โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เยาวเรศ นิสากร

ดัชนี เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

46 ความสัมพันธ์: บุหงาหน้าฝนบ้านทรายทองพ.ศ. 2484พล นิกร กิมหงวนกระสือ (ละครโทรทัศน์)มหาเวสสันดรชาดกมัสยารอยไถรากนครารายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2511รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2513รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7รายชื่อละครโทรทัศน์ของดาราวีดีโอรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นรางวัลเมขลารางวัลเมขลา สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นละอองดาว (ภาพยนตร์)ละอองดาว (ละครโทรทัศน์)สังข์ทองสายโลหิตสุดา ชื่นบานสี่ยอดกุมารหลงเงาจันทร์หัวใจในสุญญากาศหัวใจเถื่อนหนุ่มทิพย์อวสานอินทรีแดงอาคม มกรานนท์อินทรีทองอุทัยเทวีอีสาจุรี โอศิริธานินทร์ อินทรเทพทักษิณ แจ่มผลดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่นคุณชายตำระเบิดฉลอง สิมะเสถียรปลาบู่ทองแกะกล่องหนังไทยแม่หญิงแม่นาค (ละครโทรทัศน์)แหวนทองเหลืองเพชรตัดเพชรเกิดแต่ตมเทพสามฤดู

บุหงาหน้าฝน

หงาหน้าฝน เป็นละครแนว โรแมนติก-ดรามา สร้างจากบทประพันธ์โดย ชูวงศ์ ฉายะจินดา ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ และ ซีเนริโอ จำกัด กำกับการแสดงโดย วิศเวศ บูรณวิทยวุฒิ นำแสดงโดย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ ศิริพิชยา วิสิฐไวทยากุล ออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เริ่มออกฉายวันแรกวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554 ก่อนหน้านี้ บุหงาหน้าฝน เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ไทยฉายในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและบุหงาหน้าฝน · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทรายทอง

้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและบ้านทรายทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พล นิกร กิมหงวน

ล นิกร กิมหงวน สามเกลอเปลี่ยนทางมาที่นี่ ความหมายอื่นดูที่ สามเกลอ (แก้ความกำกวม) พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ เป็นหัสนิยาย ประพันธ์โดย ป. อินทรปาลิต ที่จัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482-2511 มีมากมายเกินกว่าพันตอน (ตอนแรกคือตอน อายผู้หญิง) เนื้อหาออกไปในแนวสนุกสนานครื้นเครง มีการหยอกล้อกันไปมา จัดเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน นอกจากรูปแบบหนังสือแล้ว พล นิกร กิมหงวน ยังเคยทำเป็นภาพยนตร์ออกฉายอีกด้วย รวมทั้งละครโทรทัศน์ อีกด้ว.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและพล นิกร กิมหงวน · ดูเพิ่มเติม »

กระสือ (ละครโทรทัศน์)

กระสือ เป็นละครโทรทัศน์ไทย เป็นบทประพันธ์ของ บุราณ ที่เค้าโครงสร้างจาก "ผีกระสือ" ผีพื้นบ้านไทย ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2522 ในรูปแบบภาพยนตร์โทรทัศน์ สร้างโดยดาราฟิล์ม กำกับการแสดงโดย มานพ สัมมาบัต นำแสดงโดย รัชนู บุญชูดวง, เสกศักดิ์ สันติพงษ์, ละออ นพพรรณ, ป๊อกเขี้ยวเพชร, สวาท นาคศิริ, เมธี ด้วงบุญ, บังเละ, สุดเฉลียว เกิดผล ออกฉายทาง ช่อง 7 มีความยาวถึง 200 ตอน จากความโด่งดังจึงถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ ในปี พ.ศ. 2525 กำกับโดย โกมินทร์ นำแสดงโดย พอเจตน์ แก่นเพชร, อาภาพร กรทิพย์, พิศมัย วิไลศักดิ์, รสริน จันทรา, รุ่งนภา กลมกล่อม, สามารถ พึ่งกิจ เข้าฉายเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2538 ผลิตโดย บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด กำกับการแสดงโดย จรูญ ธรรมศิลป์ นำแสดงโดย ศตวรรษ ดุลยวิจิตร, รชนีกร พันธุ์มณี, มนฤดี ยมาภัย, สุวัจนี ไชยมุกสิก, น้ำเงิน บุญหนัก ออกอากาศเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2537 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2538 และครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2555 ได้นำกลับมาสร้างใหม่ ใช้ชื่อเรื่อง กระสือจำศีล นำแสดงโดย วรนันท์ พร้อมมูล, สุทัศสรณ์ สัจจะภูริภูมิ, รติพงษ์ ภู่มาลี, น้ำทิพย์ เสียมทอง, เยาวเรศ นิศากร, ฉัตรมงคล บำเพ็ญ ออกอากาศทางช่อง ทีวี จ๊ะทิงจา ออกอากาศเมื่อวันที่ 1 มีนาคม - 3 สิงหาคม 2555.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและกระสือ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาเวสสันดรชาดก

มหาเวสสันดรชาดก เป็นชีวประวัติเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าวถึงพระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ในการบำเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอุบัติเป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า "มหาชาติชาดก" ในการเทศนา เรียกว่า "เทศน์มหาชาติ".

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและมหาเวสสันดรชาดก · ดูเพิ่มเติม »

มัสยา

มัสยา เป็นละครโทรทัศน์แนว ดราม่า โรแมนติก บทประพันธ์โดย พนมเทียน ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ถึงสามครั้ง ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและมัสยา · ดูเพิ่มเติม »

รอยไถ

รอยไถ (2503) รอยไถ (2522) รอยไถ เป็นผลงานประพันธ์อมตะนิยาย อีกเรื่องหนึ่งของ ไม้ เมืองเดิม ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง ได้แก่ แผลเก่า, บางระจัน, แสนแสบ, ขุนศึก ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักของลือและบัวเผื่อนหนุ่มสาวแห่งทุ่งสอง นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครมาแล้วหลายครั้ง สร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกและถูกสร้างใหม่เมื่อ พ.ศ. 2493 ในปีเดียวกันที่เรื่อง นิทราสายัณห์ ออกฉาย ต่อมา นำกลับมาสร้างภาพยนตร์อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2503 กำกับโดย สด ศรีบูรพารมย์ ต่อมานำกลับมาสร้างภาพยนตร์อีกครั้งในปี พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2532 ต่อมาก็นำมาเป็นละครโทรทัศน์ เพลง รอยไถ เป็นเพลง คำร้องและทำนองโดย ไพบูลย์ บุตรขัน, เนียน วิชิตนันท์ ซึ่งขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร เป็นประกอบภาพยนตร์ รอยไถ และต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2545 ถูกเรียบเรียงใหม่โดย อมรุเทพ นวลนิรันดร คำร้อง-ทำนอง โดย สมศักดิ์ ใจกว้าง ขับร้องโดย หนุ่ม มาวิน เป็นเพลงประกอบละคร รอยไถ ใน ช่อง 7 สี.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรอยไถ · ดูเพิ่มเติม »

รากนครา

รากนครา เป็นนวนิยายที่แต่งโดย ปิยะพร ศักดิ์เกษม เริ่มลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารสกุลไทย พิมพ์รวมเล่มครั้งแรก พ.ศ. 2540 เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ดินแดนล้านนา หัวเมืองเหนือของสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้ง รากนครา เป็นเรื่องราวของ เจ้าศุขวงศ์ แห่งเมืองเชียงพระคำ เกิดตกหลุมรัก เจ้าแม้นเมือง หญิงสาวผู้ยึดมั่นรักแผ่นดินและแน่วแน่ในอุดมการณ์ของบรรพบุรุษ ที่ต้องการให้เชียงเงินได้เป็นเอกราชจากสยาม ซึ่งมีน้องสาวต่างแม่คือ เจ้ามิ่งหล้า หญิงสาวผู้เอาแต่ใจและอิจฉาริษยาที่พี่สาวมีชายหนุ่มมาตกหลุมรัก เจ้ามิ่งหล้าจึงวางอุบายดึงเจ้าศุขวงศ์มาใกล้ชิดตัวและวางแผนทำให้เจ้าแม้นเมืองเข้าใจผิด จนเกิดเป็นรักสามเส้า โศกนาฏกรรมทางความรักจึงอุบัติขึ้น โดยมีแผ่นดินเกิดเป็นเดิมพัน.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรากนครา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2511

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2513

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นช่องโทรทัศน์ที่มีรายการต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงละครที่มีมากมายหลายเรื่องและหลายช่วงเวลา เมื่อมีละครเรื่องหนึ่งจบหรืออวสานไปก็จะมีละครเรื่องใหม่มาออกอากาศแทน โดยละครแต่ละเรื่องจะมีนักแสดงนำและบทละครที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ ละครทางช่อง 7 สีที่อวสานไปเมื่อประมาณ 1 ปีครึ่ง ถึง 3 ปีที่แล้ว จะถูกนำมาออกอากาศอีกครั้งในช่วงเวลาตอนบ่ายในวันจันทร์ถึงศุกร์ด้วย ต่อไปนี้เป็นรายชื่อละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตั้งแต..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อละครโทรทัศน์ของดาราวีดีโอ

ละครของดาราวีดีโอ เป็นผลงานละครโทรทัศน์ของ บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด ที่ออกอากาศตั้งแต..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรายชื่อละครโทรทัศน์ของดาราวีดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น

;3 ครั้ง.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา

รางวัลเมขลา ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ รางวัลเมขลา เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2523 จนถึง พ.ศ. 2547 และได้มีการจัดงานขึ้นอีกครั้งหลังจากหายไป 6 ปี โดยจัดขึ้นในปี 2555 เป็นต้นมา ซึ่งถือเป็นการจัดครั้งที่ 24 และพิจารณาผลงานละครประจำปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรางวัลเมขลา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและรางวัลเมขลา สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ละอองดาว (ภาพยนตร์)

ใบปิดเรื่อง ละอองดาว ฉบับปี 2507 ใบปิดเรื่อง ละอองดาว ฉบับปี 2523 ละอองดาว เป็นภาพยนตร์ไทย สร้างจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกันของ พนมเทียน ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2507 โดย สุพรรณ พราหมณ์พันธุ์ กำกับการแสดงโดย ส.อาสนจินดา นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, รุจน์ รณภพ, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, บุษกร สาครรัตน์, กิ่งดาว ดารณี, เยาวเรศ นิศากร ฯลฯ และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2523 โดย อัครเศรณีภาพยนตร์ กำกับโดย พิศาล อัครเศรณี ฉายครั้งแรกวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ที่ โรงภาพยนตร์เอเธนส์ นอกจากนี้ยังเป็นละครโทรทัศน์ถึง 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2519 ทางช่อง 9 นำแสดงโดย พิศาล อัครเศรณี, กนกวรรณ ด่านอุดม ในปี พ.ศ. 2534 ทางช่อง 7 นำแสดงโดย สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์, วรุฒ วรธรรม และทางช่อง 5 ในปี พ.ศ. 2550 นำแสดง พิยดา อัครเศรณี, สหรัถ สังคปรี.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและละอองดาว (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ละอองดาว (ละครโทรทัศน์)

ละอองดาว เป็นละครไทย สร้างจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกันของพนมเทียน สร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519 ออกอากาศทางช่อง 9 นำแสดงโดยพิศาล อัครเศรณี, กนกวรรณ ด่านอุดม และอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา ครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2534 ออกอากาศทางช่อง 7 นำแสดงโดยสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ และวรุฒ วรธรรม และครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2550 ออกอากาศทางช่อง 5 นำแสดงโดยพิยดา อัครเศรณี และสหรัถ สังคปรีชา ครั้งที่สี่ในปี พ.ศ. 2560 ออกอากาศทางช่อง 7 นำแสดงโดยทิสานาฏ ศรศึก และอรรคพันธ์ นะมาตร์ ออกอากาศทุกวัน พุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.15.-22.30 น. นอกจากนี้ยังเป็นภาพยนตร์ไทยถึงสองครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2507 โดยสุพรรณ พราหมณ์พันธุ์ กำกับการแสดงโดยส.อาสนจินดา นำแสดงโดยสมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, รุจน์ รณภพ, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, บุษกร สาครรัตน์, กิ่งดาว ดารณี, เยาวเรศ นิศากร ฯลฯ และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2523 โดยอัครเศรณีภาพยนตร์ กำกับโดยพิศาล อัครเศรณี นำแสดงโดยพิศาล อัครเศรณี, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ ฉายครั้งแรกวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ที่โรงภาพยนตร์เอเธน.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและละอองดาว (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ทอง

สังข์ทอง เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นอุทัยเทวี (2560) หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทละคร หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทยที่ออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2561 หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2561 โครงวรรณกรรม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและสังข์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สายโลหิต

ลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและสายโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

สุดา ชื่นบาน

ื่นบาน เป็นนักร้องทั้งเพลงไทยและสากล ที่มีชื่อเสียงของเมืองไทย มีผลงานยาวนานหลายสิบปี ทั้งในประเทศจนถึงเวทีนานาชาติ ตลอดจนการแสดงทางจอแก้วและจอเงิน เจ้าของเสียงร้องเพลงแก้กับ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ ในอัลบั้มชุด ขุ่นลำโขง,เพลงไตเติ้ลภาพยนตร์โทรทัศน์ชุด หุ่นไล่กา และ เพลงประกอบภาพยนตร์ เพลงสุดท้าย เป็นต้น.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและสุดา ชื่นบาน · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดกุมาร

ี่ยอดกุมาร เป็นละครโทรทัศน์แนวนิทานพื้นบ้าน จากเค้าโครงเรื่องของ จำปาสี่ต้น เป็นเรื่องราวของเด็กสี่คนที่มีอาวุธสี่อย่างประจำตัว คือ ตรี คทา จักร สัง.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและสี่ยอดกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

หลงเงาจันทร์

หลงเงาจันทร์ เป็นละครโทรทัศน์ แนวละครดราม่า-โรแมนติก จากบทประพันธ์ของ สิรภัทร สร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง ช่อง 7 มาแล้ว 2 ครั้ง.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและหลงเงาจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจในสุญญากาศ

หัวใจในสุญญากาศ เป็นนวนิยายของ วนัสนันท์ ถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ออกอากาศเมื่อ พ.ศ. 2544 และอวสานในปีเดียวกัน นำแสดงโดย วีรภาพ สุภาพไพบูลย์, อารยา เอ ฮาร์เก็ต และอีกมากม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและหัวใจในสุญญากาศ · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจเถื่อน

หัวใจเถื่อน เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส เป็นเรื่องราวของครอบครัวพิชิตพงษ์ อดีต รมต.กวี และคุณหญิงอำภา พิชิตพงษ์ มีลูกชายสองคนคือ ภาคย์ และ ภากร แต่ภาคย์กลับไม่ได้รับความรักจากทั้งพ่อและแม่ มีเพียงนมพริ้งและอมาวสีเท่านั้นที่รักภาคย์ อมาวสีสูญเสียพ่อแม่จากอุบัติเหตุ ท่านกวีจึงรับเลี้ยงดูมาตั้งแต่เด็กๆ ภาคย์และอมาสีมีความรักและผูกพันต่อกัน จนวันหนึ่งภาคย์ตัดสินใจหนีออกจากบ้าน ผ่านไปสิบปีไม่มีใครคิดว่าภาคย์ยังมีชีวิตอยู่ จนวันหนึ่ง อมาวสีได้พบกับ ราช รัชภูมิ ชายหนุ่มที่ดูคล้ายภาคย์มาก แต่ทว่าเขากลับปฏิเสธแข็งขัน จนวันที่อมาวสีถูกบังคับให้แต่งงานกับภากรนั่นเอง ราชวางแผนลักพาตัวเธอไปไว้ยังบ้านไร่ ทั้งนี้เพื่อแก้แค้นคนในตระกูลพิชิตพงษ์ หรืออาจเป็นเพราะเค้าไม่อยากสูญเสียอมาวสีให้กับภากร หัวใจเถื่อน ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ ในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและหัวใจเถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

หนุ่มทิพย์

หนุ่มทิพย์ เป็นละครโทรทัศน์ไทย จากบทประพันธ์ ว.วินิจฉัยกุล สร้างเป็นละครโทรทัศน์ทั้ง 2 ครั้ง คือ ในปี พ.ศ. 2530 และ พ.ศ. 2542 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 และสร้างโดยดาราวิดีโอทั้ง 2 ครั้ง.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและหนุ่มทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

อวสานอินทรีแดง

อวสานอินทรีแดง เป็นภาพยนตร์ไทย 16 มม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและอวสานอินทรีแดง · ดูเพิ่มเติม »

อาคม มกรานนท์

อาคม มกรานนท์ (3 กันยายน พ.ศ. 2474 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง อดีตสมาชิกวุฒิสภา มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีโทรทัสน์สีกองทัพบกช่อง 7ในขณะนั้น เป็นผู้ประกาศข่าวทางโทรทัศน์ รุ่นแรก ๆ ของเมืองไทยและเป็นโฆษกประกาศการรัฐประหารในประเทศไทย ถึง 8 ครั้ง.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและอาคม มกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีทอง

อินทรีทอง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและอินทรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

อุทัยเทวี

rอุทัยเทวี เป็นนิทานพื้นบ้านของไทย ทางอีสานเรียกว่า นางพญาขี้คันคาก อุทัยเทวีเป็นนิทานพื้นบ้านเคยทำมาเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้งโดยดาราฟิล์ม และละครโทรทัศน์มาแล้ว 5 ครั้ง ออกอากาศทางช่อง 7 3 ครั้ง ไบรต์ทีวี 1 ครั้ง และล่าสุด ได้นำมาผลิตในรูปแบบแฟนตาซีโดย เพ็ญพุธในนามจันทร์25 ออกอากาศทางช่อง 3 เร็วๆนี้.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและอุทัยเทวี · ดูเพิ่มเติม »

อีสา

อีสา และ รวีช่วงโชติ เป็นนวนิยายชิ้นเอกของ สีฟ้า หรือ หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ ที่บรรจงถ่ายทอดเหตุการณ์ของยุคสมัยช่วงเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านชีวิตความเป็นอยู่ และเหตุการณ์ของบ้านเมืองได้อย่างสมจริง โดยมีฉากชีวิตของอีสานำพาบอกกล่าวเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง นำมาสร้างเป็นละครครั้งแรกทางช่อง 4 บางขุนพรหม ผู้รับบทอีสาคนแรกคือ เมตตา รุ่งรัตน์ ครั้งที่ 2 ในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

จุรี โอศิริ

รี โอศิริ หรือรู้จักโดยทั่วไปว่า “ป้าจุ๊” เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 เป็นนักแสดง นักพากย์ และนักร้อง เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยเป็นนักร้องหน้าม่านสลับละครของคณะผกาวลี และคณะศิวารมย์ ต่อมาแสดงเป็นนางเอกในละครเพลงเรื่อง “นเรศวรมหาราช” และได้เข้าไปเป็นนักร้องประจำวงดุริยางค์ทหารบก วงสุนทราภรณ์ เป็นผู้ประกาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย พากย์ภาพยนตร์ ตลอดจนเป็นนักแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 4 ครั้ง (สาขาผู้พากย์ยอดเยี่ยม 3 รางวัล และผู้แสดงประกอบยอดเยี่ยม 1 รางวัล) และได้รับเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักพากย์และนักแสดง) ประจำปีพุทธศักราช 2541 จุรีเสียชีวิตด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สิริอายุได้ 83 ปี.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและจุรี โอศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและธานินทร์ อินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ แจ่มผล

ทักษิณ แจ่มผล หรือ ทิวา แจ่มผล อดีตดาราทั้งดาวดี ดาวร้ายและผู้กำกับชาวไทย เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและทักษิณ แจ่มผล · ดูเพิ่มเติม »

ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น

ริษัทดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตั้งแต..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

คุณชายตำระเบิด

ณชายตำระเบิด เป็นนวนิยายไทยที่ประพันธ์โดยภาคินัย สร้างเป็นละครโทรทัศน์ ผลิตโดยดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2553 และนำมาออกอากาศซ้ำอีกครั้งช่วงเดือนเมษายน 2555 - มิถุนายน 2555 ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 13.30 น.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและคุณชายตำระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

ฉลอง สิมะเสถียร

ฉลอง สิมะเสถียร นักแสดงชาวไทยผู้ล่วงลับ อดีตพระเอกดาราที่มีชื่อเสียง ในละครเวที หลังสงครามมหาเอเซียบูรพา จนถึงยุคจอแก้วทางไทยทีวี ช่อง 4 บางขุนพรหม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและฉลอง สิมะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา ในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและปลาบู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

แกะกล่องหนังไทย

แกะกล่องหนังไทย (Golden Film; ในอดีตถ้าหากอยู่ในช่วงฉายภาพยนตร์ต่างประเทศจะใช้ชื่อรายการว่า แกะกล่องหนังเทศ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกการฉายหนังต่างประเทศไปแล้ว) เป็นรายการภาพยนตร์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.05 - 23.45 น.ทาง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจุดมุ่งหมายในการนำเอาภาพยนตร์ไทยที่มีคุณค่าทั้งเก่าและใหม่ นำมาเสนอฉายทางโทรทัศน์ โดยไม่หวังผลในการแสวงหากำไร เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทยทั้งเก่าและใหม่ อันเป็นรากเหง้าที่สะท้อนให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการอันวิจิตรของคนรุ่นก่อน เพื่อสืบทอดมายังคนรุ่นปัจจุบัน และอนุรักษ์คุณค่าของภาพยนตร์ไทยสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป แกะกล่องหนังไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรก ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงแรกของรายการแกะกล่องหนังไทยนั้น จะฉายภาพยนตร์ไทยสลับกับภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยในส่วนของภาพยนตร์ต่างประเทศนั้น จะใช้ชื่อรายการว่า "แกะกล่องหนังเทศ" แต่เนื่องจากว่ามีความซ้ำซ้อนกับรายการ บิ๊กซินีม่าของช่อง 7 ที่ฉายหนังต่างประเทศอยู่เช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จึงได้มีการฉายหนังไทยมาอย่างต่อเนื่องโดยไม่กลับไปฉายหนังต่างประเทศอีก รายการแกะกล่องหนังไทยได้ยุติการออกอากาศไปใน..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและแกะกล่องหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่หญิง

ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ยุรนันท์ และ และ สิเรียม ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ศรราม และ วรนุช แม่หญิง เป็นนวนิยายแนวพีเรียดที่เขียนขึ้นโดย วราภา และได้นำมาถ่ายทำเป็น ละครโทรทัศน์ ปัจจุบัน ออกอากาศทาง ช่อง 7 สี ผลิตโดยบริษัท คำพอดี บริษัทในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 - 22.30 น. ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นความรักแบบสามเส้าและความรักต่างชนชั้นระหว่าง ท่านหญิงอุณาโลมเชื้อพระวงศ์ผู้สูงศักดิ์,เอื้ออิศรา ชายหนุ่มนักร้องนักดนตรีซึ่งกำลังมีชื่อเสียงแต่ยากจนและเป็นคนรักของท่านหญิงและพราหมณ์ เจ้าของหนังสือพิมพ์ที่ขายดีที่สุดฉบับหนึ่งในเมืองไทยเป็นเพื่อนสนิทของเอื้อแต่ไม่ถูกชะตากับท่านหญิงตั้งแต่แรกเห็น.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

แม่นาค (ละครโทรทัศน์)

แม่นาค ถูกนำมาสร้างทำเป็นละครโทรทัศน์ถึง 8 ครั้ง (พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2532, พ.ศ. 2537, พ.ศ. 2539, พ.ศ. 2542, พ.ศ. 2543, พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2559).

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและแม่นาค (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

แหวนทองเหลือง

แหวนทองเหลือง เป็นพระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วอีก 4 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและแหวนทองเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

เพชรตัดเพชร

รตัดเพชร เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและเพชรตัดเพชร · ดูเพิ่มเติม »

เกิดแต่ตม

กิดแต่ตม เป็นบทประพันธ์ของ โบตั๋น ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่ายดาราวิดีโอ และกำกับการแสดงโดยมานพ สัมมาบัติ ออกอากาศก่อนข่าว ปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและเกิดแต่ตม · ดูเพิ่มเติม »

เทพสามฤดู

ทพสามฤดู เป็นนิทานพื้นบ้านของไทย ปรากฏเป็นหนังสือครั้งแรก โดยพิมพ์ที่โรงพิมพ์วัดเกาะ ซึ่งนอกจากจะถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ “เทพสามฤดู” ในปี 2530 และ 2546 ซึ่งก่อนหน้านั้น ดาราวิดีโอเคยผลิตภาพยนตร์ที่มีโครงเรื่องเดียวกันภายใต้ชื่อ “ฝนสามฤดู” มาแล้วหนึ่งครั้ง โดยในปี 2517 บริษัท “ดาราฟิล์ม” (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “ดาราวิดีโอ”) ได้ผลิตภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง “ฝนสามฤดู” ซึ่งถ่ายทำด้วยฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: เยาวเรศ นิสากรและเทพสามฤดู · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เยาวเรศ นิศากร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »