดยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา สมัยผู้บัญชาการทหารเรืออัลโม ซัมวัล์ต (Elmo Zumwalt) ระหว่างปีคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ปัจจุบันหมายถึงเรือของกองทัพเรือที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ที่คล้ายกัน - GlobalSecurity.org เรือควบคุมทะเลมีวัตถุประสงค์เป็นเรือคุ้มกัน ให้การสนับสนุนทางอากาศสำหรับขบวนเรือ มันเป็นผลมาจากการตัดงบประมาณกองทัพเรือสหรัฐในช่วงเวลานั้น ในปัจจุบันราชนาวีของหลายชาติต่างมีเรือควบคุมทะเลในประจำการของตน รวมถึงราชนาวีไทยด้ว.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือควบคุมทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

รือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เป็นชุดเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งที่กองทัพเรือไทยจัดสร้างขึ้นจำนวนทั้งหมด 3 ลำ คือ เรือ ต.991 เรือ ต.992 และเรือ ต.993 โดยมอบหมายให้กรมอู่ทหารเรือเป็นผู้จัดสร้างเรือ ต.991 ณ อู่ทหารเรือธนบุรี ส่วนเรือ ต.992 และ ต.993 กองทัพเรือได้ว่าจ้างบริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการต่อเรือ เรือ ต.991 ได้มีพิธีปล่อยเรือลงน้ำที่อู่ทหารเรือธนบุรีเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550 (สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์) (สำนักงานเลขานุการกองทัพเรือ) ส่วนเรือ ต.992 และ ต.993 ทำพิธีปล่อยเรือที่อู่ต่อเรือบริษัท มาร์ซัน จำกัด ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2550 (ข้อมูลจากสำนักงานเลขานุการกองทัพเรือ) และมีกำหนดส่งมอบเรือให้แก่กองทัพเรือในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา · ดูเพิ่มเติม »

เรือนรับรองที่ประทับแหลมหางนาค

รือนรับรองที่ประทับแหลมหางนาค เป็นเรือนรับรองที่ประทับในจังหวัดกระบี่ ในความดูแลของกองทัพเรือไทย ตั้งอยู่เชิงเขาหางนาค บ้านคลองม่วง ตำบลหนองทะเล อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางนาค · ดูเพิ่มเติม »

เวลามาตรฐานไทย

ประเทศไทยใช้เวลามาตรฐานโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก 7 ชั่วโมง (ก่อนวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2463 โดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก GMT+6:42:04 ชั่วโมง) เวลามาตรฐานไทยเป็นเวลาเดียวกับเวลามาตรฐานฮอฟด์ เวลามาตรฐานอินโดนีเซียตะวันตก เวลาเกาะคริสต์มาส (ออสเตรเลีย) และเวลาครัสโนยาสค์ ซึ่งประเทศไทยใช้เขตเวลาเดียวกันทั้งปีทั่วประเทศโดยไม่มีเวลาออมแสง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเวลามาตรฐานไทย · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอช-60 ซีฮอว์ก

อสเอช-60/เอ็มเอช-60 ซีฮอว์ก (SH-60/MH-60 Seahawk) เป็นเฮลิคอปเตอร์หลากภารกิจที่มีเครื่องยนต์เทอร์โบชาฟท์สองเครื่องยนต์ โดยมีพื้นฐานโครงสร้างมาจากยูเอช-60 แบล็กฮอว์กและเฮลิคอปเตอร์ตระกูลซิคอร์สกี้ เอส-70 การดัดแปลงที่เด่นชัดที่สุดคือที่ส่วนหางเพื่อลดรอยขูดขีดที่อาจเกิดขึ้นเมื่อลงจอดบนดาดฟ้าเรือ กองทัพเรือสหรัฐใช้โครงสร้างของเอช-60 พัฒนารุ่นที่มีชื่อว่าเอสเอช-60บี เอสเอช-60เอฟ เอชเอช-60เอช เอ็มเอช-60อาร์ และเอ็มเอช-60เอส มันสามารถใช้ได้บนเรือฟริเกต เรือพิฆาต เรือลาดตระเวน เรือสนับสนุนการรบ เรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบก หรือเรือบรรทุกเครื่องบิน ซีฮอว์กสามารถใช้ทำหน้าที่ในสงครามปราบเรือดำน้ำ สงครามใต้น้ำ สงครามทำลายกำลังพื้นผิว สงครามพิเศษทางน้ำ ภารกิจค้าหาและช่วยเหลือ การกิจค้นหาและช่วยเหลือการรบ การส่งกำลังเพิ่มเติมทางดิ่ง และการเคลื่อนย้ายคนเจ็.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเอสเอช-60 ซีฮอว์ก · ดูเพิ่มเติม »

เด่น ดอกประดู่

น ดอกประดู่ หรือชื่อจริงว่า บรรพต วีระรัฐ เป็นนักแสดงตลก ร่วมสมัยกับ เด๋อ ดอกสะเดา ดู๋ ดอกกระโดน และดี๋ ดอกมะดัน (สังเกตว่า ลักษณะการตั้งชื่อ คล้ายๆ กัน) เคยแสดงร่วมคณะกับ เด๋อ ดอกสะเดา และเทพ โพธิ์งาม ใช้ชื่อคณะว่า เด่นเด๋อเทพ ตั้งแต่ประมาณ..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเด่น ดอกประดู่ · ดูเพิ่มเติม »

เด่นชัย เทพนา

ันจ่าเอก เด่นชัย เทพนา เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2518 เป็นนักยิงธนูที่ทำหน้าที่ในทีมชาติไทยมาอย่างยาวนาน และเป็นผู้มากด้วยประสบการณ์ ผู้ซึ่งได้รับรางวัลเหรียญทองซีเกมส์ 2009 ร่วมทีมเดียวกันกับ วิทยา ทำว่อง และ คมกฤษณ์ ดวงสุวรรณ์ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเด่นชัย เทพนา · ดูเพิ่มเติม »

เต่าทะเล

ต่าทะเล (Sea turtle) เป็นเต่าที่อยู่ในวงศ์ใหญ่ Chelonioidea ซึ่งวิวัฒนาการจนสามารถอาศัยอยู่ได้ในทะเลตลอดเวลา โดยจะไม่ขึ้นมาบนบกเลย นอกจากการวางไข่ของตัวเมียเท่านั้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเต่าทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปี่ยมวิไล เล่าเปี่ยม

ปี่ยมวิไล เล่าเปี่ยม (ชื่อเล่น: แสบ; เกิด: 20 ตุลาคม พ.ศ. 2526 ที่อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นหญิงทีมชาติไทย เป็นนักมวยหญิงรายแรกของไทยที่สร้างประวัติศาสตร์ได้เข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก เป็นเจ้าของเหรียญทองซีเกมส์ 4 สมัย ตั้งแต่ซีเกมส์ 2007 ที่จังหวัดนครราชสีมา, ซีเกมส์ 2009 ที่นครหลวงเวียงจันทน์, ซีเกมส์ 2011 ที่ประเทศอินโดนีเซีย, ซีเกมส์ 2013 ที่ประเทศพม่า รวมถึงเหรียญทองเอเชียนอินดอร์เกมส์ 2009 ที่ประเทศเวียดนาม และเหรียญทองชิงแชมป์เอเชีย 2015 ที่ประเทศจีน ได้เข้าแข่งขันโอลิมปิกในโอลิมปิก 2016 ที่นครรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ด้วยการเอาชนะซันดรา ดราบิก นักมวยชาวโปแลนด์ไป 2-1 เสียง ในการแข่งขันรอบ 8 คนสุดท้าย รายการมวยหญิงชิงแชมป์โลก 2016 ที่กรุงอัสตานา ประเทศคาซัคสถาน ในปลายเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน ในกีฬาโอลิมปิก 2016 เปี่ยมวิไลชกเป็นคนสุดท้ายของทีมมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย โดยชกในรุ่นฟลายเวต (ไม่เกิน 51 กิโลกรัม) ได้ผ่านในรอบแรกจากการจับสลาก ในรอบที่สองหรือรอบ 8 คนสุดท้าย หากสามารถเอาชนะได้ในรอบนี้ได้จะคว้าเหรียญทองแดงเป็นอย่างน้อย แต่เปี่ยมวิไลที่ขึ้นชกในมุมแดงเป็นฝ่ายแพ้ต่อบิกโตเรีย บาเลนเซีย นักมวยชาวโคลอมเบียไปอย่างเอกฉันท์ 0-3 เสียง ด้วยคะแนน 37-39, 37-39 และ 36-40 ซึ่งทำให้สมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี ที่ไม่ได้เหรียญรางวัลใด ๆ จากการแข่งขันโอลิมปิกเลย นับตั้งแต่ได้เหรียญแรกเป็นเหรียญทองแดงจากพเยาว์ พูนธรัตน์ ในโอลิมปิก 1976 ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา นอกจากนี้แล้ว เปี่ยมวิไลยังรับราชการในกองทัพเรือ สังกัดกรมสวัสดิการทหารเรือ เป็นอาสาสมัครทหารพรานหญิง (อส.ทพ.หญิง).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและเปี่ยมวิไล เล่าเปี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

TITV Everest 2007

thumb แผนการปีนเขา TITV Everest 2007 มีชื่อเต็มว่า TITV The Everest: The Unlimited Spirit of Thailand 2007 ชื่อไทย “ปฏิบัติการเกียรติยศ สู่ยอดเอเวอเรสต์” เป็นโครงการส่งนักปีนเขาชาวไทย ขึ้นไปปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ ในปี พ.ศ. 2550 ให้การสนับสนุนโดยสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี กรมประชาสัมพันธ์ และกองทัพเรือไทย โดยมีการส่งทีมงานไปถ่ายทำภาพยนตร์เบื้องหลังการปีนเขา และส่งมาตัดต่อเป็นรายการสารคดีเรียลลิตี้โชว์ ฉายทางโทรทัศน์ในประเทศไทย การปีนเขามีกำหนด 3 เดือนตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยใช้เวลาฝึกฝนร่างกาย และปรับตัวเป็นเวลา 45 วัน และเริ่มต้นปีนจากแคมป์ฐาน ใช้เวลา 39 วัน จนถึงยอดเขา มีเป้าหมายที่จะนำธงชาติไทย ธงธรรมจักร และธงตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไปปักบนยอดเขา เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โครงการนี้เกิดจากแนวคิดของชิบ จิตนิยม ผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี เมื่อครั้งไปเยิ่ยมชมวัดไทยลุมพินีเมื่อกลางปี 2550 โดยในครั้งแรกจะนำนายทหารหน่วยรบพิเศษของกองทัพเรือ 3 คน กองทัพอากาศ 3 คน และเจ้าหน้าที่ทีไอทีวี 1 คน อุปสมบทที่วัดไทยลุมพินี และเดินเท้านำธงธรรมจักรขึ้นไปประดับบนยอดเขา ต่อมาได้ยกเลิกแนวคิดนี้ไปด้วยข้อจำกัดเกี่ยวกับการดื่มน้ำและรับประทานอาหารของพระภิกษุ ในปี 2007 มีนักปีนเขาจำนวนมากที่ขึ้นสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ โดยขึ้นจากทางทิศเหนือ จากทิเบต ประเทศจีน และหลีกเลี่ยงการขึ้นจากทางทิศใต้ จากประเทศเนปาลเนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองไม่มั่นคง dpa - Deutsche Presse-Agentur แต่สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีเลือกเส้นทางนี้ โดยให้เหตุผลว่าต้องการเดินทางจากประเทศเนปาล ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นประมาณ 450,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 15 ล้านบาท) ใช้เวลาเตรียมการทั้งสิ้น 4 เดือน นิตยสาร Nature Explorer ฉบับเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและTITV Everest 2007 · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กองทัพเรือไทยและ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Royal Thai Navyกองทัพเรือสยามราชนาวีไทยทร.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »