โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ดัชนี หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

16 ความสัมพันธ์: บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพรความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25แปลก พิบูลสงคราม

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย

วามสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย เป็นความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ทั้ง 2 ประเทศสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 22 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 22 ของไทย (25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 กรมขุนชัยนาทนเรนทร ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้ลงนามในประกาศ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร์ ณ สงขลา) ประธานรัฐสภา เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 23 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 23 ของไทย (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศและแต่งตั้งรัฐมนตรีชั่วคราว ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 24 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24 ของไทย (6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2495) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 25 ของไทย (24 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 24 มีนาคม..

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »