โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

ดัชนี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

85 ความสัมพันธ์: ชูชีพ หาญสวัสดิ์ช่วง เชวงศักดิ์สงครามพรรคชาติไทยพัฒนาพรรคเกษตรสังคมพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พินิจ จันทรสุรินทร์กฤษฎา บุญราชการยางแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลามนตรี พงษ์พานิชยุคล ลิ้มแหลมทองรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามอธิบดีกรมประมงวันมูหะมัดนอร์ มะทาศิริ สิริโยธินสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติสมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมศักดิ์ เทพสุทินสวัสดิ์ คำประกอบสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสุวิทย์ คุณกิตติสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตรสนั่น ขจรประศาสน์หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)หาญ ลีนานนท์หนองคาย ส.ประภัสสรอาณัติ อาภาภิรมองค์การตลาดเพื่อเกษตรกรอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริอนุดิษฐ์ นาครทรรพ...ผิน ชุณหะวัณจรัลธาดา กรรณสูตจังหวัดนครนายกธีระ วงศ์สมุทรธีระ สูตะบุตรถวิล จันทร์ประสงค์ทวิช กลิ่นประทุมทวี บุณยเกตุณรงค์ วงศ์วรรณควง อภัยวงศ์คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คนเดือนตุลาฉัตรชัย สาริกัลยะประภัตร โพธสุธนประมาณ อดิเรกสารปรีดา กรรณสูตปองพล อดิเรกสารปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยานิพนธ์ พร้อมพันธุ์แปลก พิบูลสงครามโรงเรียนทวีธาภิเศกโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขยายดัชนี (35 มากกว่า) »

ชูชีพ หาญสวัสดิ์

นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ (30 กันยายน 2487 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันต้องโทษจำคุกในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและชูชีพ หาญสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและช่วง เชวงศักดิ์สงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพรรคชาติไทยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเกษตรสังคม

รรคเกษตรสังคม เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2517 โดยมีนาย เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ เป็นหัวหน้าพรรคและมีนาย จารุบุตร เรืองสุวรรณ เป็นเลขาธิการพรรค โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งอาทิ น้อม อุปรมัย สวัสดิ์ คำประกอบ สะไกร สามเสน อุดร ตันติสุนทร ปัญจะ เกสรทอง ประเทือง คำประกอบ แผน สิริเวชชะพัน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพรรคเกษตรสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ที่ประชุมใหญ่ของพรรคมีมติเอกฉันท์ให้รวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)

อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และเป็นผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)

ระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการในสมัยที่พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี เริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)

อำมาตย์ตรี พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) (? - พ.ศ. 2521) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาต.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จันทรสุรินทร์

ระวังสับสนกับ: พินิจ จันทร์สมบูรณ์ ดร.พินิจ จันทรสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางหลายสมั.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและพินิจ จันทรสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา บุญราช

นายกองเอก กฤษฎา บุญราช (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน กรรมการในคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ผอ.ศปป.2 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ในคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ รองประธานกรรมการคนที่สอง ในคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์ แห่งประเทศไทย กรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 และเป็นอดีตอธิบดีกรมการปกครอง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา อดีตคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและกฤษฎา บุญราช · ดูเพิ่มเติม »

การยางแห่งประเทศไทย

การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand อักษรย่อ: กยท.; RAOT) รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2558 ตามพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและการยางแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2528 เปิดสอนหลากหลายหลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากเป็นลำดับต้นๆของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีจำนวนศิลปินดาราศึกษาอยู่เป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและมหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ

"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิต พร้อมพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยทักษิณประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลา และวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมสาขาวิชาการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า มหาวิทยาลัยทักษิณ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลาและวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีศุนย์อยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสินในระดับปริญญาตรี โท และเอก ครอบคลุมสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและมนตรี พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

ยุคล ลิ้มแหลมทอง

นายสัตวแพทย์ ยุคล ลิ้มแหลมทอง กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ครม.ยิ่งลักษณ์ 3) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและยุคล ลิ้มแหลมทอง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ

130px รายนามนิสิตเก่าและบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยทักษิณ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทย

รายนามต่อไปนี้เป็นสตรีที่ได้ดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีไทย หมายถึงสตรีคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมประมง

้านล่างนี้คือรายนามเจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำ อธิบดีกรมการประมง และอธิบดีกรมประมง.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและรายนามอธิบดีกรมประมง · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ สิริโยธิน

ลตรีศิริ สิริโยธิน (5 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและศิริ สิริโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

นโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวนช., นวนช., National Research and Innovation Policy Council) สภาที่ปรึกษาที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดทิศทางและนโยบายการดำเนินงานของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสมศักดิ์ เทพสุทิน · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสวัสดิ์ คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หน่วยงานระดับกรมในสังกัด กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีหน้าที่จัดทำร่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ชื่อย่อ: สกพอ.) หน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคลภายใต้การบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบและโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสุวิทย์ คุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร

.ศ. 2503 พลเอกสุรจิต จารุเศรณีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สมัยนั้น ได้พิจารณาเห็นว่ามีสถานีวิทยุจำนวนมากในประเทศไทยจึงน่าจะมีสถานีวิทยุฯ เพื่อเป็นสื่อในการถ่ายทอดความรู้และวิชาการทางด้านการเกษตรให้เกษตรกรได้นำไปปรับปรุงการทำไร่นารวมทั้งเผยแพร่ข่าวโดยเฉพาะข่าวราคาสินค้าเกษตรกรรมซึ่งมีความสำคัญต่อเกษตรกรอย่างยิ่งซึ่งเกษตรกร ควรจะได้รับทราบความเคลื่อนไหวของผลิตผลการเกษตรทั้งภายในและต่างประเทศทุกระยะ เพื่อจะได้วางแผนการผลิตได้ถูกต้องโดยได้รับผลกำไรสูงสุดและไม่ถูกเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลางและข่าวดินฟ้าอากาศซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการเพาะปลูกและเพื่อเตรียมการในด้านการเกษตรและหลีกเลี่ยงภัยธรรมชาติในขณะนั้น พลเอกสุรจิต จารุเศรณีดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ได้จัดตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับกรมประชาสัมพันธ์ดำเนินการกระจายเสียงวิทยุการเกษตรขึ้นโดยใช้ห้องส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุ ป.8 ที่ซอยอารีย์ ถนนพหลโยธิน ซึ่งเดิมเป็นห้องส่งกระจายเสียงภาคภาษาจีน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)

ตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์ หรือ หลวงอิงคศรีกสิการ (14 กันยายน พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตอธิบดีกรมเกษตร และเป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

หนองคาย ส.ประภัสสร

หนอง.ประภัสสร หรือ หนอง.ประภัสสร (31 สิงหาคม พ.ศ. 2497 —) เจ้าของฉายา แข้งซ้ายลุ่มน้ำโขง เป็นนักมวยไทยชาวไทยระดับแชมป์รุ่นจูเนียร์ไลท์เวท และเฟเธอร์เวทแห่งสนามมวยราชดำเนิน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและหนองคาย ส.ประภัสสร · ดูเพิ่มเติม »

อาณัติ อาภาภิรม

นายอาณัติ อาภาภิรม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย และ อดีตผู้ว่าการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.).

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและอาณัติ อาภาภิรม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร

องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (Marketing Organization for Farmers) หรือชื่อย่อว่า "อ.ต.ก." เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร · ดูเพิ่มเติม »

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตหัวหน้าพรรคเทิดไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อนุดิษฐ์ นาครทรรพ

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และรักษาการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอดีตที่ปรึกษาและโฆษกและเลขานุการศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและอนุดิษฐ์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จรัลธาดา กรรณสูต

รัลธาดา กรรณสูต(22 สิงหาคม พ.ศ. 2492-) องคมนตรี ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโครงการหลวงประธานกรรมการบริหารในคณะกรรมการบริหารกองทุนพระราชทานสำหรับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อดีตที่ปรึกษาสำนักราชเลขาธิการ, อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตอธิบดีกรมประมง.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและจรัลธาดา กรรณสูต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ วงศ์สมุทร

นายธีระ วงศ์สมุทร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและธีระ วงศ์สมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล จันทร์ประสงค์

วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและถวิล จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและทวิช กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

ทวี บุณยเกตุ

นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและทวี บุณยเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ วงศ์วรรณ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2468 -) หรือเป็นที่รู้จักว่า "พ่อเลี้ยงเมืองแพร่" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่เคยได้รับเลือกตั้ง..มากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและณรงค์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (ชื่อย่อ: คนพ.) คณะกรรมการซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ตาม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 29 (9 กุมภาพันธ์ 2502 - 8 ธันวาคม 2506) จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2502 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอกสุทธิ์ สุทธิสารรณกร ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2502 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 7 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 7 ของไทย (9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) เป็นผู้ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 8 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, (ซ้ายสุด) จิตร ณ สงขลา, (แถวบนซ้ายสุด) หลวงชำนาญยุทธศิลป์, (ที่ 3 จากซ้าย) ควง อภัยวงศ์ คณะรัฐมนตรี คณะที่ 8 ของไทย (21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และ นายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485) นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดยในระยะแรกได้เปิดสอนเป็นสาขารัฐศาสตร์ สังกัดคณะนิติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในจัดการเรียนการสอนในด้านการเกษตร โดยแบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ คณะเกษตร บางเขน และ คณะเกษตร กำแพงแสน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและคนเดือนตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย สาริกัลยะ

ลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ประธานกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประธานคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะอนุกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า ประธานกรรมการคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจ อดีตประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตประธานคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน อดีตรองผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก อดีตเจ้ากรมการทหารสื่อสาร และอดีตผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและฉัตรชัย สาริกัลยะ · ดูเพิ่มเติม »

ประภัตร โพธสุธน

นายประภัตร โพธสุธน อดีตเลขาธิการพรรคชาติไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง หลายสมั.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและประภัตร โพธสุธน · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา กรรณสูต

ปรีดา กรรณสูต (1 กันยายน พ.ศ. 2463 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตอธิบดีกรมประมง.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและปรีดา กรรณสูต · ดูเพิ่มเติม »

ปองพล อดิเรกสาร

ปองพล อดิเรกสาร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เกิดวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นบุตรของ พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร อดีตหัวหน้า พรรคชาติไทย และเป็นบิดาของ ร.ต.ปรพล อดิเรกสาร..สระบุรี พรรคภูมิใจไทย และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นิตยสาร TVK mag นอกจากเป็นนักการเมืองแล้ว ยังเป็นเจ้าของนามปากกา Paul Adirex มีผลงานนิยายภาษาอังกฤษและภาษาไทยหลายเล่ม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและปองพล อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา

นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ ด้านเศรษฐศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ แล.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้ว.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)

้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและเจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ นามเดิม หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร เป็นพระโอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ กับหม่อมสุด กุญชร ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือนอ้าย ขึ้น ๗ ค่ำ ปีชวด ตรงกับวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยและเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รัฐมนตรีว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายนามรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »