โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐนิวแฮมป์เชียร์

ดัชนี รัฐนิวแฮมป์เชียร์

รัฐนิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของรัฐชื่อ คองคอร์ด เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ แมนเชสเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐแกรนิต" เนื่องจากมีชั้นหินแกรนิตเป็นจำนวนมาก การท่องเที่ยวในนิวแฮมป์เชียร์ที่สำคัญได้แก่สกีในหน้าหนาว และการปีนเขาในหน้าร้อน รัฐนิวแฮมป์เชียร์เป็นที่ตั้งของ สนามแข่งรถนานาชาตินิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire International Speedway) สนามแข่งรถที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ในการแข่งขันรถ ลาวดอนคลาสสิก ในปี 2550 นิวแฮมป์เชียร์มีประชากร 1,315,828 คน.

62 ความสัมพันธ์: ฟิเนียส์ พี. เกจพ.ศ. 2331พ.ศ. 2448การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543มัลคอล์ม บราวน์ยัน เดอ ไบรรอนนี เจมส์ ดิโอระบบเบรตตันวูดส์รัฐของสหรัฐรัฐไอโอวารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้งรายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริการายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐวอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอนวิรุฬ เตชะไพบูลย์วิทยาลัยฟิลลิปส์วิทยาลัยดาร์ตมัธสิบสามอาณานิคมสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสนธิสัญญาพอร์ตสมัทหินแกรนิตอลิซ บราวน์อินเตอร์สเตต 95อี ซึง-มันอดัม แซนด์เลอร์อเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม)จอร์จ ดับเบิลยู. บุชจอห์น สมิธ (นักสำรวจ)จอห์น เคร์รีจุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ธนาคารโลกทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 3ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 4ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบคแลชดาย ฮาร์ด 4.0 ปลุกอึด ตายยากคริสตา แมคออลิฟซาราห์ เวย์น แคลลีส์ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์นิวอิงแลนด์นิโคลัส สปากส์แฟรงกลิน เพียร์ซแพริโดเลียแมนดี มัวร์แดน บราวน์แนแธเนียล ฮอว์ธอร์นโพลีแอนนาโรเบิร์ต แลงดอน...ไชนาไซบีเรียนฮัสกีเมแกน ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์เจ. ดี. แซลินเจอร์เจนนิเฟอร์ ลีเขตเวลาเขตเวลาตะวันออกเด็กสร้างเมืองUTC−04:00Very Long Baseline Array21 มิถุนายน5 กันยายน ขยายดัชนี (12 มากกว่า) »

ฟิเนียส์ พี. เกจ

นาย ฟิเนียส์ พี.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และฟิเนียส์ พี. เกจ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2331

ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และพ.ศ. 2331 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

มัลคอล์ม บราวน์

มัลคอล์ม บราวน์ (Malcolm Browne; 17 เมษายน ค.ศ. 1931 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 2012) เป็นช่างภาพและนักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และมัลคอล์ม บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน เดอ ไบร

ัน เดอ ไบร (Jan de Bray; ราว ค.ศ. 1627 - 1 เมษายน ค.ศ. 1697) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน เดอ ไบรมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนเชิงประวัติศาสตร.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และยัน เดอ ไบร · ดูเพิ่มเติม »

รอนนี เจมส์ ดิโอ

รนัลด์ เจมส์ พาดาโวนา (Ronald James Padavona) เกิด 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรอนนี เจมส์ ดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเบรตตันวูดส์

ระบบการจัดการการเงินเบรตตันวูดส์ (Bretton Woods system) สถาปนากฎสำหรับความสัมพันธ์พาณิชย์และการเงินระหว่างรัฐอุตสาหกรรมหลักของโลกช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ระบบเบรตตันวูดส์เป็นตัวอย่างแรกของระเบียบการเงินที่มีการเจรจาอย่างสมบูรณ์โดยเจตนาเพื่อปกครองความสัมพันธ์การเงินระหว่างรัฐชาติเอกราช ลักษณะสำคัญของระบบเบรตตันวูดส์ คือ ทุกประเทศมีพันธกรณีใช้นโยบายการเงินซึ่งธำรงอัตราแลกเปลี่ยนโดยผูกเงินตราของประเทศกับทองคำและความสามารถของกองทุนการเงินระหว่างประเทศเพื่อเชื่อมการเสียดุลการชำระเงินชั่วคราว นอกจากนี้ ยังมีความจำเป็นต้องจัดการการขาดความร่วมมือระหว่างประเทศอื่นและเพื่อป้องกันการลดค่าเงินตราแข่งขันด้วย ในการเตรียมบูรณะระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่สองกำลังดำเนินอยู่ ผู้แทน 730 คนจากทั้ง 44 ชาติฝ่ายสัมพันธมิตรประชุมกันที่โรงแรมเมาต์วอชิงตันในเบรตตันวูดส์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกา เพื่อการประชุมการเงินการคลังสหประชชาติ หรือเรียก การประชุมเบรตตันวูดส์ ผู้แทนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างวันที่ 1–22 กรกฎาคม 2487 และลงนามความตกลงในวันสุดท้าย ซึ่งเป็นการจัดตั้งระบบกฎ สถาบันและวิธีดำเนินงานเพื่อจัดระเบียบระบบการเงินระหว่างประเทศ ผู้วางแผนที่เบรตตันวูดส์สถาปนากองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา (IBRD) ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มธนาคารโลก องค์การเหล่านี้เริ่มปฏิบัติงานในปี 2488 หลังประเทศต่าง ๆ ให้สัตยาบันความตกลงมากแล้ว วันที่ 15 สิงหาคม 2514 สหรัฐอเมริกายุติการแปลงดอลลาร์สหรัฐเป็นทองคำฝ่ายเดียว นำให้ระบบเบรตตันวูดส์ถึงคราวสิ้นสุดและดอลลาร์กลายเป็นเงินเฟียต (fiat currency) การกระทำดังกล่าว ซึ่งเรียก นิกสันช็อก สร้างสถานการณ์ซึ่งดอลลาร์สหรัฐกลายเป็นเงินตราสำรองที่หลายรัฐใช้ ขณะเดียวกัน เงินตราอัตราแลกเปลี่ยนคงที่หลายสกุล (เช่น ปอนด์สเตอร์ลิง) กลายเป็นเงินอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวเสรีเช่นกัน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ หมวดหมู่:มาตรฐานทองคำ หมวดหมู่:พ.ศ. 2487 หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:การค้าระหว่างประเทศ หมวดหมู่:ธนาคารโลก.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และระบบเบรตตันวูดส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐของสหรัฐ

แผนที่ สหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งชื่อรัฐ (อะแลสกา และ ฮาวาย ไม่ได้จัดตามมาตราส่วน) รัฐ (State, แต่สำหรับ รัฐเคนทักกี รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐเพนซิลเวเนีย และ รัฐเวอร์จิเนีย ใช้คำว่า Commonwealth) ในสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีอธิปไตยในการปกครองตนเองร่วมกับรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรัฐทั้งหมด 50 รัฐ ในแต่ละรัฐแบ่งเป็นหลายเคาน์ตี (county) แต่ละเคาน์ตีแบ่งเป็นหลายเมือง (city) แต่ละรัฐมีผู้ว่าการรัฐหนึ่งคน และมีสภานิติบัญญัติประจำรั.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรัฐของสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐไอโอวา

อโอวา (Iowa) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา อาณาเขตติดต่อกับรัฐอิลลินอยส์ทางด้านตะวันออก รัฐเนแบรสกาทางด้านตะวันตก รัฐมิสซูรีทางด้านใต้ รัฐมินนิโซตา รัฐวิสคอนซิน และรัฐเซาท์ดาโคตา ทางด้านเหนือ ไอโอวาเป็นที่รู้จักเป็นแหล่งผลิตที่สำคัญของข้าวโพด หมู และน้ำมันเอทานอล มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของรัฐไอโอวาได้แก่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาลัยไอโอวา และ มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นไอโอวา ไอโอวาจะได้รับการสนใจในช่วงเลือกตั้งประธานาธิบดี เนื่องจากเป็นรัฐแรกที่มีการคอคัส ชื่อรัฐไอโอวาตั้งชื่อตาม ชาวอินเดียแดง เผ่าไอโอว.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรัฐไอโอวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้ง

ลำดับการก่อตั้งซึ่งเรียงตามรัฐ 13 รัฐเดิมซึ่งได้ให้สัตยาบันในรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้นเป็นรัฐอื่น ๆ ซึ่งเข้าร่วมในสหภาพ ด้านล่างนี้คือ รายชื่อรัฐในสหรัฐอเมริกา เรียงตามลำดับการก่อตั้ง ซึ่งก็คือวันที่รัฐแต่ละรัฐได้เข้าร่วมในสหภาพ ถึงแม้ว่าอาจจะพิจารณารัฐ 13 รัฐแรกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกานับตั้งแต่วันประกาศอิสรภาพในวันที่วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 แต่วันที่ที่ยึดถือด้านล่างนี้เป็นวันที่ที่แต่ละรัฐให้สัตยาบันในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนรัฐที่ก่อตั้งภายหลังยึดถือตามวันที่กฎหมายรับรองยกเว้นโอไฮโอซึ่งยึดถือวันก่อตั้งตามวันที่สภาคองเกรสรับรองในปี ค.ศ. 1953 ปัจจุบันนี้ สหรัฐอเมริกามีรัฐทั้งหมด 50 รัฐในประเทศ แต่เมื่อครั้งตั้งเป็นประเทศใหม่ ๆ นั้น ส่วนใหญ่ยังปักหลักกันอยู่ที่บริเวณตะวันออกของสหรัฐอเมริการิมมหาสมุทรแอตแลนติก จนกระทั่งเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น และดินแดนส่วนอื่นที่ห่างไปทางตะวันตกก็ยังไม่มีผู้ใดบุกเบิก ดังนั้นชาวอเมริกันจึงเริ่มขยายอาณาเขตไปทางตะวันตก จนกระทั่งเมื่อขยายไปสุดเขตแดนตะวันตก สหรัฐอเมริกามีทั้งสิ้น 48 รัฐ แต่ต่อมาก็ได้ซื้อดินแดนอะแลสกาและฮาวาย และตั้งเป็นรัฐที่ 49 และ 50 ตามลำดับ นอกจาก 50 รัฐที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีดินแดนอิสระที่เป็นเขตปกครองตนเอง ชื่อว่า ดิสตริกต์ออฟโคลัมเบีย (District of Columbia) ซึ่งแม้มิได้เป็นรัฐเต็มตัวเหมือนรัฐอื่น ๆ แต่ก็มีฐานะเทียบเท่ารัฐในการออกเสียงต่าง ๆ รวมทั้งการเลือกตั้งประธานาธิบดี ก็ต้องส่งตัวแทนลงเลือกตั้งตามอัตราส่วนที่ได้รับ รวมถึงมีผู้ว่าการเขตปกครองของตนเองเทียบเท่ากับผู้ว่าการของรัฐอื่น ๆ และประธานาธิบดีก็ต้องประจำอยู่ที่นี่ ดิสตริกต์ออฟโคลัมเบียนี้เรียกย่อ ๆ ว่า ดี.ซี.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา

รายพระนามพระมหากษัตริย์และกษัตรีพระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริก.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

รายนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอน

วอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอน (Walter Bradford Cannon; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1871 – 1 ตุลาคม ค.ศ. 1945) เป็นนักสรีรวิทยาชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองแพรรีดูเชียนในรัฐวิสคอนซิน เป็นบุตรของคอลเบิร์ต แฮนส์เชตต์ แคนนอนและวิลมา เดนิโอ เขาเรียนจบจากโรงเรียนแพทย์ฮาร์วาร์ดในปี..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และวอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอน · ดูเพิ่มเติม »

วิรุฬ เตชะไพบูลย์

นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจของพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และวิรุฬ เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดาร์ตมัธ

ตึกเบเกอร์ มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธ วิทยาลัยดาร์ตมัธ (Dartmouth College) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในไอวีลีกในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง แฮนโอเวอร์ ในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ และเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่ก่อตั้งก่อนช่วงการปฏิวัติอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2312 (ค.ศ. 1769) โดยเงินทุนก่อตั้งมหาวิทยาลัยส่วนหนึ่งมาจากชาวอินเดียนแดงเผ่าโมฮีแกน โดยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 5,600 คน มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธมีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ และบริหารธุรกิจ (ประจำปี 2552 ได้ถูกจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บว่า ในด้านบริหารธุรกิจเป็นอันดับสองของประเท.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และวิทยาลัยดาร์ตมัธ · ดูเพิ่มเติม »

สิบสามอาณานิคม

มอาณานิคม (Thirteen Colonies) เป็นอาณานิคมของอังกฤษฝั่งแอตแลนติกในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมบริติชอเมริกา ก่อตั้งระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และสิบสามอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาพอร์ตสมัท

นธิสัญญาพอร์ตสมัท (Treaty of Portsmouth) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากที่สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ในปี 1904-1905 จบลงโดยที่มีจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ โดยสนธิสัญญานี้มีการลงนามและประทับตรา ณ อาคารในอู่ต่อเรือพอร์ตสมัทของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 1905 และคณะองคมนตรีแห่งสมเด็จพระจักพรรดิได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 1905 สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นในปี 1904-1905 ถือเป็นสงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกที่เกิดขึ้นในศตวรรศที่ 20 ฝ่ายหนึ่งมีกองทัพบกที่ใหญ่ที่สุดในโลกอย่างจักรวรรดิรัสเซีย และฝ่ายที่มีกองทัพเรือที่แข็งแกร่งที่สุดในเอเชียตะวันออกอย่างจักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และสนธิสัญญาพอร์ตสมัท · ดูเพิ่มเติม »

หินแกรนิต

ระยะใกล้ของหินแกรนิตจากอุทยานแห่งชาติหุบเขาโยเซไมต์ แม่น้ำเมอร์ซ เหมืองหินแกรนิตสำหรับวัดมอร์มอน รัฐอูทาห์ พื้นผิวดินกระจัดกระจายไปด้วยก้อนหินขนาดใหญ่และเศษของหินแกรนิตที่หลุดล่วงลงมา ซึ่งหลุดหล่นลงมาจากผนังของหน้าผา Little Cottonwood Canyon เหมืองประกอบไปด้วยบล็อกที่แตกย่อยออกไป หินแกรนิต (granite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน สีจางพบได้ทั่วไปเป็นปรกติ แกรนิตมีเนื้อขนาดปานกลางถึงเนื้อหยาบ บางครั้งจะพบผลึกเดี่ยวๆบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่ามวลเนื้อพื้น (groundmass) เกิดเป็นหินที่รู้จักกันในนามของพอร์พายรี (porphyry) แกรนิตอาจมีสีชมพูจนถึงสีเทาเข้มหรือแม้แต่สีดำขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีและองค์ประกอบทางแร่ หินโผล่ของหินแกรนิตมีแนวโน้มจะเกิดเป็นมวลหินโผล่ขึ้นมาเป็นผิวโค้งมน บางทีหินแกรนิตก็เกิดเป็นหลุมยุบรูปวงกลมที่รายล้อมไปด้วยแนวเทือกเขาเกิดเป็นแนวการแปรสภาพแบบสัมผัสหรือฮอร์นเฟลส์ แกรนิตมีเนื้อแน่นเสมอ (ปราศจากโครงสร้างภายใน) แข็ง แรงทนทาน ดังนั้นจึงถูกนำไปใช้เป็นหินก่อสร้างกันอย่างกว้างขวาง ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของหินแกรนิตคือ 2.75 กรัม/ซม3 และค่าความหนืดที่อุณหภูมิและความกดดันมาตรฐานคือ ~4.5 • 1019 Pa•s.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และหินแกรนิต · ดูเพิ่มเติม »

อลิซ บราวน์

อลิซ บราวน์ อลิซ บราวน์ (Alice Brown 5 ธันวาคม ค.ศ. 1856 - 21 มิถุนายน ค.ศ. 1948) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และชีวประวัติชาวอเมริกัน เกิดในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ หลังจบการศึกษา เธอสอนหนังสืออยู่หลายปี โดยที่ “ไม่มีสักวินาทีที่จะไม่เกลียดการสอนหนังสือ” ในระหว่างนั้นก็เขียนเรื่องสั้นส่งไปตามนิตยสาร เมื่ออายุ 28 เธอย้ายไปอยู่บอสตันและเข้าทำงานในวารสารเยาวชนเล่มหนึ่ง แม้จะยังเขียนนวนิยายออกมาเรื่อยๆ แต่เรื่องราวของท้องถิ่นในนิวแฮมเชอร์ของเธอก็เริ่มเสื่อมความนิยม แต่กระนั้น อลิซ บราวน์ก็สร้างรายได้จากงานเขียนมากพอที่จะมีบ้านสามหลังและเดินทางไปอังกฤษสองครั้งกับหลุยส์ กีนีย์เพื่อนสนิท เธอหยุดเขียนหนังสือเมื่ออายุ 97 ปี และเสียชีวิตในอีกสิบสองปีต่อมาโดยครองตัวเป็นโสดตลอดชีวิต.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และอลิซ บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์สเตต 95

อินเตอร์สเตต 95 (Interstate 95 หรือ I-95) เป็นทางหลวงอินเตอร์สเตตสายหลักในพื้นที่ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ มีเส้นทางขนานไปกับชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก และทางหลวงสหรัฐหมายเลข 1 จากรัฐฟลอริดาไปจนถึงรัฐเมน โดยทั่วไปแล้ว อินเตอร์สเตต 95 จะผ่านเมืองใหญ่ที่อยู่ริมทะเลและพื้นที่ปริมณฑล ได้แก่ ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ เช่น ไมแอมี แจ็กสันวิลล์ ซาวันนาห์ เฟย์เอตต์วิลล์ และริชมอนด์; ส่วนในทางแอตแลนติกกลางไปจนถึงตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น วอชิงตัน ดี.ซี. บัลติมอร์ วิลมิงตัน ฟิลาเดลเฟีย นครนิวยอร์ก นิวเฮเวน โพรวิเดนซ์ บอสตัน และพอร์ตแลนด์ แต่เส้นทางจะห่างออกจากชายฝั่งระหว่างซาวันนาห์ จนถึงวอชิงตัน ดี.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และอินเตอร์สเตต 95 · ดูเพิ่มเติม »

อี ซึง-มัน

อี ซึง-มัน (Yi Seung-man;; เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกในชื่อ "ซึงมัน รี" ("Syngman Rhee"); 26 มีนาคม พ.ศ. 2418 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีคนแรกแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และอี ซึง-มัน · ดูเพิ่มเติม »

อดัม แซนด์เลอร์

อดัม ริชาร์ด แซนด์เลอร์ (Adam Richard Sandler) เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1966 เป็นนักแสดงตลกชาวอเมริกัน นักดนตรี นักเขียนบทภาพยนตร์ และ ผู้สร้างภาพยนตร์ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักแสดงในรายการโทรทัศน์ Saturday Night Live และมีผลงานการแสดงภาพยนตร์อย่าง Billy Madison (1995), Happy Gilmore (1996) และ Big Daddy (1999).

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และอดัม แซนด์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม)

อเล็กซานเดรีย สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และอเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น สมิธ (นักสำรวจ)

กัปตันจอห์น สมิธ ศตวรรษที่ 18 จอห์น สมิธ (John Smith, เกิด 6 มกราคม ค.ศ. 1580 – ตาย 21 มิถุนายน ค.ศ. 1631) เป็นพลเรือเอกของนิวอิงแลนด์ เป็นทหาร นักสำรวจ และ นักเขียนชาวอังกฤษ ถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นครั้งแรกของชาวอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นหัวหน้าของผู้คนในอาณานิคมเวอร์จิเนีย (ในเมืองเจมส์ทาวน์) ระหว่างเดือนกันยายน..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และจอห์น สมิธ (นักสำรวจ) · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เคร์รี

อห์น ฟอบส์ เคร์รี (John Forbes Kerry) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66, อดีตสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกาจากรัฐแมสซาชูเซตส์ โดยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของวุฒิสภา นอกจากนี้ เขายังเคยเป็นผู้ท้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2547 อีกด้วย ซึ่งเขาก็พ่ายแพ้แก่ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช เคร์รีเกิดที่เมืองออโรรา ในรัฐโคโลราโด และเข้าเรียนในโรงเรียนประจำในรัฐแมสซาชูเซตส์และรัฐนิวแฮมป์เชียร์ เขาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเยลเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และจอห์น เคร์รี · ดูเพิ่มเติม »

จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์

ฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear",สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และจุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารโลก

นาคารโลก (World Bank) หรือเรียกว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และธนาคารโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)

#ทอร์เบราว์เซอร์ --> ทอร์ (Tor) เป็นซอฟต์แวร์เสรี (ฟรี) ที่ช่วยให้สื่อสารทางอินเทอร์เน็ตอย่างนิรนามได้ด้วยการจัดเส้นทางการสื่อสารแบบหัวหอม รวมทั้งช่วยให้สามารถเรียกดูเว็บไซต์บางแห่งที่ถูกเซ็นเซอร์ได้ ส่วนชื่อเป็นอักษรย่อจากโปรเจ็กต์ซอฟต์แวร์ดั้งเดิมคือ "The Onion Router" (เราเตอร์หัวหอม) ทอร์ส่งการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายทั่วโลก ฟรี ให้บริการโดยอาสาสมัคร และมีสถานีส่งต่อ/รีเลย์มากกว่า 7,000 สถานี เพื่อซ่อนตำแหน่งและการใช้งานของผู้ใช้จากใครก็ได้ที่ทำการเพื่อสอดแนมทางเครือข่าย หรือเพื่อวิเคราะห์การสื่อสาร เพราะการใช้ทอร์จะทำให้ตามรอยกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตกลับไปหาผู้ใช้ได้ยากขึ้น ซึ่งรวมทั้ง "การเยี่ยมใช้เว็บไซต์ การโพสต์ข้อความออนไลน์ การส่งข้อความทันที และรูปแบบการสื่อสารอื่น ๆ" ทอร์มุ่งหมายเพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ รวมทั้งป้องกันเสรีภาพและให้สมรรถภาพในการสื่อสารอย่างเป็นส่วนตัว โดยป้องกันการสื่อสารไม่ให้เฝ้าสังเกตได้ การจัดเส้นทางแบบหัวหอม (Onion routing) ทำให้เกิดผลโดยการเข้ารหัสลับในชั้นโปรแกรมประยุกต์ของโพรโทคอลสแตกที่ใช้ในการสื่อสาร โดยทำเป็นชั้น ๆ เหมือนกับของหัวหอม คือทอร์จะเข้ารหัสข้อมูล รวมทั้งเลขที่อยู่ไอพีของโหนดหรือสถานีต่อไปเป็นชั้น ๆ แล้วส่งข้อมูลผ่านวงจรเสมือนที่ประกอบด้วยสถานีรีเลย์ของทอร์ที่เลือกโดยสุ่มเป็นลำดับ ๆ สถานีรีเลย์แต่ละสถานีจะถอดรหัสชั้นการเข้ารหัสชั้นหนึ่ง เพื่อหาว่า สถานีไหนเป็นรีเลย์ต่อไปในวงจร แล้วส่งข้อมูลเข้ารหัสที่เหลือไปให้ สถานีสุดท้ายจะถอดรหัสชั้นลึกสุด แล้วส่งข้อมูลดั้งเดิมไปยังเป้าหมายโดยไม่เปิดเผยและก็ไม่รู้ด้วยถึงเลขที่อยู่ไอพีซึ่งเป็นแหล่งเบื้องต้น เพราะการจัดเส้นทางการสื่อสารจะปิดไว้ส่วนหนึ่ง ณ สถานีเชื่อมต่อทุก ๆ สถานีภายในวงจร วิธีการนี้กำจัดจุด ๆ เดียวชนิดที่การสอดแนมทางเครือข่ายอาจกำหนดต้นปลายการสื่อสาร แต่ฝ่ายตรงข้ามก็อาจพยายามระบุผู้ใช้โดยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอาจทำได้โดยการถือเอาประโยชน์จากจุดอ่อนของซอฟต์แวร์บนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ เช่น สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐมีเทคนิคที่ใช้จุดอ่อนหนึ่งที่ตั้งชื่อรหัสว่า EgotisticalGiraffe ในเว็บเบราว์เซอร์มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ล้าสมัยรุนหนึ่ง ที่เคยรวมแจกจ่ายกับชุดโปรแกรมทอร์ และโดยทั่วไป สำนักงานจะเพ่งเล็งเฝ้าสังเกตผู้ใช้ทอร์ในโปรแกรมการสอดแนม XKeyscore ขององค์กร การโจมตีทอร์เป็นประเด็นงานวิจัยที่ยังดำเนินการอยู่ ซึ่งโปรเจ็กต์ทอร์เองก็สนับสนุน อย่างไรก็ดี ไม่ใช่เพียงแค่ครั้งหนึ่งเท่านั้นเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 ที่ทอร์ได้พัฒนาขึ้นโดยบุคคลที่อยู่ใต้สัญญาการว่าจ้างจากสำนักงานโปรเจ็กต์การวิจัยก้าวหน้าของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ (DARPA) และจากแล็บวิจัยกองทัพเรือสหรัฐ (U.S. Naval Research Laboratory) แต่ตั้งแต่เริ่มโครงการมา เงินทุนโดยมากก็มาจากรัฐบาลกลางสหรั.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และทอร์ (เครือข่ายนิรนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 3

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 3 (U.S. Route 3 ย่อเป็น US 3) เป็นทางหลวงสหรัฐสายหนึ่ง มีระยะทาง จากเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ผ่านรัฐนิวแฮมป์เชียร์ ไปยังเขตแดนแคนาดา-สหรัฐอเมริกา ใกล้กับทะเลสาบคอนเนกทิคัตแห่งที่สาม ซึ่งเชื่อมต่อกับทางหลวงรัฐควิเบกหมายเลข 257 ของประเทศแคนาดา ทางหลวงหมายเลข 3 ส่วนที่ผ่านรัฐนิวแฮมป์เชียร์ มีอีกชื่อหนึ่งว่าทางหลวงดาเนียล เว็บสเตอร์ ทางหลวงหมายเลข 3 ตั้งแต่เมืองเบอร์ลิงตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ ถึงเมืองแนชัว รัฐนิวแฮมป์เชียร์ เป็นฟรีเวย์ ช่วงที่ผ่านรัฐนิวแฮมป์เชียร์หรือเรียกว่าเอเวอเรตต์เทิร์นไพก์จะเป็นส่วนที่ไม่เก็บค่าผ่านทาง ส่วนช่วงที่ผ่านแมสซาชูเซตส์จะเรียกว่าทางพิเศษตะวันตกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ ยังมีฟรีเวย์อีกช่วงหนึ่งในตอนเหนือของรัฐนิวแฮมป์เชียร์ โดยที่ทางหลวงหมายเลข 3 จะไปซ้อนทับกับฟรังโกเนียนอตช์พาร์กเวย์ และอินเตอร์สเตต 93 ทางหลวงรัฐแมสซาชูเซตส์หมายเลข 3 เชื่อมต่อปลายทางทิศใต้ของทางหลวงหมายเลข 3 ในเมืองเคมบริดจ์ และมุ่งไปยังทิศใต้สู่คาบสมุทรเคปค้อด ถึงแม้ว่าจะมีหมายเลขทางหลวงเป็นเลข 3 เหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงสหรัฐหมายเลข 3 โดยทั้งสองสาย ซึ่งเชื่อมต่อกันตั้งแต่จุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด จะถือว่าเป็นทางหลวงของรัฐ มีระยะทาง กำกับดูแลโดยกรมการขนส่งรัฐแมสซาชูเซตส์ และมีการนับหลักไมล์เพิ่มไปอีก ตั้งแต่เคปค้อดต่อเนื่องไปจนถึงเขตแดนรัฐนิวแฮมป์เชียร.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และทางหลวงสหรัฐหมายเลข 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 4

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 4 (U.S. Route 4 หรือ US 4) เป็นทางหลวงสหรัฐยาว มีปลายทางทิศตะวันตกจากอีสต์กรีนบัช รัฐนิวยอร์ก ผ่านรัฐเวอร์มอนต์ ไปยังปลายทางทิศตะวันออกที่พอร์ตสมัท รัฐนิวแฮมป์เชียร์ เมื่ออยู่ในรัฐนิวยอร์ก ทางหลวงหมายเลข 4 จะอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ แต่เมื่ออยู่ในรัฐเวอร์มอนต์และรัฐนิวแฮมป์เชียร์ เส้นทางจะอยู่ในแนวตะวันออก-ตะวันตก ซึ่งเป็นทิศทางที่เป็นมาตรฐานของระบบหมายเลขทางหลวงสหรั.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และทางหลวงสหรัฐหมายเลข 4 · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบคแลช

แบคแลช เป็นรายการแบบเพย์-เพอร์-วิว ของ WWE เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2552 ซึ่งจัดหลังเรสเซิลเมเนีย 3 สัปดาห์ โดยส่วนใหญ่คู่เอกของศึกนี้จะคลายกับศึกเรสเซิลเมเนีย โดยแต่เดิมนั้นจัดเป็นรายการเฮาส์โชว์ ในชื่อ แบคแลช:อินยัวร์เฮาส์ ต่อมาเมื่อปี 2000 จึงเปลี่ยนมาเป็น รายการเพย์-เพอร์-วิว แบบปกติ ในปี พ.ศ. 2559 รายการนี้ได้กลับมาอีกครั้งโดยเป็นศึกใหญ่ของสแมคดาวน.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบคแลช · ดูเพิ่มเติม »

ดาย ฮาร์ด 4.0 ปลุกอึด ตายยาก

ร์ด 4.0 ปลุกอึด ตายยาก (Die Hard 4.0) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/ระทึกขวัญลำดับที่ 4 ในชุด ดาย ฮาร์ด กำกับโดยเลน ไวส์แมน เขียนบทโดยมาร์ค บอมแบ็ค บรูซ วิลลิสกลับมารับบท "จอห์น แมคเคลน" อีกครั้ง หลังจากภาพยนตร์ในชุดล่าสุด ดาย ฮาร์ด 3 ออกฉายเมื่อ 12 ปีก่อน ดาย ฮาร์ด 4.0 ปลุกอึด ตายยาก ถูกจัดอยู่ในประเภทเรต PG-13 (เด็กอายุต่ำกว่า 13 ปี ควรได้รับคำแนะนำ) ซึ่งต่างจากภาคอื่นๆ ที่ได้เรต R ทั้งหมด สำหรับในอเมริกาเหนือ ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายในชื่อ Live Free or Die Hard ซึ่งดัดแปลงจากคำขวัญของรัฐนิวแฮมป์เชียร์ "Live Free or Die".

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และดาย ฮาร์ด 4.0 ปลุกอึด ตายยาก · ดูเพิ่มเติม »

คริสตา แมคออลิฟ

รอน คริสตา แมคออลิฟ (เกิด ชารอน คริสตา คอร์ริแกน; 2 กันยายน ค.ศ. 1948 – 28 มกราคม ค.ศ. 1986) เป็นคุณครูชาวอเมริกันจากคอนโคด, รัฐนิวแฮมป์เชียร์ แมคออลิฟเป็นสมาชิกหนึ่งในเจ็ดที่เสียชีวิตจากเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในระหว่างการเปิดตัวภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้รับปริญญาตรีในสาขาครุศาสตร์ และประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรัฐแฟรมมิงแฮมในปี ค.ศ. 1970 และได้ปริญญาโทด้านการดูแลการศึกษาและบริหาร จากมหาวิทยาลัยรัฐโบวี่ในปี ค.ศ. 1978 แมคออลิฟเข้ารับตำแหน่งคุณครูสังคมที่โรงเรียนมัธยมต้นคอนโคดในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ ในปี ค.ศ. 1983 ในปี ค.ศ. 1985 แมคออลิฟได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมในโครงการ นาซา คุณครูในโครงการอวกาศ ซึ่งเธอได้รับคัดเลือกจากคนมากกว่า 11,000 คน ในฐานะที่แมคออลิฟได้เป็นหนึ่งในสมาชิกคนหนึ่งของภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้วางแผนไว้ว่า เธอจะกลับลงมาเป็นครูครั้งที่สอง และจะสอนเรื่องเกี่ยวกับกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1986 กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ได้เกิดระเบิดขึ้น หลังจากกระสวยอวกาศขึ้นได้เพียง 72 วินาที หลังจากที่เธอเสียชีวิต โรงเรียนและกองทุนศึกษาได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เธอ และในปี ค.ศ. 2004 แมคออลิฟได้รับรางวัล Medal of Honor Medal of Honorium.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และคริสตา แมคออลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ เวย์น แคลลีส์

ซาราห์ เวย์น แคลลีส์ หรือชื่อจริง ซาราห์ แอนน์ แคลลีส์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1977 เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกันซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีสำหรับการรับบทบาทเป็น ซาราห์ แทนเครดี้ ในรายการโทรทัศน์อเมริกันเรื่อง Prison Break.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และซาราห์ เวย์น แคลลีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวอิงแลนด์

นิวอิงแลนด์ (New England) เป็นเขตหนึ่งในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีเมืองบอสตัน เป็นเมืองขนาดใหญ่ในเขต เขตนิวอิงแลนด์ประกอบด้วย 6 รัฐ ได้แก่ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐนิวแฮมป์เชียร์ รัฐเมน รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเวอร์มอนต์ นิวอิงแลนด์มีทีมกีฬาที่สำคัญคือ นิวอิงแลนด์ เพทริออตส์ ทีมอเมริกันฟุตบอลจากเมืองฟอกซ์โบโร และทีมฟุตบอล นิวอิงแลนด์ เรฟโวลูชัน.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และนิวอิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นิโคลัส สปากส์

นิโคลัส ชาลส์ สปากส์ (Nicholas Charles Sparks) เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1965 เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน มีผลงานขายดีเป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก เขาแต่งนวนิยายที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งหมด 18 เรื่อง โดยที่มีแก่นเรื่องเกี่ยวกับ ความเชื่อของชาวคริสต์ ความรัก โศกนาฏกรรม และโชคชะตา ผลงานของเขาถูกนำไปดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ถึง 11 เรื่อง และได้รับการตอบรับที่ดีจากนักวิจารณ.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และนิโคลัส สปากส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน เพียร์ซ

Franklin Pierce รองประธานาธิบดีวิลเลี่ยม อาร์ คิง. แฟรงกลิน เพียร์ซ (Franklin Pierce)ประธานาธิบดีคนที่ 14 ของสหรัฐอเมริกา มาจากพรรคเดโมแครตเกิดเมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1804ที่ ฮิลส์โบโร่ นิวแฮมป์เชียร์ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีตั้งแต่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1853 ถึง 4 มีนาคม ค.ศ. 1857ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869ขณะอายุได้ 65 ปี หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวแฮมป์เชียร์.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และแฟรงกลิน เพียร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

แพริโดเลีย

รูปถ่ายจากดาวเทียมของที่ราบสูงไซโดเนียบนดาวอังคาร ซึ่งบางครั้งเรียกว่า "Face on Mars (ใบหน้าบนดาวอังคาร)" ส่วนรูปที่ถ่ายมาจากมุมอื่น ๆ จะไม่สามารถเห็นภาพลวงตานี้ แพริโดเลีย หรือ แพไรโดเลีย (Pareidolia) เป็นปรากฏการณ์ทางจิต ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สิ่งเร้าเช่นภาพหรือเสียงที่ไม่ชัดเจนและไม่มีรูปแบบ (คือบังเอิญ สุ่ม) ว่ามีความหมายมีความสำคัญ เป็นการรับรู้แบบหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบหรือความสัมพันธ์กันในข้อมูลสุ่มที่ไม่มีความหมาย ตัวอย่างที่สามัญอย่างหนึ่งคือการเห็นรูปสัตว์หรือใบหน้าในก้อนเมฆ ชายบนดวงจันทร์ กระต่ายบนดวงจันทร์ และการได้ยินข้อความที่ซ่อนไว้บนแผ่นเสียงไวนิลที่เล่นย้อนทาง คำว่า Pareidolia มาจากคำในภาษากรีกว่า para- (παρά, แปลว่า "ข้าง ๆ, ไปเป็นหน้ากระดาน, แทนที่") ซึ่งในที่นี้หมายถึงอะไรที่บกพร่อง ผิดพลาด หรือเกิดขึ้นแทนที่ และคำนามว่า eidōlon (εἴδωλον แปลว่า "ภาพ, รูปร่าง, สัณฐาน") ซึ่งมีความหมายเป็นส่วนย่อยของคำว่า eidos.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และแพริโดเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แมนดี มัวร์

อะมานดา ลีจ "แมนดี" มัวร์ (Amanda Leigh "Mandy" Moore) (เกิดวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2527) เป็นนักร้อง, นักแต่งเพลง, นักแสดง และนักออกแบบชาวอเมริกัน แมนดีเติบโตในรัฐฟลอริดา เธอมีชื่อเสียงแต่ครั้งวัยรุ่นราวต้นคริสต์ทศรรษ 2000 เมื่อเธอออกอัลบั้มแนวป๊อปทีนในชื่อว่า โซเรียล, ไอวอนนาบีวิธยู และ แมนดีมัวร์ แมนดีเริ่มต้นชีวิตการแสดงในปี พ.ศ. 2545 เมื่อเธอได้แสดงภาพยนตร์ในเรื่องแรกที่ชื่อว่า ก้าวสู่ฝัน วันหัวใจพบรัก (A Walk to Remember) และเรื่อง โอ้พระเจ้า สาวจิ้นจุ๊บป่อง (Saved) ในด้านชีวิตส่วนตัว เธอมีความสัมพันธ์กับแอนดี ร็อดดิก นักเทนนิส, วิลเมอร์ วาลเดอร์รามา นักแสดง และแซ็ก บราฟฟ์ ซึ่งถูกวิพากษ์วิจารณ์ในสื่อหลายแขนง ในส่วนงานดนตรี แมนดีได้ออกอัลบั้มภาษาอังกฤษชุดล่าสุดในชื่อว่า ไวด์ โฮป ในปี..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และแมนดี มัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

แดน บราวน์

แดน บราวน์ (Dan Brown) นักเขียนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงกว้างขวางจากผลงานนิยายสืบสวนสอบสวนอิงประวัติศาสตร์อย่าง รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และแดน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนแธเนียล ฮอว์ธอร์น

แนแธเนียล ฮอว์ธอร์น (Nathaniel Hawthorne หรือชื่อเมื่อเกิด: Nathaniel Hathorne) (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1804 - (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1864) แนแธเนียล ฮอว์ธอร์นเป็นนักเขียนนวนิยาย และ นักเขียนเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ที่เกิดเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1804 ที่เมืองเซเลมในแมสซาชูเซตส์ ในสหรัฐอเมริกา และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1864 ที่เมืองพลิมัธในนิวแฮมป์เชียร์ ผลงานสำคัญของแนแธเนียล ฮอว์ธอร์นก็ได้แก่ The Scarlet Letter (อักษรสีแดง) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1850 และ The House of the Seven Gables (บ้านเจ็ดจั่ว) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1851 ฮอว์ธอร์นเป็นบุตรของ แนแธเนียล แฮทธอร์น (Nathaniel Hathorne) และเอลิซาเบธ คลาร์ค แมนนิง แฮทธอร์น ต่อมาฮอว์ธอร์นก็เปลี่ยนนามสกุลจาก “Hathorne” เป็น “Hawthorne” โดยเติม “w” เข้าไปในชื่อ เพื่อที่จะแยกจากครอบครัวของญาติที่รวมทั้งจอห์น แฮทธอร์น (John Hathorne) ผู้เป็นผู้พิพากษาคนหนึ่งระหว่างการพิจารณาคดีแม่มดแห่งซาเลม (Salem Witch Trials) ฮอว์ธอร์นเข้าศึกษาที่วิทยาลัยโบว์ดิน (Bowdoin College) และสำเร็จการศึกษาในปี ค.ศ. 1825 เพื่อนร่วมชั้นก็ได้แก่ผู้ที่ในอนาคตกลายมาเป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาแฟรงกลิน เพียร์ซ และกวีเฮนรี แวดสเวิร์ธ ลองเฟลโลว์ (Henry Wadsworth Longfellow) ในปี ค.ศ. 1828 ฮอว์ธอร์นก็ตีพิมพ์งานชิ้นแรกโดยไม่ใช้ชื่อ Fanshawe ในปี ค.ศ. 1828 ก็ตีพิมพ์เรื่องสั้นอีกหลายเรื่องในนิตยสารหลายเล่มที่มารวมเล่มในปี ค.ศ. 1837 เป็น Twice-Told Tales (เรื่องเล่าครั้งที่สอง) ปีต่อมาฮอว์ธอร์นก็หมั้นกับโซเฟีย พีบอดี ฮอว์ธอร์นทำงานที่ด่านศุลกากรและเข้าเป็นสมาชิกของบรุคฟาร์ม (Brook Farm) ซึ่งเป็นชุมนุมของกลุ่มคตินิยมเหนือเหตุผล (Transcendentalism) ก่อนที่สมรสกับพีบอดีในปี ค.ศ. 1842 หลังจากนั้นฮอว์ธอร์นและโซเฟียก็ย้ายไปอยู่ที่บ้านเดอะโอลด์แมนส์ (The Old Manse) ที่ คองคอร์ด, แมสซาชูเซตส์, ต่อมาก็ย้ายไปยังเดอะเบิร์คเชอร์ส (The Berkshires) ในเซเลม หลังจากนั้นก็ย้ายกลับมาคองคอร์ดที่บ้านเดอะเวย์ไซด์ (The Wayside) The Scarlet Letter ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1850 ตามด้วยนวนิยายต่อมาอีกหลายเรื่อง เมื่อได้รับตำแหน่งหน้าที่ทางการเมืองฮอว์ธอร์นก็ย้ายครอบครัวไปยุโรปก่อนที่ย้ายกลับมาที่บ้านเดอะเวย์ไซด์ในปี ค.ศ. 1860 ฮอว์ธอร์นเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1864 ที่เมืองพลิมัธในนิวแฮมป์เชียร์ งานของฮอว์ธอร์นส่วนใหญ่เป็นงานในบริเวณนิวอิงแลนด์ งานหลายชิ้นเป็นงานที่แฝงอุปมานิทัศน์ทางจริยธรรมจากอิทธิพลเพียวริตัน งานเขียนนวนิยายเป็นงานที่จัดอยู่ในกลุ่มขบวนการจินตนิยมในกลุ่มย่อยที่เรียกว่า dark romanticism แก่่นของเรื่องมักจะมีศูนย์กลางเกี่ยวกับความชั่วร้ายและความมีบาปของมนุษย์ และมักจะสื่อความหมายทางจริยธรรมและเต็มไปด้วยความขัดแย้งอันลึกซึ้งทางจิตวิทยา งานเขียนของก็รวมทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น และชีวประวัติของเพื่อน แฟรงกลิน เพียร์ซ.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และแนแธเนียล ฮอว์ธอร์น · ดูเพิ่มเติม »

โพลีแอนนา

ลีแอนนา (Pollyanna) เป็นนวนิยายบันเทิงคดีโดยเอเลนอร์ พอร์เตอร์ ที่ขายดีที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และโพลีแอนนา · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แลงดอน

รเบิร์ต แลงดอน (Robert Langdon) เป็นตัวละครที่สร้างขึ้นโดย แดน บราวน์ เป็นศาสตราจารย์ด้านสัญลักษณ์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และโรเบิร์ต แลงดอน · ดูเพิ่มเติม »

ไชนา

น มารี ลอว์เลอร์ (Joan Marie Laurer; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1969 - 20 เมษายน ค.ศ. 2016) อดีตนักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน อดีตสังกัดเวิลด์เรสต์ลิงเฟดดิเรชั่น(WWF)ในชื่อ ไชนา (Chyna) เป็นอดีตแชมป์หญิง WWE อดีตสมาชิกกลุ่มดี-เจเนอเรชันเอ็กซ์ และอดีตบอดี้การ์ดให้ทริปเปิลเอช สมัยอยู่กลุ่มดี-เอ็กซ์ นอกจากนี้ยังเป็นผู้หญิงคนแรกที่เข้าร่วมรอยัลรัมเบิล และเป็นผู้หญิงคนแรกคนเดียวที่ได้แชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และไชนา · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรียนฮัสกี

ซบีเรียนฮัสกี (Siberian Husky; Сибирский хаски, Sibirskiy Haski) เป็นสุนัขขนาดกลาง ขนฟูแน่น จัดอยู่ในกลุ่มสุนัขใช้งาน มีต้นกำเนิดทางตะวันออกของไซบีเรีย เพาะพันธุ์มาจากสุนัขในวงศ์สปิตซ์ มีลักษณะขน 2 ชั้นฟูแน่น, หางรูปเคียว, หูเป็นรูปสามเหลี่ยมตั้งชัน และลายที่เป็นลักษณะเฉพาะ ไซบีเรียนฮัสกีเป็นสุนัขที่แข็งแรง คล่องแคล่ว เต็มไปด้วยพลัง และยืดหยุ่น เป็นคุณสมบัติที่สืบทอดจากบรรพบุรุษที่มาจากสิ่งแวดล้อมที่หนาวเย็นอย่างรุนแรงของไซบีเรีย และจากการเพาะพันธุ์ของชาวชุกชี (Chukchi) ที่อาศัยอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชีย สุนัขถูกนำเข้ามาในอะแลสกา ระหว่างช่วงตื่นทองที่เมืองโนม (Nome) และแพร่เข้าสู่สหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดาในฐานะสุนัขลากเลื่อน ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นสุนัขเลี้ยงตามบ้านในภายหลังอย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และไซบีเรียนฮัสกี · ดูเพิ่มเติม »

เมแกน ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์

มแกน ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์ (Meghan, Duchess of Sussex; ประสูติ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2524) พระนามเมื่อแรกประสูติว่า เรเชล เมแกน มาร์เกิล (Rachel Meghan Markle) เป็นพระชายาในเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ เป็นอดีตนักแสดง นางแบบ และนักมนุษยธรรมชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทเรเชล เซน (Rachel Zane) ในซีรีส์เรื่อง คู่หูทนายป่วน (Suits) และจากบทเอมี เจสซัป (Amy Jessup) ในซีรีส์เรื่อง ฟรินจ์ (Fringe) หลังพิธีเสกสมรสกับเจ้าชายแฮร์รีในวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเมแกน ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. ดี. แซลินเจอร์

. ดี.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเจ. ดี. แซลินเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจนนิเฟอร์ ลี

นนิเฟอร์ มิเชลล์ ลี (Jennifer Michelle Lee; Jennifer Michelle Rebecchi เมื่อเกิดปี ค.ศ. 1971)  หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจนนิเฟอร์ ลี เป็นชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ ที่รู้จักกันดีในชื่อของผู้เขียนและผู้กำกับการ์ตูนดิสนีย์ Frozen (2013) ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลออสการ์สาขา Academy Award for Best Animated Feature  ลีเป็นผู้กำกับหญิงคนแรกของ Walt Disney Animation Studios ในการผลิตฟิเจอร์ฟิล์ม  ภาพยนตร์วอลต์ดิสนีย์ และเป็นผู้อำนวยการหญิงคนแรกของภาพยนตร์ที่สร้างรายได้มากกว่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐจากบ็อกซ์ออฟฟ.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเจนนิเฟอร์ ลี · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลาตะวันออก

ตเวลาตะวันออก (สีแดงอ่อน) เขตเวลาตะวันออก (Eastern Time Zone) เป็นเขตเวลาที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา, แคนาดา และประเทศในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ สถานที่ที่ใช้เวลามาตรฐานตะวันออกได้ เมื่อเวลามาตรฐานของประเทศนั้นๆ ช้ากว่าเวลามาตรฐานสากลเชิงพิกัดอยู่ 5 ชั่วโมง (UTC-05.00).

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเขตเวลาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เด็กสร้างเมือง

็กสร้างเมือง (Kid Nation) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ของสหรัฐอเมริกา โดยมีโจนาธาน คาร์ช เป็นพิธีกร ออกอากาศครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และเด็กสร้างเมือง · ดูเพิ่มเติม »

UTC−04:00

UTC−04:00 เป็นออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่ลบ 4 ชั่วโมงจากเวลามาตรฐานสากล (UTC).

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และUTC−04:00 · ดูเพิ่มเติม »

Very Long Baseline Array

ที่ตั้งของ VLBA Very Long Baseline Array หรือ VLBA เป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดใหญ่ ที่ประกอบด้วยจานรับสัญญาณโทรทรรศน์วิทยุ จำนวน 10 จาน ตั้งอยู่ใน 10 เมืองของสหรัฐอเมริกา จานรับสัญญาณแต่ละจานมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เมตร หนัก 240 ตัน ควบคุมทางไกลจากศูนย์ควบคุม The Array Operations Center (AOC) ที่เมืองโซคอร์โร รัฐนิวเม็กซิโก (ที่เดียวกับศูนย์ควบคุม Very Large Array) VLBA เริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 แล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2536 เริ่มปฏิบัติงานพร้อมกันทั้งสิบกล้องเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ก่อสร้างด้วยงบประมาณ 80 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาที่ใหญ่ที่สุดในโลก เทียบเท่ากับกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8,611 กิโลเมตร จานรับสัญญาณของ VLBA ตั้งอยู่ที่ จานรับสัญญาณที่ St. Croix, U.S. Virgin Islands.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และVery Long Baseline Array · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐนิวแฮมป์เชียร์และ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

New Hampshireมลรัฐนิวแฮมป์เชียร์นิวแฮมป์เชียร์นิวแฮมไชร์นิวแฮมเชียร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »