โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธานินทร์ อินทรเทพ

ดัชนี ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

27 ความสัมพันธ์: ชั่วฟ้าดินสลายพ.ศ. 2486พยงค์ มุกดาพ่อแห่งแผ่นดินภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชามนัส ปิติสานต์มนต์รักอสูรรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509รายชื่อผลงานของต่าย อรทัยรายนามนักร้องเพลงลูกกรุงละครเร่สมาน กาญจนะผลินสนธิ สมมาตรอาจินต์ ปัญจพรรค์ธานินทร์ อินทรเทพทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4ที่สุดของหัวใจคมพยาบาทประยงค์ ชื่นเย็นเพลงลูกกรุงเพลงหวานใจเมตตาธรรมเยาวเรศ นิสากรเลือดทหารไทยเทียนชัย สมยาประเสริฐเดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 4เป็ดน้อย

ชั่วฟ้าดินสลาย

ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและชั่วฟ้าดินสลาย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พยงค์ มุกดา

นาวาตรีพยงค์ มุกดาพันธ์ หรือ ครูพยงค์ มุกดา (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2469—12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) นักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแต่งเพลงเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและพยงค์ มุกดา · ดูเพิ่มเติม »

พ่อแห่งแผ่นดิน

อแห่งแผ่นดิน เป็นชื่อของเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ขับร้องโดยศิลปินกว่า 81 คน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและพ่อแห่งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา

ลงภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา เป็นเพลงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ พ.ศ. 2542 ขับร้องโดยศิลปินจำนวน 72 คน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา · ดูเพิ่มเติม »

มนัส ปิติสานต์

มนัส ปิติสานต์ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียง เกิดที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายมูล และนางจำเริญ ปิติสานต์ บิดารับราชการจึงติดตามบิดามาเรียนหนังสือที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ แล้วย้ายมาเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนเนติศึกษา ย่านราชวัตร จนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ย้ายไปเรียนที่กองดุริยางค์ทหารอากาศ เป็นลูกศิษย์ของพระเจนดุริยางค์ รุ่นเดียวกับสง่า อารัมภีร ปรีชา เมตไตรย์ และชลหมู่ ชลานุเคราะห์ และเข้ารับราชการ เป็นนักดนตรีของกองดุริยางค์ทหารอากาศ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและมนัส ปิติสานต์ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักอสูร

มนต์รักอสูร เป็นนวนิยายเรื่องแรกในนามของ วรรณนิศา เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี 2497 และ 2521 และได้รับการสร้างเป็นละครครั้งแรกทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ต่อมา สร้างทางช่อง 3 มาแล้วสองครั้งฉายในปี 2532 และ 2547.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและมนต์รักอสูร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของต่าย อรทัย

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของต่าย อรทัย สำหรับบทความหลักดูที่ ต่าย อรทัย บทความนี้รวบรวมผลงานของต่าย อรทัย นักร้อง นักแสดง ชาวไทย สังกัดแกรมมี่ โกลด์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและรายชื่อผลงานของต่าย อรทัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักร้องเพลงลูกกรุง

รายชื่อนักร้องเพลงลูกกรุง เจษฏา สอนมั่งมี.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและรายนามนักร้องเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ละครเร่

ละครเร่ ภาพยนตร์ไทยประกอบเพลง แนวดราม่า ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอิสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ บทพระนิพนธ์และกำกับโดย ภาณุพันธ์ หรือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล บทภาพยนตร์โดย เวตาล ฉายที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและละครเร่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาน กาญจนะผลิน

มาน กาญจนะผลิน (10 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2538) นักดนตรีและนักแต่งทำนองเพลงลูกกรุง /ไทยสากลเด่นๆ จำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและสมาน กาญจนะผลิน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ สมมาตร

– สนธิ สมมาตรเป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชายจากดินแดนที่ราบสูงที่ร้องเพลงที่ใช้เสียงสูงได้ดี ถนัดร้องเพลงช้าในแนวหวาน โดยเพลงต้นฉบับที่เขาร้อง เกือบทั้งหมดจะเป็นเพลงในแนวนี้ทั้งนั้น จนหลายคนเรียกเขาว่าทูล ทองใจของชาวอีสาน เขามีผลงานเพลงดังมากมาย และเพลงของเขาก็เป็นสาเหตุส่วนหนึ่งที่ทำให้ สุริยา ชินพันธุ์ ดาราหนุ่มชื่อดัง หน้าตาหล่อเหลาในยุคนั้น ผันตัวมาเป็นนักร้องลูกทุ่งอย่างจริงจัง ซึ่งเป็นการเปิดศักราชให้ดาราดังในยุคนั้นหันมาจับงานร้องเพลงลูกทุ่งกันเป็นแถว ผลงานเพลงดังของสนธิ สมมาตรก็อย่างเช่น “ ลูกทุ่งคนยาก”,“ออกพรรษาที่เชียงคาน” และ” ด่วน.”.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและสนธิ สมมาตร · ดูเพิ่มเติม »

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและอาจินต์ ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและธานินทร์ อินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 จัดระหว่างวันที่ 18 มิถุนายน - 8 กันยายน พ.ศ. 2550 ฤดูกาลนี้สร้างความประหลาดใจด้วยการเริ่มต้นการแข่งขันด้วยจำนวนนักล่าฝันมากที่สุดถึง 20 คน ซึ่งจะโหวตคัดเลือกผู้ที่มีคะแนนสูงสุด 12 คนให้อยู่ต่อในสัปดาห์ถัดไป และฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่เปลี่ยนแปลงการออกอากาศคอนเสิร์ตสดจากช่อง True Inside เป็นช่อง True Music ในทุกวันเสาร์ เวลา 21.00 น. - 23.30 น. และออกอากาศสดพร้อมกับโมเดิร์นไนน์ ทีวี และสดผ่านเสียงทางคลื่นวิทยุ True Music Radio FM 93.5 เมกะเฮิตรซ์(สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย) และนอกจากนั้นแล้วยังมีการจัดสัปดาห์พิเศษเพื่อเป็นคอนเสิร์ตการกุศลตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน - 15 กันยายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดของหัวใจ

ที่สุดของหัวใจ เป็นอีก 1 เพลงดังจากอัลบั้มของขวัญซึ่งเพลงนี้พี่แจ้แต่งคำร้องและทำนองรวมถึงเล่นมิวสิกวิดีโอเพลงนี้เองด้วยเมื่อเพลงนี้ได้เปิดตามคลื่นวิทยุก็ได้รับความนิยมอย่างมากจนในเวลาต่อมาก็มีนักร้องชื่อดังนำเพลงนี้ไปร้องใหม่อีกหลายครั้งเช่น วงเรนโบว์,ธานินทร์ อินทรเทพ,อรรถพล ประกอบของ ฯลฯ หมวดหมู่:ซิงเกิลในปี พ.ศ. 2529.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและที่สุดของหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

คมพยาบาท

มพยาบาท เป็นบทประพันธ์ของสุข หฤทัย (เทพ สุทธิพงศ์) เป็นเรื่องราวเปียและน้อย สองสาวที่ถูกเปลี่ยนตัวในตอนเด็ก เหตุเพราะความอิจฉาริษยาของผู้ใหญ่ ลูกคนจนกลายไปเป็นคนรวย ส่วนลูกคนรวยกลายกลับต้องมาเป็นลูกคนจน เริ่มแรกบทประพันธ์เป็นละครวิทยุ ของ คณะกมลพิศมัย ทาง ท.ท.ท. แสดงโดย สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ และ อารีย์ นักดนตรี ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและคมพยาบาท · ดูเพิ่มเติม »

ประยงค์ ชื่นเย็น

ประยงค์ ชื่นเย็น เป็นนักเรียบเรียงเสียงประสานเพลงลูกทุ่งชื่อดัง ที่อยู่ในวงการมานานหลายสิบปี โดยมีผลงานการเรียบเรียงเพลงไว้มากมาย และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี พ.ศ. 2552 ประยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดพระตะบอง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนการช่างบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ (ปัจจุบันคือวิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์) เข้าสู่วงการเพลงโดยเป็นนักดนตรีตำแหน่งทรัมเป็ต ของวงรวมดาวกระจาย ต่อมาจึงอยู่กับวงดนตรีสุรพัฒน์ ของชลธี ธารทอง วงดนตรีของผ่องศรี วรนุช และ เพลิน พรหมแดน ตามลำดับ ประยงค์เริ่มทำงานด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในปี พ.ศ. 2516 โดยเป็นผู้เรียบเรียงเพลงทุกรูปแบบ และควบคุมการบรรเลงเพลงให้กับวงดนตรีไทยลูกทุ่งและไทยสากล ผลงานบันทึกเสียงเพลงแรกในฐานะผู้เรียบเรียงเสียงประสาน คือเพลง ทนหนาวอีกปี ขับร้องโดย เด่น บุรีรัมย์ ต่อมาได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงมากมายนับพันเพลง บทเพลงที่สร้างชื่อเสียงได้แก่ เพลง จดหมายจากแนวหน้า ทหารเรือมาแล้ว อเวจีใจ ล่องเรือหารัก ของยอดรัก สลักใจ เพลง หนุ่มนารอนาง ของ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ เพลง อกหักซ้ำสอง ของสายัณห์ สัญญา เพลง เทพธิดาผ้าซิ่น ของเสรี รุ่งสว่าง เพลง อีสาวทรานซิสเตอร์ ของอ้อยทิพย์ ปัญญาธรณ์ เพลง ท้ารัก ของบุษบา อธิษฐาน เพลง รักจริงให้ติงนัง ของรุ่ง สุริยา เพลง ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก ของธานินทร์ อินทรเทพ เพลง ส่วนเกิน ของดาวใจ ไพจิตร รวมถึงเพลงของพุ่มพวง ดวงจันทร์ เช่น หัวใจถวายวัด ผู้ชายในฝัน ห่างหน่อยถอยนิด เป็นต้น อีกทั้งยังได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพลงที่รู้จักกันดีคือ เพลงส้มตำ ฉบับที่ขับร้องโดย พุ่มพวง ดวงจันทร์ และ สุนารี ราชสีมา ประยงค์ ชื่นเย็น ยังเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการเพลงลูกทุ่ง โดยการประสมประสานระหว่างดนตรีพื้นบ้านของไทยกับดนตรีตะวันตก ได้เริ่มนำเครื่องดนตรีไทยหลายชนิดมาบรรเลงผสมกับเครื่องดนตรีสากล จนเป็นเอกลักษณ์ของเพลงลูกทุ่ง ประยงค์ได้รับรางวัลเกียรติยศมากมาย เช่น รางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน จากการเรียบเรียงเสียงประสานเพลง แม่ยก อาลัยนักรบ และหนุ่มนารอนาง รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ประเภทเพลงไทยลูกทุ่ง จากเพลง อีสาวทรานซิสเตอร์ ข้อยเว้าแม่นบ่ รางวัลนักรบ ประเภทเพลงไทยสากล จากเพลง ปั้นดินให้เป็นดาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นวิทยากร และอาจารย์พิเศษสอนดนตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และยังเป็นกรรมการตัดสินทางด้านดนตรีและขับร้องรายการต่างๆ โดยยังคงมีผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2552 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีไทยลูกทุ่ง-ผู้เรียบเรียงเสียงประสาน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและประยงค์ ชื่นเย็น · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงหวานใจ

ลงหวานใจ เป็นภาพยนตร์ไทยพูด (ในฟิล์ม) ชั้นพิเศษ "ซูเปอร์" เรื่องแรกในนาม บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง จำกัด ฉายครั้งแรก..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเพลงหวานใจ · ดูเพิ่มเติม »

เมตตาธรรม

มตตาธรรม เป็นเพลงไทยเพื่อการกุศลที่เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2528 แต่งคำร้องและทำนองโดย ชลธี ธารทอง เรียบเรียงเสียงประสานโดย ประยงค์ ชื่นเย็น โดยรวบรวมศิลปินนักร้องจากทุกค่ายทุกแนวเพลงกว่าร้อยชีวิตมาร่วมกันร้องเพลง เพื่อหารายได้สมทบ "กองทุนเพื่อเด็กไทย" โดยเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย สมาคมนักแต่งเพลงแห่งประเทศไทย และ สมาคมพ่อค้าเทป-แผ่นเสียงไท.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเมตตาธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเยาวเรศ นิสากร · ดูเพิ่มเติม »

เลือดทหารไทย

ลือดทหารไทย เป็นภาพยนตร์พูด (ในฟิล์ม) ของไทยแนวชีวิตและสงคราม ชั้นพิเศษ "ซูเปอร์" เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพไทย ระบบ 35 มม.ไวด์สกรีน ซาวออนฟิล์ม ขาวดำ..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเลือดทหารไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทียนชัย สมยาประเสริฐ

ทียนชัย สมยาประเสริฐ (หรือบางทีก็มักเขียนว่า สมญาประเสริฐ) เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง นักแต่งเพลง โฆษกประจำวิก หัวหน้าวงดนตรี เจ้าของคณะรำวง นักมวย และโด่งดังมากๆ กับบทบาทนักจัดรายการ เทียนชัยเป็นนักจัดรายการวิทยุคนแรกที่เปิดเพลงดาวลูกไก่ เรียกได้ว่า พร ภิรมย์ ร้องแผ่นยังอุ่นๆ จากห้องอัดก็นำมาเปิดเลย แล้วยังบอกคนฟังให้รอดาวลูกไก่ ตอน 2 เพราะกำลังอัดอยู่ หลังอัดเสร็จก็รีบนำมาเปิดต่อทันที ส่งผลให้เพลงดาวลูกไก่ ดังตั้งแต่วันแรกที่เป.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเทียนชัย สมยาประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 4

อะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 4 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ประกวดร้องเพลงโดยทรู มิวสิก ผลิตรายการโดยบริษัท ใจอั้น ที่ซื้อลิขสิทธิ์รูปแบบรายการมาจากบริษัท ทาลพา ของเนเธอร์แลนด์ เจ้าของรายการเดอะวอยซ์ (The Voice) และเดอะวอยซ์ออฟฮอลแลนด์ (The Voice of Holland) โดยใช้โค้ชร้องเพลงและผู้คัดเลือกผู้เข้าประกวด 4 คน คือ เจนนิเฟอร์ คิ้ม สหรัถ สังคปรีชา โจอี้ บอย สิงโต นำโชค โดยรูปแบบของเวทีในทุกๆ รอบในฤดูกาลนี้ใช้แม่แบบจาก The Voice สหรัฐอเมริกา ฤดูกาลที่ 7.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดน้อย

ป็ดน้อย เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2511 แนวรักชวนหัว เสียดสีสังคมชนชั้น ประกอบเพลง ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอีสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ เรื่องและบทภาพยนตร์โดย เวตาล กำกับโดย ภาณุพันธุ์ (ทั้งสองชื่อเป็นพระนามแฝงของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล) ฉายที่ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเป็ดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ธานินทร์ อินทรแจ้ง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »