โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หินแกรนิต

ดัชนี หินแกรนิต

ระยะใกล้ของหินแกรนิตจากอุทยานแห่งชาติหุบเขาโยเซไมต์ แม่น้ำเมอร์ซ เหมืองหินแกรนิตสำหรับวัดมอร์มอน รัฐอูทาห์ พื้นผิวดินกระจัดกระจายไปด้วยก้อนหินขนาดใหญ่และเศษของหินแกรนิตที่หลุดล่วงลงมา ซึ่งหลุดหล่นลงมาจากผนังของหน้าผา Little Cottonwood Canyon เหมืองประกอบไปด้วยบล็อกที่แตกย่อยออกไป หินแกรนิต (granite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน สีจางพบได้ทั่วไปเป็นปรกติ แกรนิตมีเนื้อขนาดปานกลางถึงเนื้อหยาบ บางครั้งจะพบผลึกเดี่ยวๆบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่ามวลเนื้อพื้น (groundmass) เกิดเป็นหินที่รู้จักกันในนามของพอร์พายรี (porphyry) แกรนิตอาจมีสีชมพูจนถึงสีเทาเข้มหรือแม้แต่สีดำขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีและองค์ประกอบทางแร่ หินโผล่ของหินแกรนิตมีแนวโน้มจะเกิดเป็นมวลหินโผล่ขึ้นมาเป็นผิวโค้งมน บางทีหินแกรนิตก็เกิดเป็นหลุมยุบรูปวงกลมที่รายล้อมไปด้วยแนวเทือกเขาเกิดเป็นแนวการแปรสภาพแบบสัมผัสหรือฮอร์นเฟลส์ แกรนิตมีเนื้อแน่นเสมอ (ปราศจากโครงสร้างภายใน) แข็ง แรงทนทาน ดังนั้นจึงถูกนำไปใช้เป็นหินก่อสร้างกันอย่างกว้างขวาง ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของหินแกรนิตคือ 2.75 กรัม/ซม3 และค่าความหนืดที่อุณหภูมิและความกดดันมาตรฐานคือ ~4.5 • 1019 Pa•s.

63 ความสัมพันธ์: ช็อมซ็องแดพระพุทธเมตตาพีระมิดคูฟูการทำเหมืองแร่ภาคใต้ (ประเทศไทย)ภูเขาซานชิงภูเขาโทรเกโฮเทนมวลเขาสูงไอร์มง-แซ็ง-มีแชลระบบลำธารรัฐนิวแฮมป์เชียร์วัสดุก่อศาลาว่าการเมืองฟิลาเดลเฟียศิลปะอียิปต์โบราณหัวแหลมผาชันหินสปลิทแอปเปิลหินอัคนีหินไซอัลอัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันอัตลาเนอร์ซาอาสนวิหารวานอุทยานแห่งชาติออบหลวงอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาวอนุสาวรีย์วอชิงตันอนุสาวรีย์แพะห้าตัวธรณีเคมีถู่โหลทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยทิวเขารูเวนโซรีทิวเขาหลวงพระบางทิวเขาผีปันน้ำทิวเขาถนนธงชัยดอยอ้อยช้างครกคอคอดคอรินท์ตะกอนตำบลอ่างศิลา (จังหวัดชลบุรี)ซาโมเทรซซิลิคอนประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศซูดานประเทศเกาหลีประเทศเกาหลีเหนือปราสาทเอโดะน้ำตกทรายขาวแร่กลีบหินขาวแหล่งแร่หาดส้มแป้นแอเบอร์ดีนโกร่งบดยาโลก (ดาวเคราะห์)...โอลิวีนเบริลเฟลด์สปาร์เพกมาไทต์เรดอนเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติเห็ดเผาะเขาหวงเดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธเควี 62เคอร์ลิงKola Superdeep BoreholeNepenthes rajah ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

ช็อมซ็องแด

็อมซ็องแด เป็นหอดูดาวเก่าแก่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในทวีปเอเชีย ปัจจุบันอยู่ในเมืองคย็องจู ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: หินแกรนิตและช็อมซ็องแด · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเมตตา

พระพุทธเมตตา พระพุทธเมตตา เป็นพระพุทธรูปในวัดพระมหาโพธิ ใกล้กับต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่ตรัสรู้ของพระโคตมพุทธเจ้า ในตำบลพุทธคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดียในปัจจุบัน (หรือแคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล) พระพุทธเมตตาองค์นี้เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยปาละ และสร้างในสมัยนั้นด้วยหินแกรนิตสีดำ มีอายุกว่า 1,400 ปี​ แต่ไม่ปรากฏว่าสร้างเมื่อใด หมวดหมู่:พระพุทธรูป.

ใหม่!!: หินแกรนิตและพระพุทธเมตตา · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดคูฟู

ีระมิดคูฟู พีระมิดแห่งกีซา ในสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 19 พีระมิดคูฟูหรือ พีระมิดคีออปส์ นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า มหาพีระมิดแห่งกีซา (The Great Pyramid of Giza) เป็น พีระมิดในประเทศอียิปต์ที่มีความใหญ่โตและเก่าแก่ที่สุด ในหมู่พีระมิดทั้งสามแห่งกีซา เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในสมัย ฟาโรห์คูฟู (Khufu) แห่ง ราชวงศ์ที่ 4 ซึ่งปกครองอียิปต์โบราณ เมื่อประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล หรือกว่า 4,600 ปีมาแล้ว เพื่อใช้เป็นที่เก็บรักษาพระศพ ไว้รอการกลับคืนชีพ ตามความเชื่อของชาวอียิปต์ในยุคนั้น มหาพีระมิดนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และเป็นหนึ่งเดียว ในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณ ที่ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและพีระมิดคูฟู · ดูเพิ่มเติม »

การทำเหมืองแร่

หมืองทองแดงเอลชิโน ตัวอย่างเหมืองเปิดในสหรัฐอเมริกา การทำเหมืองแร่ คือการสกัดเอาแร่ที่มีค่า หรือ วัสดุทางธรณีวิทยาอื่นๆ จากใต้ผืนแผ่นดิน ปกติขุดที่ตัวแหล่งแร่หรือสายแร่ที่อยู่ใต้ดิน วัสดุทั่วไปที่สกัดได้ แร่โลหะ ได้แก่ บอกไซต์ (สำหรับหลอมเป็นอะลูมิเนียม) ทองแดง เหล็ก ทองคำ ตะกั่ว แมงกานีส แมกนิเซียม นิเกิล ฟอสเฟต แพลทินัม เงิน ดีบุก ไททาเนียม ยูเรเนียม สังกะสี แร่อโลหะ เช่น เกลือหิน ถ่านหินและ แร่รัตนชาติ เช่น เพชร พลอย วัสดุมีค่าอื่นๆ ที่มีการทำเหมืองเช่นกันได้แก่ ดินเหนียว ดินขาว ทราย กรวด หินแกรนิต หินปูนและหินอ่อน วัสดุอื่นใดที่ไม่สามารถผลิตจากพืชจะมากจากการทำเหมือง การทำเหมืองในความหมายที่กว้าง รวมถึงการขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ หรือแม้แต่น้ำบาดาล อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำที่สำคัญของประเทศไทย เพราะหากเราไม่มีการนำทรัพยากรในประเทศมาใช้ประโยชน์ จะต้องมีการนำเข้าแร่จากต่างประเทศซึ่งจะทำให้เกิดการเสียดดุลด้านการค้า และการนำเข้าแร่โดยทั่วไปจะแร่ที่นำเข้าจะมีราคาที่สูงกว่าแร่ที่ผลิตได้ในประเทศ ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นเมื่อนำไปทำผลิตภัณฑ์นั่นหมายถึงราคาสินค้าย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย หากมีการทำเหมืองแร่ในประเทศ เพื่อผลิตแร่ที่สำคัญมาใช้ประโยชน์จะเป็นการทำให้ประเทศไทยมีความมั่นคงด้านวัตถุดิบสำหรับภาคอุตสาหกรรม และหากมีการส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่องในการนำทรัพยากรแร่มาใช้ในการผลิตอย่างครบวงจร ก็จะเป็นการสร้างงาน และสร้างมูลค่าเพิ่มมหาศาลกว่าการนำแร่ดิบขายเป็นสินค้าส่งออก ซึ่งเป็นสิ่งที่ภาครัฐควรให้การสนับสนุนให้เกิดขึ้น การทำเหมืองแร่ เป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเรื่องการทำลายสิ่งแวดล้อม การทำเหมืองแร่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ๆ มีการทำเหมืองแร่ แต่การทำเหมืองแร่ไม่ได้เป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม ทำลายทัศนียภาพอันสวยงาม หากผู้ทำเหมืองปฏิบัติตามหลักวิชาการ ซึ่งการทำหมืองแร่ตามหลักวิชาการ จะคำนึงถึงความคุ้มค่าในการใช้ประโยชน์แร่ ทั้งในด้านสังคมเศรษฐกิจ และการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยเหมืองแร่ทุกประเภทและทุกขนาดต้องมีการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อนได้รับอนุญาตให้ดำเนินการ นอกจากนี้ เหมืองแร่จะเกิดไม่ได้เลยหากไม่ได้รับการยอมรับของสังคม หรือชุมชนที่มีเหมืองแร่อยู่บริเวณใกล้เคียง เหมืองแร่ในอดีตมักก่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุนทรียภาพ ซึ่งพบเห็นได้ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดจิตสำนึก ขาดความรู้ ขาดกฎหมายควบคุม และเหมืองในอดีตอยู่ห่างไกลเมืองมาก แต่ปัจจุบันเรามีกฎหมายควบคุม มีหน่วยงานรับผิดชอบ ซึ่งกำหนดให้ผู้รับสัมปทานต้องดูแลป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมือง และทำการฟื้นฟูสภาพ (Reclamation) ซึ่งปกติมีงานภูมิสถาปัตยกรรมเป็นส่วนสำคัญ หากจะเป็นปัญหาปัจจุบัน ส่วนหนึ่งอาจเป็นเรื่องจิตสำนึก การลักลอบทำเหมืองผิดกฎหมาย การสอดส่องดูแลของเจ้าหน้าที่ๆอาจไม่ทั่วถึง การบังคับใช้กฎหมาย เป็นต้น ตัวอย่างที่ดีของการทำเหมืองแร่ในประเทศไทยได้แก่เหมืองแม่เมาะ ที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยทั่วไปเราจำแนกการทำเหมืองแร่ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ.

ใหม่!!: หินแกรนิตและการทำเหมืองแร่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: หินแกรนิตและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาซานชิง

อุทยานแห่งชาติภูเขาซานชิง (ซานชิงชานกั๋วเจียกงยฺเหวียน) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลเจียงซี ประเทศจีน งดงามด้วยภูมิทัศน์เสาหินแกรนิต (89 เสา) และยอดเขา (48 ยอด) ที่มีรูปร่างประหลาด ยอดเขาสูงสุดคือยอดเขาหยู่จิง (玉京) สูง 1,817 เมตร.

ใหม่!!: หินแกรนิตและภูเขาซานชิง · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาโทรเกโฮเทน

ูเขาโทรเกโฮเทน (Torghatten) เป็นภูเขาหินแกรนิตบนเกาะทอร์เก็ตในเบรนเนอี เทศมณฑลนอร์ลันด์ ประเทศนอร์เวย์ ภูเขานี้มีลักษณะเด่นคือรูหรืออุโมงค์ธรรมชาติบริเวณกลางเขาและสามารถเดินเข้าไปอุโมงค์ตามเส้นทางที่จัดเตรียมไวให้ได้ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: หินแกรนิตและภูเขาโทรเกโฮเทน · ดูเพิ่มเติม »

มวลเขาสูงไอร์

มวลเขาสูงไอร์ หรือมวลเขาสูงแอร์ (Aïr Mountains) เป็นกระจุกภูเขาสูง ตั้งในเขตเตเนเร ประเทศไนเจอร์ และเป็นส่วนหนึ่งของทะเลทรายสะฮารา (หรือ เศาะหะรออ์) มีความสูงเฉลี่ย 500 — 900 เมตร และเป็นพื้นที่ที่มีฝนตกมากกว่าทะเลทรายโดยรอบ ทำให้มีสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัย โดยนับได้ถึง 430 ชนิด มีสิ่งมีชีวิตแบบซาเฮล สะฮารา และสิ่งมีชีวิตแบบเมดิเตอร์เรเนียน จากการสำรวจในศตวรรษที่ 20พบว่ามีไม้หนามสปีชีส์ ''Acacia tortilis'' subsp. ''raddiana'' และพืชสปีชีส์ Balanites aegyptiaca ขึ้นระหว่างภูเขา พืชชนิดอื่นพบได้ยากเพราะบริเวณดังกล่าวแห้งแล้งมาก ส่วนบริเวณแม่น้ำชั่วคราว (วาดีย์) ประกอบด้วยพืชจำพวก Acacia nilotica, Faidherbia albida, Hyphaene thebaica ขึ้นร่วมอยู่กับอินทผลัม มวลเขามีอายุตั้งแต่บรมยุคพรีแคมเบรียนถึงมหายุคซีโนโซอิก ประกอบด้วยหินเพอร์แอลคาไลน์ และหินแกรนิต ซึ่งมีสีดำตัดกับหินแกรนิตสีอ่อน ในบรรดาภูเขาที่ประกอบเป็นกระจุกภูเขาไอร์นี้ มีภูเขาอิดูกัล-น์-ตาแกซ (ความสูง 2022 เมตร) ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของประเทศไนเจอร์ ภูเขาตัมกัก (Tamgak) (1988 เมตร) ภูเขาเกรอบูน (1944 เมตร) และภูเขาอื่น ๆ อีก มวลเขาทั้งหมดโผล่ขึ้นกลางที่ราบสูง.

ใหม่!!: หินแกรนิตและมวลเขาสูงไอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มง-แซ็ง-มีแชล

มง-แซ็ง-มีแชล (Mont-Saint-Michel) คือวิหารที่ตั้งอยู่บนเกาะโดดเดี่ยวกลางทะเลชายฝั่งตะวันตก บริเวณจังหวัดม็องช์ แคว้นบัส-นอร์ม็องดีของประเทศฝรั่งเศส ได้รับประกาศจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและมง-แซ็ง-มีแชล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบลำธาร

ระบบลำธาร หรือ drainage system หรือ drainage pattern เป็นลักษณะของทิศทางการไหลของธารน้ำ แม้ว่าสาขาแม่น้ำทั้งหลายจะไหลไปทางเดียวกัน แต่รูปร่างหรือรูปแบบแม่น้ำ มักมีลักษณะณะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากชนิดหิน (lithology) ลักษณะโครงสร้างหิน (rock structure) และความลาดชันที่แตกต่างกันก็ได้ ระบบธารน้ำที่พบเห็นบ่อย ๆ ได้แก.

ใหม่!!: หินแกรนิตและระบบลำธาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวแฮมป์เชียร์

รัฐนิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของรัฐชื่อ คองคอร์ด เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ แมนเชสเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐแกรนิต" เนื่องจากมีชั้นหินแกรนิตเป็นจำนวนมาก การท่องเที่ยวในนิวแฮมป์เชียร์ที่สำคัญได้แก่สกีในหน้าหนาว และการปีนเขาในหน้าร้อน รัฐนิวแฮมป์เชียร์เป็นที่ตั้งของ สนามแข่งรถนานาชาตินิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire International Speedway) สนามแข่งรถที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ในการแข่งขันรถ ลาวดอนคลาสสิก ในปี 2550 นิวแฮมป์เชียร์มีประชากร 1,315,828 คน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและรัฐนิวแฮมป์เชียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัสดุก่อ

วัสดุก่อ หมายถึง โครงสร้างของอาคารที่สร้างขึ้นจากการวางวัสดุแต่ละชิ้นและผสานกันโดยใช้มอร์ตาร์ วัสดุก่อที่พบได้ทั่วไปได้แก่ อิฐ หิน หินปูน หินอ่อน แกรนิต บล็อกคอนกรีต วัสดุก่อเป็นรูปแบบก่อสร้างที่พบกันมาตั้งแต่สมัยอดีต มาตรฐานของวัสดุก่อเช่น อิฐ หิน ในประเทศไทยใช้ มอก. 77 ขณะที่ในระบบนานาชาติที่ใช้จะสอดคล้องกับมาตรฐาน 2003 IBC ในเนื้อหาส่วนที่ 2103.

ใหม่!!: หินแกรนิตและวัสดุก่อ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาว่าการเมืองฟิลาเดลเฟีย

ลาว่าการเมืองฟิลาเดลเฟีย คือ อาคารที่ทำการของเมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา มีความสูง 548 ฟุต (167 เมตร) รวมถึงประติมากรรมของผู้ก่อตั้งเมืองวิลเลียม เพนส์ (William Penn) อยู่บนยอดอาคาร นับเป็นอาคารก่อสร้างด้วยอิฐที่สูงที่สุดในโลกหลังจากการพังทลายของยอดโมล แอนโทเนลเลียนา (Mole Antonelliana) ในเมืองตูริน อิตาลี เป็นผลให้มีการก่อสร้างใหม่ทำด้วยเหล็กและหิน น้ำหนักของอาคารจึงมีความทนทานจากหินแกรนิตและกำแพงอิฐ วัสดุภายนอกหลักคือ หินปูน หินแกรนิต และหินอ่อน อาคารแห่งนี้เป็นอาคารที่อาศัยอยู่ได้ที่สูงที่สุดในโลก ตั้งแต..

ใหม่!!: หินแกรนิตและศาลาว่าการเมืองฟิลาเดลเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะอียิปต์โบราณ

'''งานจิตรกรรมของอียิปต์''' ศิลปะอียิปต์ อยู่ในช่วงเวลา 3,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศักราชที่ 1000 (2650 ปีก่อน พ.ศ. - พ.ศ. 510) ชาวอียิปต์มีศาสนาและพิธีกรรมอันซับซ้อน แทรกซึมอยู่เป็นวัฒนธรรมอยู่ในสังคมเป็นเวลานาน มีการนับถือเทพเจ้าที่มีลักษณะอันหลากหลาย ดังนั้น งานจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมส่วนมากจึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนา พิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีฝังศพ ซึ่งมีความเชื่อว่าเมื่อตายแล้วจะยังมีชีวิตอยู่ในโลกใหม่ได้อีก จึงมีการรักษาศพไว้อย่างดี และนำสิ่งของเครื่องใช้ที่มีค่าของผู้ตายบรรจุตามลงไปด้ว.

ใหม่!!: หินแกรนิตและศิลปะอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

หัวแหลมผาชัน

หัวแหลมผาชัน (headland หรือ head) เป็นธรณีสัณฐานชายฝั่ง เป็นจุดแผ่นดินที่ปกติและมักมีระยะตกชนซึ่งยื่นออกไปในแหล่งน้ำ หัวแหลมผาชันที่มีขนาดใหญ่พอสมควรมักเรียก แหลม (cape) หัวแหลมผาชันและอ่าวมักตั้งอยู่บนแนวชายฝั่งเดียวกัน อ่าวมีแผ่นดินขนาบสามด้าน ส่วนหัวแหลมผาชันมีน้ำขนาบอยู่สามด้าน หัวแหลมผาชันและอ่าวเกิดบนแนวชายฝั่งไม่ร่วมแนว โดยที่แถบหินที่มีความต้านทานต่าง ๆ วิ่งตั้งฉากกับชายฝั่ง อ่าวเกิดในที่ที่มีการกร่อนของหินอ่อนแอ (ความต้านทานน้อย) เช่น ทรายและดินเหนียว เหลือแนวหินที่แข็งแรง (ความต้านทานสูงกว่า) เช่น หินชอล์ก หินปูน แกรนิต เกิดเป็นหัวแหลมผาชันหรือคาบสมุทร.

ใหม่!!: หินแกรนิตและหัวแหลมผาชัน · ดูเพิ่มเติม »

หินสปลิทแอปเปิล

หินสปลิทแอปเปิล หินสปลิทแอปเปิล (Split Apple Rock) เป็นรูปแบบของหินทางธรณีวิทยาในอ่าวแทสมันนอกชายฝั่งทางตอนเหนือของเกาะใต้ของนิวซีแลนด์ หินก้อนนี้เป็นหินแกรนิตมีรูปร่างเหมือแอปเปิ้ลผ่าครึ่ง ตั้งในอุทยานแห่งชาติอาเบลแทสมันห่างจากชายฝั่งประมาณ 50 เมตรระหว่างเมืองแมราฮัวกับเมืองไคร์เทอริเทอและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในอ่าวแทสมัน คาดกันว่ามันเกิดจากการแยกออกโดยน้ำแข็ง รอยแยกของหินก้อนนี้เป็นปรากฎการที่เกิดเองตามธรรมชาติและด้วยความที่ว่าไม่รู้ว่ามันเกิดจากอะไรและเมื่อใดดังนั้นรอยแตกนี้จึงใช้ตำนานในการอธิบาย Apple Rock เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในช้วง..

ใหม่!!: หินแกรนิตและหินสปลิทแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

หินอัคนี

หินอัคนี (igneous; มาจากภาษาละติน ignis แปลว่า ไฟ) คือหนึ่งในหิน 3 ประเภทหลัก อีก 2 ประเภทได้แก่ หินตะกอน (sedimentary rock) และหินแปร (metamorphic rock) หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหนืด (magma) หรือหินหลอมเหลว (lava) หินอัคนีสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักได้แก่ หินอัคนีพุ (volcanic rock)และหินอัคนีแทรกซอน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและหินอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

หินไซอัล

หินไซอัล (อังกฤษ: sial) คือหินพวกแกรนิตของเปลือกโลก ประกอบด้วยซิลิกาและอะลูมินา ซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบด้วยหินแกรนิต หมวดหมู่:โครงสร้างของโลก หมวดหมู่:หิน มีความหนาประมาณ 35-70 กิโลเมตร.

ใหม่!!: หินแกรนิตและหินไซอัล · ดูเพิ่มเติม »

อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน

อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน ในพระสันตะปาปา (Arcibasilica Papale di San Giovanni in Laterano) หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน (Basilica di San Giovanni in Laterano) หรือเรียกอย่างสั้นว่า มหาวิหารลาเตรัน เป็นมหาวิหารเอกในกรุงโรมและเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งกรุงโรม นับเป็นมหาวิหารที่เก่าแก่ที่สุดและมีตำแหน่งสูงสุดในบรรดามหาวิหารเอกทั้งสี่แห่งในกรุงโรม และมีสถานะเป็นโบสถ์แม่ของโบสถ์ทั้งปวงในคริสตจักรโรมันคาทอลิก อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน เป็นมหาวิหารที่เก่าแก่มากที่สุดและมีความอาวุโสสูงสุดในบรรดามหาวิหารเอกทั้งสี่ในพระสันตะปาปาซึ่งทั้งหมดตั้งอยู่ในโรม มีลำดับศักดิ์อยู่เหนือแม้กระทั่งมหาวิหารนักบุญเปโตร และเป็นเพียงอาสนวิหารเพียงแห่งเดียวในโลกที่มีฐานะเป็น อัครมหาวิหาร และเนื่องจากเป็นอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุด จึงได้รับการยกย่องให้เป็นอาสนวิหารแม่ของศาสนจักรโรมันคาทอลิก หัวหน้าพระคนบัจจุบันคือ พระคาร์ดินัลอากอสตีโน วัลลี ซึ่งเป็นคาร์ดินัลใหญ่แห่งมุขมณฑลโรม ในขณะที่ประธานาธิบดีฝรั่งเศสเป็นแคนันกิตติมศักดิ์ (honorary canon) ประจำมหาวิหารฯ โดยตำแหน่ง ซึ่งตำแหน่งแคนันกิตติมศักดิ์นี้เป็นตำแหน่งที่สืบทอดในหมู่ประมุขแห่งฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยของพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ด้านหน้าบริเวณทางเข้า มีศิลาจารึกเป็นภาษาละตินขนาดใหญ่ว่า Clemens XII Pont Max Anno V Christo Salvatori In Hon SS Ioan Bapt et Evang ซึ่งแปลอย่างย่อได้ว่า "สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 12 ในปีที่ 5 แห่งสมณสมัย ได้ทรงอุทิศอาคารหลังนี้แก่พระคริสต์เจ้าผู้ช่วยให้รอด ด้วยเกียรติของนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร" หรือมีความหมายก็คือ เดิมดี มหาวิหารแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่พระเยซู และในหลายศตวรรษต่อมาก็ประกาศร่วมอุทิศให้แก่นักบุญยอห์นทั้งสอง คือยอห์นผู้ให้บัพติศมาและยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร อัครมหาวิหารฯตั้งอยู่ในกรุงโรม แต่อยู่นอกเขตแดนของนครรัฐวาติกันประมาณ 4 กิโลเมตรไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ แม้จะไม่ได้อยู่ในวาติกัน แต่อัครมหาวิหารแห่งนี้มีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในฐานะสมบัติของสันตะสำนัก จากผลของสนธิสัญญาลาเตรัน..

ใหม่!!: หินแกรนิตและอัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน · ดูเพิ่มเติม »

อัตลาเนอร์ซา

อัตลาเนอร์ซา เป็นกษัตริย์ชาวนิวเบีย ซึ่งปกครองระหว่าง 653 ถึง 640 ปีก่อนคริสตกาล เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งผู้ปกครองจากกษัตริย์ทันทามานิ ซึ่งเป็นผู้ปกครองชาวนิวเบียพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ยี่สิบแห่งอียิปต์แห่งอียิปต.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอัตลาเนอร์ซา · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวาน

อาสนวิหารวาน (Cathédrale de Vannes) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งวาน (Cathédrale Saint-Pierre de Vannes) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลวาน และยังมีฐานะเป็นมหาวิหารด้วย ตั้งอยู่ที่เมืองวาน จังหวัดมอร์บีอ็อง แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารวานสร้างในแบบสถาปัตยกรรมกอทิก โดยตั้งอยู่บนสถานที่ของอาสนวิหารเดิมซึ่งเป็นแบบโรมาเนสก์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 การก่อสร้างกินเวลายาวนานถึง 500 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และถ้ายังนับรวมกับอายุของหอระฆังเก่าแบบโรมาเนสก์แล้วจะรวมเป็นระยะเวลาทั้งสิ้นถึงกว่า 700 ปีด้วยกัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอาสนวิหารวาน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติออบหลวง

อุทยานแห่งชาติออบหลวง เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในพื้นที่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 553 ตารางกิโลเมตร (345,625 ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานเป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แหล่งน้ำหลักคือลำน้ำแม่แจ่ม ซึ่งมีลักษณะเป็นเกาะแก่งเมื่อไหลผ่านหุบเขา ในอุทยานมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ จำแนกได้หลายประเภท สามารถพบสัตว์ป่าได้หลายชนิด เช่น เลียงผา เสือ หมี เป็นต้น นอกจากนี้ภายในอุทยานแห่งชาติยังมีน้ำพุร้อน น้ำตก ถ้ำ และแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอุทยานแห่งชาติออบหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว

อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์วอชิงตัน

อนุสาวรีย์วอชิงตัน อนุสาวรีย์วอชิงตัน (Washington Monument) เป็นอนุสาวรีย์ที่สร้างเพื่อเป็นเกียรติแก่จอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา มีลักษณะเป็นแท่งโอเบลิสก์ ทำด้วยหินอ่อน หินแกรนิต และหินทราย สูง 555 ฟุต 5 ½ นิ้ว (169 เมตร) เป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอนุสาวรีย์วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์แพะห้าตัว

อนุสาวรีย์แพะห้าตัว อนุสาวรีย์แพะห้าตัว เป็นสัญลักษณ์เมืองกวางเจา มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ใจกลางเมือง สร้างโดยใช้หินแกรนิตจำนวน 120 ก้อน แกะสลักประกอบเป็นแพะ 5 ตัว แพะตัวใหญ่คาบรวงข้าว 6 รวง ยืนสง่าอยู่บนดอย มีเรื่องเล่าว่า เมื่อ 4,500 ปีก่อน สมัยโจวหยีหยาง มีเทวดา 5 องค์สวมเสื้อสีสันที่แตกต่างกันขี่แพะ 5 ตัวลงมา และคาบรวงข้าว 6 รวง สู่เมืองมนุษย์คือเมืองกวางเจา เดิมชื่อฉู่ถิง และได้มอบพันธุ์เมล็ดข้าวแก่ชาวเมืองกวางเจา พร้อมอวยพรให้พ้นจากความอดยากตลอดกาล เมื่อสิ้นคำพูดเทวดาก็หายไป และแพะที่ขี่มาก็กลายเป็นหิน 5 ก้อน และนักประติมากรรมก็ได้แกะสลักแพะ 5 ตัว ตามตำนานที่กล่าวไว้และจากนั้นเมืองกวางเจาก็มีเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และเชื่อว่าเป็นเพราะแพะเทวดาที่ทำให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง จึงทำให้ชาวเมืองกวางเจาซาบซึ้งในบุญคุณ จึงตั้งอนุสาวรีย์แพะห้าตัวขึ้นมาเพื่อรำลึกถึงท่าน และเป็นสัญลักษณ์ของเมืองกวางเจาตลอดมา หมวดหมู่:อนุสาวรีย์ หมวดหมู่:ประเทศจีน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและอนุสาวรีย์แพะห้าตัว · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีเคมี

รณีเคมี (Geochemistry) เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เป็นเครื่องมือและหลักการทางเคมี เพื่ออธิบายกลไกที่อยู่เบื้องหลังระบบธรณีวิทยาที่สำคัญ ๆ เช่น เปลือกโลก และมหาสมุทร ในขอบเขตของธรณีเคมีขยายไปไกลกว่าของโลก, การครอบคลุมทั้งระบบสุริยะ และมีส่วนร่วมสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆรวมถึง การพาความร้อนของเปลือกโลกในชั้นหลอมเหลว (Mantle convection),การก่อตัวของดาวเคราะห์และต้นกำเนิดของหินแกรนิต และหินบะซอลต.

ใหม่!!: หินแกรนิตและธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ถู่โหล

ู่โหล เ็ป็นที่อยู่อาศัยพื้นถิ่นของชุมชนในมณฑลฝูเจี้ยนทางตอนใต้ของประเทศจีน มักมีโครงสร้างแบบกลม โครงสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นนี้สร้างโดยกลุ่มชาวบ้าน ถึงแม้ว่าถู่โหลจะเป็นโครงสร้างแบบตะวันออก แต่ความหมายของคำว่า "ถู่โหล" ก็เป็นรูปร่างที่เป็นเอกลักษณ์ของลักษณะอาคารและไม่จำกัดประเภทของสิ่งปลูกสร้าง ในบางแห่งใช้หินแกรนิตตัดหรือผนังอิฐ บ้านดินถู่โหล ที่มีชื่อเสียงได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกจากยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและถู่โหล · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.

ใหม่!!: หินแกรนิตและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขารูเวนโซรี

right ทิวเขารูเวนโซรี (Ruwenzori Range) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อพรมแดนระหว่างประเทศยูกันดากับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (เดิมคือประเทศซาเอียร์) ทิวเขารูเวนโซรีทอดตัวเป็นแนวยาวจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวชายแดนระหว่างยูกันดากับสาธารณรัฐฯ คองโก เป็นแนวยาวประมาณ 120 กิโลเมตร กว้าง 65 กิโลเมตร บริเวณทิวเขาเป็นหินแกรนิตที่ถูกแรงกดดันทำให้ถูกยกตัวขึ้นมาเมื่อหลายล้านปีที่แล้วและมีการทรุดลงอีกทำให้เกิดหุบเขาทรุด พิกัดทิวเขาแห่งนี้อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นมาเพียง 48 กิโลเมตร แต่บนยอดเขากลับมีหิมะตลอดทั้งปีและปกคลุมไปด้วยธารน้ำแข็ง ทิวเขาแห่งนี้มียอดเขาที่สูงกว่าระดับ 4,877 เมตร ถึง 9 ลูก เขาสแตนลีย์เป็นเขาที่สูงที่สุดในทิวเขารูเวนโซรี มียอดเขามาร์เกรีตาเป็นยอดที่สูงสุด สูงกว่า 5,109 เมตร คำว่า "รูเวนโซรี" เป็นภาษาถิ่นแอฟริกาแปลว่า "ผู้บันดาลฝน" ซึ่งก็เป็นความจริงตามชื่อ เพราะว่ากระแสลมทางตะวันตกจะพัดความชื้นจากลุ่มน้ำคองโก พาดผ่านภูเขา แล้วถูกยกตัวสูงขึ้นตามภูเขาทำให้ไอน้ำถูกกลั่นตัวเป็นเกร็ดน้ำแข็งบริเวณยอดเขาและกลั่นตัวเป็นฝนบริเวณเชิงเขา ทำให้ภูเขามีเมฆปกคลุมอยู่ตลอดปี.

ใหม่!!: หินแกรนิตและทิวเขารูเวนโซรี · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาหลวงพระบาง

ทิวเขาหลวงพระบาง แผนที่ทิวเขาหลวงพระบาง ทิวเขาหลวงพระบาง เป็นทิวเขาหินแกรนิต เริ่มจากบริเวณลำน้ำโขงทางเหนือ ทอดตัวเป็นแนวมาทางใต้จนถึงตะวันตกของอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และทางเหนือของอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นบริเวณที่เชื่อมต่อกับทิวเขาเพชรบูรณ์ในภาคกลาง มีอาณาบริเวณกว้างขวาง อยู่ระหว่างแม่น้ำน่าน และแม่น้ำโขง กว้างประมาณ 50-100 กิโลเมตร ยาวประมาณ 250 กิโลเมตร ทางแถบตอนเหนือของทิวเขานี้ เป็นตอนที่บังคับให้แม่น้ำโขงไหลวกไปทางตะวันออก เข้าไปในประเทศลาว ยอดเขาที่สูงและมีชื่อเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ภูหวายซ่อมใหญ่ สูงประมาณ 1,801 เมตร อยู่ทางเหนือสุด มีแม่น้ำโขงล้อมอยู่สามด้าน, ดอยน้ำหงส์ มีความสูง 1,478 เมตร, ภูสามเส้า มีความสูง 2,061 เมตร, ภูหลวงพระบาง สูง 2,059 เมตร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอปัว จังหวัดน่าน เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำว้า ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำน่าน, ภูยี สูง 1,630 เมตร อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน, ภูหลักหมื่น สูง 1,478 เมตร อยู่ริมแม่น้ำน่าน ทางทิศตะวันออกของอำเภอนาน้อย, ดอยภูคา สูง 1,980 เมตร ในหลายพื้นที่ของจังหวัดน่าน, ภูเมี่ยง สูง 2,300 เมตร อยู่ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ และภูสอยดาว มีความสูง 2,120 เมตร อยู่ในเขตระหว่างจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดอุตรดิตถ์ ทิวเขาหลวงพระบางเป็นทิวเขาแบ่งเขตมาแต่สมัยโบราณ ปัจจุบันใช้เป็นพรมแดนระหว่างไทยกับลาวในภาคเหนือ.

ใหม่!!: หินแกรนิตและทิวเขาหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาผีปันน้ำ

แผนที่แสดงอาณาเขตของทิวเขาผีปันน้ำ ทิวเขาผีปันน้ำ เป็นแนวทิวเขาขนาดใหญ่และสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย เป็นสันปันน้ำที่แบ่งน้ำไหลแยกกันไปสองทาง ทางหนึ่งไปสู่อ่าวเจ้าพระยาอีกทางหนึ่งไปสู่อ่าวแม่โขง เขาย่อย ๆ หลายทิวประกอบขึ้นเป็นทิวเขาผีปันน้ำของแม่น้ำปิง, วัง, ยม และน่าน ซึ่งเป็นแควของแม่น้ำเจ้าพระยา ทิวเขาทั้งทิวครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดของตอนกลางของภาคเหนือในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ ทางตะวันตกของทิวเขานี้เป็นทิวเขา ซึ่งเรียงตัวกันตามแนวเส้นแวง ยอดเขาที่สำคัญคือ ดอยขุนออน, ดอยผาโจ้, ดอยผีปันน้ำ, ภูชี้ฟ้า และดอยขุนตาล เป็นภูเขาหินแกรนิต ซึ่งตั้งขวางเส้นทางรถไฟสายเหนือ ทำให้ต้องเจาะลอดสันเขาทางใต้ของทิวเขานี้ เป็นอุโมงค์ขุนตาล ในปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและทิวเขาผีปันน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาถนนธงชัย

ทิวเขาถนนธงชัย เป็นแนวทิวเขาทางด้านตะวันตกของภาคเหนือ เริ่มจากจุดที่บรรจบกับทิวเขาแดนลาว ทอดตัวเป็นแนวยาวลงมาทางตอนล่างของภาค แบ่งออกเป็น 3 แนว ได้แก.

ใหม่!!: หินแกรนิตและทิวเขาถนนธงชัย · ดูเพิ่มเติม »

ดอยอ้อยช้าง

อยอ้อยช้าง หรือ ดอยสุเทพ เป็นยอดเขาทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ ด้านบน สามารถมองเห็นทัศนียภาพของเมืองเชียงใหม่ได้อย่างชัดเจน ดอยอ้อยช้างถือเป็นจุดภูมิศาสตร์สำคัญตั้งแต่เริ่มมีการสร้างเมืองเชียงใหม่ เนื่องจากพญามังรายทรงเลือกที่ราบด้านล่างดอยอ้อยช้าง เป็นเขตเมืองเชียงใหม่แทนเวียงกุมกาม.

ใหม่!!: หินแกรนิตและดอยอ้อยช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ครก

รก ครก เป็นเครื่องครัวประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ในการทำอาหารประเภท น้ำพริก ส้มตำ หรืออาหารประเภทใดก็ตามที่ต้องการความแหลก.

ใหม่!!: หินแกรนิตและครก · ดูเพิ่มเติม »

คอคอดคอรินท์

ณะแล่นเรือทะลุคอคอดคอรินท์ โดยใช้คลองคอรินท์ คอคอดคอรินท์ (Isthmus of Corinth) เป็นผืนดินแคบ ๆ ซึ่งเชื่อมระหว่างเพโลพอนนีสและส่วนที่เหลือของกรีซแผ่นดินใหญ่ ใกล้กับเมืองคอรินท์ มีอาณาเขตติดต่อกับอ่าวคอรินท์ทางตะวันตก และอ่าวซาโรนิกทางตะวันออก นับตั้งแต..

ใหม่!!: หินแกรนิตและคอคอดคอรินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะกอน

ตะกอน คือ อินทรีย์วัตถุ หรือ อนินทรีย์วัตถุที่มีขนาดเล็กเช่น กรวด หิน ดิน ทราย ที่เกิดจากกระบวนการสลายตามธรรมชาติ ถูกพัดพาปะปนกับกระแสน้ำ และทับถมกันบริเวณด้านล่างที่กระแสน้ำไหลผ่าน ตะกอนมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับสิ่งปะปนในกระแสน้ำนั้น ๆ เช่น ดิน หิน ทราย หรือตะกอนที่เป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลาย ลักษณะเป็นสีคล้ำ มีความหยุ่น เรียกว่า โคลน อีกความหมายหนึ่งคือ อนุภาคที่แยกตัวออกมาจากสารละลาย เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง เช่น น้ำผสมผงแป้ง เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ผงแป้งจะตกตะกอนลงสู่ด้านล่าง เห็นเป็นชั้นแป้งและน้ำอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและตะกอน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลอ่างศิลา (จังหวัดชลบุรี)

ตำบลอ่างศิลา ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี เป็นหมู่บ้านประมงริมทะเล อยู่ห่างจากตัวเมืองชลบุรีประมาณ 5 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงหอยนางรมและหอยแมลงภู่ และเป็นแหล่งทำครกหิน เป็นตำบลที่อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเมือง ซึ่งประกอบด้วย 5 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านอ่างศิลา, หมู่ที่ 2 บ้านมะเกลือ, หมู่ที่ 3 บ้านโพรง, หมู่ที่ 4 บ้านโรงหาด, หมู่ที่ 5 บ้านโรงหาด อาชีพ ทำครกหิน ทอผ้า ครกหิน เป็นสัญลักษณ์ของชุมชน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและตำบลอ่างศิลา (จังหวัดชลบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ซาโมเทรซ

ท่าเรือสำคัญในซาโมเทรซ ซาโมเทรซ หรือ ซาโมทรากี (Σαμοθράκη, Samothrace) เป็นเกาะในประเทศกรีซ ตั้งอยู่ทางเหนือของทะเลอีเจียน เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดเอวรอส ห่างจากเกาะเกิกเชอาดาของประเทศตุรกีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 23 กิโลเมตร เกาะมีความยาว 17 กิโลเมตร มีพื้นที่ 178 ตร.กม.

ใหม่!!: หินแกรนิตและซาโมเทรซ · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิคอน

ซิลิคอน (Silicon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ Si และเลขอะตอม 14 เป็นธาตุกึ่งโลหะแบบเตตระวาเลนต์ (คือมีวาเลนซ์เป็น 4) ซิลิคอนทำปฏิกิริยาน้อยกว่าธาตุที่คล้ายกันคือคาร์บอน เป็นธาตุที่มีมากที่สุดในเปลือกโลกเป็นอันดับ 2 มีปริมาตร 25.7% โดยน้ำหนัก ปรากฏในดินเหนียว เฟลด์สปาร์ (feldspar) หินแกรนิต ควอตซ์ และทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซิลิคอน ไดออกไซด์ (หรือซิลิกา) และซิลิเกต (สารประกอบที่ประกอบจากซิลิคอน ออกซิเจน และ โลหะ) ซิลิคอน เป็นส่วนประกอบหลักของแก้ว ซีเมนต์ เซรามิก, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ส่วนใหญ่ และซิลิโคน (สารพลาสติกที่มักจะสับสนกับซิลิคอน) ซิลิคอนใช้เป็นสารกึ่งตัวนำอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก สารกึ่งตัวนำเจอร์เมเนียมมีปัญหาเกี่ยวกับการไหลของกระแสไหลย้อนกลับ (reverse leakage current).

ใหม่!!: หินแกรนิตและซิลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: หินแกรนิตและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: หินแกรนิตและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลี

แผนที่ประเทศเกาหลีก่อนที่จะถูกแบ่งออกเป็นเกาหลีเหนือและ เกาหลีใต้ ธงรวมเกาหลี ธงสัญลักษณ์ร่วมสำหรับเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ในการแข่งขันกีฬานานาชาตินับตั้งแต่ ค.ศ. 1994 ประเทศเกาหลี (한국 หรือ 조선, ฮันกุก หรือ โชซ็อน) เป็นอดีตประเทศ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรเกาหลี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็นประเทศเกาหลีเหนือและประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: หินแกรนิตและประเทศเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: หินแกรนิตและประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทเอโดะ

ปราสาทเอโดะ (江戸城, Edo Castle) เป็นปราสาทที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น เพราะเคยใช้เป็นที่พักของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและปราสาทเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกทรายขาว

น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงในจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ที่บริเวณตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ใช้เส้นทางตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 409 (ปัตตานี-ยะลา) เมื่อถึงบ้านนาประดู่บริเวณ กิโลเมตรที่ 28 จากนั้นเดินทางต่อโดยใช้เส้นทางสายนาประดู่-ทรายขาว เข้าไปอีก 7 กิโลเมตร ถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาต.

ใหม่!!: หินแกรนิตและน้ำตกทรายขาว · ดูเพิ่มเติม »

แร่กลีบหินขาว

แร่กลีบหินขาว หรือ มัสโคไวท์ (muscovite) คือ แร่กลีบหิน (mica) ชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่สีขาว มีลักษณะเด่นคือเป็นแร่แผ่น มีความวาวแบบแก้ว โปร่งใสถึงโปร่งแสง จัดอยู่ในกลุ่มแร่ฟิลโลซิลิเกต (phyllosilicate).

ใหม่!!: หินแกรนิตและแร่กลีบหินขาว · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งแร่หาดส้มแป้น

แหล่งแร่ดินขาวและดีบุก แหล่งแร่หาดส้มแป้น (Hadsompaen Mineral deposit) เป็นแหล่งแร่ที่มีความสำคัญ มีการทำเหมืองแร่กันมานานนมแล้ว ซึ่งชื่อหาดส้มแป้นเพี้ยนมาจาก คำว่า "ห้วยซัมเปียน" ซึ่งมีความหมายว่า ลึกเข้าไปในหุบเขา ชาวบ้านจึงเรียกกันต่อ ๆ มาว่า "ห้วยซัมเปียน" และคำนี้ได้เพี้ยนมาเป็นหาดส้มแป้นในปัจจุบัน แหล่งแร่หาดส้มแป้นมีพื้นที่โดยประมาณ 20 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันเป็นแหล่งแร่ที่ผลิตแร่ดีบุกและแร่ดินขาวที่สำคัญของประเทศ ตั้งอยู่บริเวณตำบลหาดส้มแป้น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง.

ใหม่!!: หินแกรนิตและแหล่งแร่หาดส้มแป้น · ดูเพิ่มเติม »

แอเบอร์ดีน

แอเบอร์ดีน แอเบอร์ดีน (Aberdeen,; Aiberdeen; Obar Dheathain) เป็นเมืองที่ใหญ่อันดับสามของสกอตแลนด์ อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหราชอาณาจักร เมืองแอเบอร์ดีนนั้นถูกสร้างขึ้นด้วยหินแกรนิตซึ่งทำให้ตัวเมืองดูเป็นสีเทาเงินระยิบระยับเมื่อถูกแสงแดด โดยมีถนนที่มีชื่อเสียงคือ Aberdeen’s Granite Mile เป็นที่ต้งของร้านค้า ร้านอาหาร และบาร์กว่าแปดร้อยร้าน บรรยากาศในเมืองแอเบอร์ดีนนั้นมักจะถูกกล่าวขานว่ามีสีเทาทะมึนของหินแกรนิต แต่ทว่าจุดเด่นอย่างหนึ่งที่ทำให้เมืองนี้กลายเป็นอีกเมืองหนึ่งที่น่าอยู่คือ สวนสาธารณะที่สวยงามมีสีสันตัดกับตึกรามบ้านช่องอย่างลงตัว โดยเมืองแอเบอร์ดีนได้ชนะเลิศการประกวดสวนดอกไม้หลายครั้งติดต่อกันมาโดยตลอดเป็นระยะเวลานานมากกว่าสิบปี ยกตัวอย่างเช่นรางวัล Best City ใน งาน Royal Horticultural Society’s Britain in Bloom ของสมาคมพืชสวนสหราชอาณาจักร รางวัลชนะเลิศในงาน Bloom Competition ของสกอตแลนด์ และงาน International City in Bloom ทางด้านอุตสาหกรรม นับตั้งแต่ได้มีการขุดพบแหล่งน้ำมันในทะเลเหนือ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมืองแอเบอร์ดีนได้กลายเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของยุโรป หรือที่เรียกกันว่า "เมืองหลวงน้ำมันแห่งยุโรป" ด้วยเหตุนี้ทำให้อุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลัก ๆ ของเมืองในสามสิบปีมานี้ คือธุรกิจที่เกี่ยวกับน้ำมัน นอกจากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันแล้ว ธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนี้เช่น ศูนย์อากาศยานเฮลิคอปเตอร์ของเมืองแอเบอร์ดีนนั้น เป็นศูนย์ที่มีเฮลิคอปเตอร์ขึ้นลงมากที่สุดในโลก เมืองแอเบอร์ดีนมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่สองแห่งคือ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนและมหาวิทยาลัยโรเบิร์ตกอร์ดอน ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้านงานวิจัยการเกษตร ดิน และที่สำคัญที่สุดคือ อาหารและโภชนาการ โดยมีศูนย์วิจัยที่มีชื่อเสียงคือ สถาบันวิจัย Rowett Research Institute ซึ่งเป็นที่ที่ให้กำเนิดผลงานของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลหลายคนด้วยกัน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและแอเบอร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

โกร่งบดยา

กร่งบดยา โกร่งบดยา (mortar and pestle, ความหมาย: ครก และ สาก) โกร่งบดยาคือเครื่องมือที่เภสัชกรใช้บดยาและปรุงยาซึ่งประกอบด้วยตัวโกร่ง (mortar) และลูกบด (pestle) โดยทั่วไปโกร่งจะมีลักษณะเหมือนชามคอนข้างหนาปากกว้าง ภายในผิวเรียบมัน ส่วนใหญ่โกร่งบดยาจะทำด้วยกระเบื้องพอร์ซเลน(porcelain) ใช้สำหรับใส่วัสดุที่จะบด ลูกบดมีลักษณะเป็นแท่งใช้สำหรับทุบและบดวัสดุที่ต้องการให้ละเอียดและผสมเข้ากันส่วนมากจะทำด้วยไม้ โกร่งจึงเป็นสัญลักษณ์ของวิชาชีพเภสัชกรรมอยู่ประจำร้านขายยาในเวลาต่อม.

ใหม่!!: หินแกรนิตและโกร่งบดยา · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: หินแกรนิตและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โอลิวีน

'''Descripyion:''''''Mineral:''' Forsterite: Mg2SiO4 Olivine: (Mg,Fe) 2SiO4 '''Location:''' Skardu, Nooristan, Pakistan. '''Scale:''' 2.5 x 2.7 cm. '''Description:''' olivine from San Carlos Indian Reservation, Arizona-3 '''Credit:''' R.Weller/Cochise College '''Crystal structure of olivine.''''''Description:''' The dominant slip system in olivine changes with temperature from the 110 plane in the 001 direction at low temperature to 010 plane in the 100 direction at high temperature. At intermediate temperature, there are a number of slip systems in the 001 direction. '''Description:''' การแบ่งแร่โอลิวีนตามองค์ประกอบทางเคมี '''Reference:''' C. Klein and C.S. Hurlbut, Jr., Manual of Mineralogy, copyright © 1985 John Wiley & Sons, Inc., reprinted with permission of John Wiley & Sons, Inc. โอลิวีน (Olivine) เป็นภาษาโบราณ หมายถึง สีเขียวมะกอก (Olive green) และยังหมายถึงว่า เป็น แร่ประกอบหิน แต่ในลักษณะที่เป็นรัตนชาติ เรียกว่า เพริดอต (Peridot) ส่วนคำว่า คริโซไลต์ (Chysolite) ก็หมายถึง โอลิวีน เช่นกัน แร่ในกลุ่มนี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: หินแกรนิตและโอลิวีน · ดูเพิ่มเติม »

เบริล

ริล (Beryl) คือ เบริลเลียม อะลูมิเนียม ไซโคซิลิเกต (beryllium aluminium cyclosilicate) มีสูตรเคมี Be3Al2 (SiO3) 6 รูปผลึกเป็นเฮกซะโกนอล (hexagonal crystals) ถ้าเป็นเบริลที่บริสุทธ์ (Pure Beryl) ไม่มีธาตุอื่นปนเปื่อนจะได้สีใส แต่ที่เราพบเบริลมีหลากหลายสีเนื่องจากมีธาตุมาเจือปน ซึ่งสีที่พบก็มี สีเขียว สีฟ้า สีเหลือง สีแดง.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเบริล · ดูเพิ่มเติม »

เฟลด์สปาร์

ฟลด์สปาร์ หรือ แร่ฟันม้า (feldspar) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเนื้อเซรามิก (ร้อยละ 15.35) และในน้ำยาเคลือบผิว (Glaze 30-50%) เฟลด์สปาร์เป็นแร่ที่มีปริมาณธาตุอัลคาไลด์สูง ทำให้หลอมตัวที่อุณหภูมิต่ำจึงทำหน้าที่เป็นฟลักซ์ทำให้เกิดเนื้อแก้วยึดเหนี่ยวเนื้อ ทำให้เกิดความแกร่งและความโปร่งใสของชิ้นงาน นอกจากนี้ ยังหาได้ง่ายในธรรมชาติ มีธาตุเหล็กต่ำ จึงเป็นที่นิยมใช้ แร่เฟลด์สปาร์ที่เกิดในธรรมชาติมีอยู่ 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพกมาไทต์

กมาไทต์ (Pegmatite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous) มักปรากฏอยู่เป็นสายแร่ ทำให้มักเรียกเป็น "สายแร่เพกมาไทต์" (Pegmatite veins) ประกอบด้วยแร่หลักเพียงควอตซ์ และ เค-เฟลด์สปาร์ และอาจมีมัสโคไวท์, ไบโอไทต์, ทัวร์มาลีน หรือแร่อื่นอยู่บ้างเป็นส่วนประกอบรอง ผลึกแร่ในเพกมาไทต์โดยปกติแล้วจะมีขนาดใหญ่กว่า 2.5 เซนติเมตรแต่บางครั้งอาจมีขนาดใหญ่มากถึง 10 เซนติเมตรได้ ทั้งนี้เนื่องจากสารละลายร้อนมักมีความเข้มข้นน้อย (มีน้ำและไอมาก) และมีพื้นที่สำหรับการตกผลึกดีกล่าวคือมีช่องรอยแตก (fracture) ในหินทำให้สารละลายร้อนและไอค่อย ๆ ทำการตกผลึกช้า ๆ และมีเวลาเพียงพอให้เกิดการตกผลึกใหญ่ ๆ ได้.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเพกมาไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเรดอน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดเผาะ

ห็ดเผาะ หรือ เห็ดถอบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Astraeus hygrometricus) เป็นเห็ดราชนิดหนึ่งในวงศ์ Diplocystaceae เมื่ออ่อนและดอกยังไม่เปิดมีลักษณะคล้ายเห็ดราในหมวด Basidiomycota กล่าวคือเป็นลูกกลม เมื่อโตขึ้นดอกเห็ดมีลักษณะเป็นรูปดาวซึ่งเป็นผลมาจากเนื้อเยื่อชันนอกของสปอโรคาร์ปแตกออก เห็ดเผาะเป็นเห็ดชนิดไมคอไรซาที่เติบโตร่วมกับต้นไม้หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินร่วนปนทราย เห็ดเผาะมีการกระจายพันธุ์ทั่วโลกในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสามัญ (hygroscopic earthstar) มาจากมันมีคุณสมบัติไฮโกรสโคปิก (ดูดซับน้ำ) เห็ดจะเปิดดอกวงนอกเผยถุงสปอร์เมื่อมีความชื้นเพิ่มขึ้นและปิดอีกครั้งเมื่อแห้ง ดอกวงนอกจะแตกแบบไม่สม่ำเสมอที่ผิว ขณะที่ถุงสปอร์เป็นสีน้ำตาลอ่อนมีรอยฉีกยาวบริเวณด้านบน เกลบา (gleba) เริ่มแรกมีสีขาวและกลายเป็นสีน้ำตาลและเป็นผงเมื่อสปอร์เจริญเต็มที่ สปอร์มีสีน้ำตาลแดง เกือบกลม มีปุ่มเล็กๆ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5–11 ไมโครเมตร แม้ว่าจะมีลักษณะภายนอกคล้ายกัน แต่เห็ดเผาะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเห็ดราในสกุล Geastrum ถึงในอดีตจะมีการจัดอนุกรมวิธานไว้ในสกุลนี้ก็ตาม เห็ดชนิดนี้ได้รับการจัดจำแนกครั้งแรกโดยคร้สติน เฮนดริก เพอร์ซูน (Christiaan Hendrik Persoon) ในปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและเห็ดเผาะ · ดูเพิ่มเติม »

เขาหวง

ตำแหน่งที่ตั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน เขาหวงซาน เป็นเทือกเขาที่ทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของมณฑลอันฮุย ทางตะวันออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงมาจากทิวทัศน์ที่งดงามของยอดเขาหินแกรนิตและต้นสนหวงรูปร่างแปลกตา และภาพของหมอกและเมฆที่ลอยอยู่ใกล้ยอดเขา บริเวณเทือกเขายังมีน้ำพุร้อนและบ่อน้ำร้อนธรรมชาติอีกมากมาย เนื่องมาจากความงดงาม จึงมักจะปรากฏภาพของเทือกเขาหวงอยู่ในภาพเขียนจีน หรือปรากฏชื่อในวรรณกรรมอยู่บ่อยครั้ง ปัจจุบันนี้ องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเทือกเขาหวงเป็นมรดกโลก และยังจัดว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดแห่งหนึ่งในจีน เขาหวงประกอบไปด้วยยอดเขาจำนวนมาก มียอดภูเขาที่มีชื่อ 72 ยอด และมีอยู่ 77 ยอดที่มีความสูงมากกว่า 1,000 เมตร ยอดเขาที่สูงที่สุด 3 อันดับแรกในเทือกเขาคือ ยอดเขาเหลียนหัว (莲花峰 เหลียนหัวเฟิง ยอดเขาดอกบัว มีความสูง 1,864 เมตร) ยอดเขากวงหมิง (光明顶 ยอดเขาสว่าง มีความสูง 1,840 เมตร) และ ยอดเขาเทียนตู่ (天都峰 เทียนตู่เฟิง แปลว่า ยอดเขาเมืองหลวงแห่งสวรรค์ มีความสูง 1,829 เมตร) เขตที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกประกอบด้วยบริเวณเทือกเขาซึ่งมีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร และรอบๆเทือกเขาอีก 142 ตารางกิโลเมตร เขาหวงถือกำเนิดขึ้นในมหายุคเมโซโซอิก เมื่อประมาณ 100 ล้านปีก่อน โดยเกิดจากพื้นก้นทะเลยกตัวขึ้นสูง ต่อมาในยุคควอเทอร์นารี พื้นผิวของเทือกเขาถูกธารน้ำแข็งกัดเซาะเป็นเวลานาน จนเกิดเป็นเสาหินขึ้นทั่วไป และต่อมาก็เกิดป่าขึ้นบนเสาหินเหล่านั้น ในสมัยราชวงศ์จิ๋น เทือกเขาหวงมีชื่อเรียกว่า ยี่ซาน ชื่อในปัจจุบันได้รับการตั้งขึ้นใหม่ โดยนักประวัติศาสตร์พบข้อเท็จจริงนี้จากกวีนิพนธ์ของ Li Po ซึ่งได้กล่าวถึงเทือกเขาหวงด้วยชื่อในปัจจุบัน พืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณเทือกเขาหวงจะแตกต่างกันไปตามระดับความสูง ที่ความสูงต่ำกว่า 1,100 เมตร จะเป็นป่าชื้น ความสูงระหว่าง 1,100-1,800 เมตร จะเป็นป่าผลัดใบ และความสูงตั้งแต่ 1,800 เมตรขึ้นไป จะเป็นทุ่งหญ้าในลักษณะที่ขึ้นอยู่ตามที่สูง บริเวณเทือกเขามีพรรณไม้หลากหลายชนิด จากการสำรวจพบว่ามีพืชจำพวกพืชไม่มีท่อลำเลียงจำนวน 1 ใน 3 จากตระกูลที่มีอยู่ในจีน และตระกูลเฟิร์นถึงครึ่งหนึ่งจากจำนวนตระกูลทั้งหมดในจีน อยู่ในเทือกเขานี้ เนื่องจากยอดเขาต่างๆมักจะอยู่เหนือระดับของเมฆ ทำให้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของก้อนเมฆได้จากยอดเขา และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงอันน่าอัศจรรย์ ทั้งปรากฏการณ์ทะเลเมฆ และแสงพระพุทธ เป็นสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากให้มาชม โดยเฉลี่ยแล้ว จะเกิดปรากฏการณ์แสงพระพุทธขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง น้ำพุร้อนบริเวณเทือกเขาหวงจะอยู่ที่ใต้ยอดเขาเมฆม่วง (Purple Cloud Peak) น้ำจากน้ำพุร้อนเหล่านี้จะมีอุณหภูมิอยู่ที่ 45 °C ตลอดทั้งปี บ่อน้ำร้อนส่วนใหญ่ในบริเวณนี้จะถูกเรียกรวมกันว่า Songgu Area ยอดเขาขนปุย (Fur Peak) เป็นบริเวณที่มีชื่อเสียงมาจากชาเขียวที่ได้จากบริเวณเทือกเขา โดยชื่อของยอดเขามีที่มาจากขนอ่อนที่ปกคลุมใบชาเป็นปุย เขาหวงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกใน พ.ศ. 2533 เนื่องมาจากทิวทัศน์ธรรมชาติที่งดงาม และเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่หายากและถูกคุกคามหลายชนิด ไฟล์:Huangshan fengjing.jpg|ทิวทัศน์ที่งดงามของเขาหวงมักใช้เป็นต้นแบบภาพเขียนในแถบเอเชียตะวันออก ไฟล์:Huangshan Yingkesong.jpg|ก้อนเมฆที่ปกคลุมเขาหวง ไฟล์:Huangshan_Rock_Formations.JPG|หินที่ถูกกัดเซาะ ไฟล์:Huangshan1.jpg|เขาหวง..

ใหม่!!: หินแกรนิตและเขาหวง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ

อะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (The Dream-Quest of Unknown Kadath) เป็นนิยายซึ่งเอช. พี. เลิฟคราฟท์ประพันธ์เสร็จในปีพ.ศ. 2470แต่ไม่เคยมีการพิมพ์เผยแพร่ในช่วงที่เลิฟคราฟท์มีชีวิตอยู่ เรื่องนี้เป็นงานประพันธ์ในเรื่องชุดโลกแห่งความฝันที่ยาวที่สุดของเลิฟคราฟท์และมี แรนดอล์ฟ คาเตอร์เป็นตัวเอก ดรีมเควสต์นั้นมีลักษณะที่ผสมกันระหว่างเรื่องแนวแฟนตาซีระดับสูงกับนิยายสยองขวัญเข้าด้วยกัน.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ · ดูเพิ่มเติม »

เควี 62

วี 62 (KV62) เป็นชื่อสุสานในหุบผากษัตริย์ (Valley of the Kings) ประเทศอียิปต์ ที่ไว้พระศพของทุตอังค์อามุน (Tutankhamun) และมีชื่อเสียงเพราะทรัพย์สมบัติที่พบข้างใน ในปี 1922 เฮาเวิร์ด คาร์เตอร์ (Howard Carter) พบสุสานนี้อยู่ในหุบผาซึ่งมีซากบ้านเรือนคนงานที่สร้างขึ้นในสมัยอาณาจักรใหม่ปกคลุมอยู่ นี้เป็นเหตุผลที่สุสานรอดพ้นจากการระดมขุดกรุอย่างร้ายแรงที่สุดในช่วงนั้น เมื่อพบสุสานแล้ว ปรากฏว่า ภายในมีข้าวของเรียงไว้ระเกะระกะ คาร์เตอร์ได้ถ่ายภาพพวงมาลัยพวงหนึ่งไว้ซึ่งพอแตะแล้วก็สลายเป็นผงธุลีไป การขนทรัพย์สินออกจากสุสานใช้เวลา 8 ปี เนื่องจากสภาพของสุสานเอง และความประสงค์ของคาร์เตอร์ที่จะบันทึกข้อมูลไว้ให้ละเอียดที่สุด ทรัพย์สินดังกล่าวขนไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์ในกรุงไคโร หลังฝังพระศพแล้วไม่นาน ขโมยขึ้นสุสานนี้อย่างน้อย 2 ครั้ง พระทวารบานนอกสุดของห้องไว้พระศพนั้นถูกเปิดทิ้งไว้และมิได้ลั่นดาล มีการประเมินว่า ร้อยละ 60 ของอัญมณีในพระคลังของสุสานถูกลักพาออกไป.

ใหม่!!: หินแกรนิตและเควี 62 · ดูเพิ่มเติม »

เคอร์ลิง

อร์ลิง (Curling) เป็นกีฬาฤดูหนาวประเภททีม แข่งขันบนลานน้ำแข็ง มีถิ่นกำเนิดในสกอตแลนด์ในยุคกลาง โดยพบหลักฐานว่ามีการละเล่นกีฬาชนิดนี้ในฤดูหนาว โดยเล่นในทะเลสาบที่ผิวหน้ากลายเป็นน้ำแข็ง ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 พบอุปกรณ์การเล่นทำด้วยไม้ สลักปีที่สร้างระบุปี..

ใหม่!!: หินแกรนิตและเคอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

Kola Superdeep Borehole

แสตมป์รูปหลุมเจาะ KSDB Kola Superdeep Borehole (KSDB) เป็นผลของโครงการการขุดเจาะทางวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในอดีต โครงการนี้ได้พยายามเจาะลงไปในเปลือกโลกให้ลึกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเจาะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ที่ คาบสมุทร Kola โดยใช้เครื่องเจาะ Uralmash-4E และภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเครื่องเจาะ Uralmash-15000 การเจาะได้แตกแขนงออกเป็นหลายช่องจากช่องกลาง แขนงที่มีความลึกที่สุดคือ SG-3 ได้เจาะเสร็จสิ้นเมื่อปีค.ศ. 1989 มีความลึก 12,262 เมตร (7.6 ไมล์) และได้กลายเป็นหลุมที่มีความลึกมากที่สุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษ.

ใหม่!!: หินแกรนิตและKola Superdeep Borehole · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: หินแกรนิตและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แกรนิต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »