โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามเจ็ดปี

ดัชนี สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

59 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลงฟอร์ตลอเดอร์เดลพระราชวังท็อกซูพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรียพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรกองทัพบกสหราชอาณาจักรกองทัพสหราชอาณาจักรกองทัพจักรวรรดิรัสเซียกองทัพปรัสเซียกองเรือบอลติกการบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศสการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอเมริกาฝรั่งเศสใหม่มินนา ฟอน บาร์นเฮลม์มีแชล แนยุทธการฟอร์โบเซชูร์ยุทธการที่ปลาศีรอเบิร์ต ไคลฟ์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรปรัสเซียรายชื่อสนธิสัญญารายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรวิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทมสวนปราสาทซิสซิงเฮิสต์สหรัฐสหราชอาณาจักรสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรียสงครามโลกสงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม)สนธิสัญญาปารีสสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟอัสแซสซินส์ครีด โร้กจอร์จ วอชิงตันจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซียจักรวรรดิบริติชจักรวรรดินิยมในเอเชียดัชชีเคลเวอคริสต์ทศวรรษ 1760ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์สหรัฐ...ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักรประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์อังกฤษประวัติศาสตร์เยอรมนีประเทศฟิลิปปินส์แฟร์ดีนันท์ ฟ็อน เบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลแกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์โบสถ์กางเขนเดรสเดิน15 พฤษภาคม ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

บริษัทอินเดียตะวันออก

ริษัทอินเดียตะวันออกอันทรงเกียรติ (Honourable East India Company) หรือในเวลาต่อมาคือ บริษัทอินเดียตะวันออกของบริเตน เป็นบริษัทร่วมทุนสัญชาติอังกฤษในช่วงแรก ซึ่งเดิมถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อแสวงหาการค้ากับภูมิภาคอินเดียตะวันออก แต่ในภายหลังได้ดำเนินการค้าส่วนใหญ่กับอนุทวีปอินเดียและจีน และยังมีหน้าที่ปกครองอาณานิคมในอนุทวีปอินเดีย บริษัทอินเดียตะวันออกถือได้ว่ามีความเก่าแก่ที่สุดเมื่อเทียบกับบริษัทอินเดียตะวันออกของชาติทวีปยุโรปอื่น ๆ เมื่อแรกก่อตั้ง บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1ให้เป็น "ข้าหลวงแลบริษัทพาณิชย์แห่งลอนดอนซึ่งจักทำการค้าไปยังอินเดียตะวันออก" เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและบริษัทอินเดียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง

ร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง (Charles-Augustin de Coulomb; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1736 - 23 สิงหาคม ค.ศ. 1806) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส รู้จักกันดีในฐานะผู้วางกฎว่าด้วยแรงระหว่างประจุ ซึ่งต่อมาชื่อของเขาได้ใช้เป็นหน่วยเอสไอสำหรับประจุไฟฟ้า คือ คูลอมบ์ (C).

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ตลอเดอร์เดล

ฟอร์ตลอเดอร์เดล (Fort Lauderdale) เป็นเมืองในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บนชายฝั่งแอตแลนติก 37 กิโลเมตรไปทางเหนือของไมอามี ตามสำรวจประชากรในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและฟอร์ตลอเดอร์เดล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังท็อกซู

ท็อกซูกุง หรือ พระราชวังท็อกซู เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี เดิมพระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับขององค์ชายวอลซาน พระเชษฐาในพระเจ้าซองจงหรือองค์ชายชาซาน ระหว่างสงครามเจ็ดปี ที่นี่ได้กลายเป็นพระราชวังหลวง โดยพระเจ้าซอนโจเป็นกษัตริย์องค์แรกที่เสด็จมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และองค์ชายควางแฮกุนได้ทรงสวมมงกุฎที่นี่เมื่อ ค.ศ. 1608 (พ.ศ. 2151) และทรงเปลี่ยนชื่อพระราชวังแห่งนี้เป็น คย็อนกุนกุง (경운궁, 慶運宮) ในปี ค.ศ. 1611 (พ.ศ. 2154) หลังจากทางราชสำนักได้กลับไปสร้างพระราชวังชังด็อกขึ้นมาใหม่ในปี ค.ศ. 1618 (พ.ศ. 2161) พระราชวังแห่งนี้ก็ได้เป็นพระราชวังรองตลอด 270 ปี (ค.ศ. 1618-1888) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซอกุง (พระราชวังตะวันตก) ต่อมาในปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) หลังจากเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองแล้ว พระเจ้าโกจงได้ทรงลี้ภัยเข้าไปประทับในสถานทูตรัสเซีย หลังจากนั้นพระองค์ได้กลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และได้เปลี่ยนชื่อเป็นคย็อนกุนกุงอีกครั้ง หลังจากทรงย้ายกลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้แล้วโปรดให้มีการขยายและเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกในพระราชวัง หลังจากทรงสละราชสมบัติให้สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจง พระราชโอรสก็ทรงประทับที่พระราชวังแห่งนี้และได้เปลี่ยนชื่อพระราชวังเป็น ท็อกซูกุง จนถึงทุกวันนี้ และมีเรื่องเล่าอ้างอิงว่าทรงอธิษฐานให้มีพระชนม์ชีพที่ยาวนานและทรงใช้พระชนม์ชีพที่เหลือประทับที่ ฮัมนย็องจ็อน โดยปัจจุบันนี้พระราชวังท็อกซูได้เป็นพิพิธภัณฑ์มีสวนป่าและมีพระบรมรูปพระเจ้าเซจงมหาราช หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในประเทศเกาหลีใต้ หมวดหมู่:พระราชวังในประเทศเกาหลีใต้ หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระราชวังท็อกซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย

ระเจ้าลุดวิจ ฟรีดริช วิลเฮลมที่ 2 (Ludwig Friedrich Wilhelm II) เป็นกษัตริย์แห่งบาวาเรียระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกสหราชอาณาจักร

กองทัพบกสหราชอาณาจักร (British Army) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินที่สำคัญของสหราชอาณาจักรซึ่งดูแลและควบคุมโดยกองทัพสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและกองทัพบกสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหราชอาณาจักร

กองทัพบริเตน (British Armed Forces) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพในสมเด็จฯ (Her Majesty's Armed Forces) และ บ้างเรียกว่า กองทัพในพระองค์ (Armed Forces of the Crown) เป็นกองทัพของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ กองทัพนี้ประกอบด้วยหน่วยที่แต่งเครื่องแบบอาชีพสามเหล่า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและกองทัพสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย

กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย (Ру́сская импера́торская а́рмия) เป็นกองทัพภาคพื้นดินของ จักรวรรดิรัสเซีย ปฏิบัติการครั้งแรกในปี 1721 จนถึง การปฏิวัติรัสเซีย ในปี 1917 ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 กองทัพจักรวรรดิรัสเซียมีกำลังพลประมาณ 900,000 นาย และประจำการเกือบ 250,000 นาย (ส่วนใหญ่เป็น คอสแซค).

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและกองทัพจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพปรัสเซีย

กองทัพราชอาณาจักรปรัสเซีย (Königlich Preußische Armee) เป็นกองทัพบกของราชอาณาจักรปรัสเซีย อันมีจุดเริ่มต้นจากบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซียซึ่งทรงอำนาจในยุโรป ณ ขณะนั้น.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและกองทัพปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กองเรือบอลติก

กองเรือบอลติก (Балтийский флот, Baltiysky Flot) เป็นกองเรือของกองทัพเรือรัสเซีย ในทะเลบอลติก กองเรือบอลติก สถาปนาขึ้นในวันที่ 18 พฤษภาคม 1703 โดยจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือจักรวรรดิรัสเซีย กองเรือบอลติกเป็นองค์กรของกองทัพเรือรัสเซียที่เก่าแก่ที่สุด กองเรือได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย และต่อมาคือ สหภาพโซเวียต ในปี 1922 โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือโซเวียต กองเรือยังเป็นที่รู้จักในชื่อของ ดวัจดืยครัสโนซนามิออนนืยบัลตีสกีโฟลต์ (Два́жды Краснознамённый Балти́йский фло́т) เนื่องจากในช่วงยุคโซเวียตกองเรือบอลติกได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง 2 ครั้ง หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือน ธันวาคม 1991 กองเรือบอลติกได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธรัฐรัสเซีย โดยกลับไปใช้ชื่อเดิมในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือรัสเซีย กองบัญชาการของกองเรือบอลติกตั้งอยู่ในเมืองคาลีนินกราด ซึ่งฐานทัพหลักตั้งอยู่ในเมืองบัลตีสค์ โดยทั้งสองอยู่ในแคว้นคาลีนินกราด และมีฐานทัพอื่นตั้งอยู่ในเมืองโครนสตัดต์, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในอ่าวฟินแลน.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและกองเรือบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

การบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส

ประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้นำทางเศรษฐกิจอันดับที่ 4 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมมูลค่ามากกว่า5%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลกการค้าต่างประเทศของฝรั่งเศสคิดเป็นมูลค่า6% ของการค้าทั่วโลกมีผลทำให้ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจเป็นอันดับแรกๆ เป็นผู้ส่งออกอันดับที่4 ของโลก (ส่งออกผลผลิตภาคเกษตรและภาคบริการเป็นอันดับ 2,ส่งออกผลิตผลด้านอุตสาหกรรมเป็นอันดับ 4, การส่งสินค้าออกของประเทศฝรั่งเศสคิดเป็น21%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศซึ่งมีมูลค่าสูงมากซึ่งรัฐบาลเป็นกลไกสำคัญในการสร้างระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ดาเนินไปข้างหน้าโดยให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจในเช่น การบริหาร การจัดการทรัพยากร รวมถึงอำนาจทางการคลังไปสู่ท้องถิ่นเป็นหลัก.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและการบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่งเศสใหม่

ฝรั่งเศสใหม่ (Nouvelle-France) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ จักรวรรดิอเมริกาเหนือของฝรั่งเศส คือชื่อเรียกเขตอาณานิคมของฝรั่งเศสในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ฌัก การ์ตีเยค้นพบทวีปอเมริกาเหนือในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและฝรั่งเศสใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มินนา ฟอน บาร์นเฮลม์

มินนา ฟอน บาร์นเฮลม์ (Minna von Barnhelm) เป็นละครตลกจาก กอตโธลด์อีเฟรมเลสซิง (Gotthold Ephraim Lessing) แบ่งเป็นห้าฉาก ละครนี้เกิดในช่วงสงครามเจ็ดปีและได้นำมาแสดงครั้งแรกในวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและมินนา ฟอน บาร์นเฮลม์ · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล แน

มีแชล แน (Michel Ney,; 10 มกราคม ค.ศ. 1769 - 7 ธันวาคม ค.ศ. 1815) เป็นทหารและผู้บัญชาการทหารระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน เขาเป็นหนึ่งใน 18 จอมพลฝรั่งเศสดั้งเดิมที่นโปเลียนทรงสถาปนา ได้รับสมญานามว่า จอมสุรโยธิน (the bravest of the brave) เขาเป็นจอมพลแห่งฝรั่งเศสเพียงคนเดียวที่ถูกตัดสินประหารชีวิตในข้อหาทรราชหลังการฟื้นฟูราชาธิปไตยในฝรั่งเศสครั้งที่สอง ท่ามกลางเสียงคัดค้านของชาวฝรั่งเศสทั่วไป.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและมีแชล แน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการฟอร์โบเซชูร์

ทธการฟอร์โบเซชูร์ (Bataille de Fort Beauséjour) เป็นการยุทธ์ในทวีปเมริกาเหนืออันเปิดฉากด้วยการโจมตีของฝ่ายอังกฤษในสงครามฝรั่งเศสกับอินเดียนแดงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเจ็ดปี เมื่อพันโทโรเบิร์ต มองก์ทัน (Robert Monckton) ผู้บัญชาการกองพลอังกฤษ เคลื่อนพลจากที่ตั้งมั่นบริเวณตำบลฟอร์ลอว์รองซ์ (Fort Lawrence) เข้าโอบล้อมกองพลฝรั่งเศสที่ตำบลฟอร์โบเซชูร์ (Fort Beauséjour) เพื่อชิงพื้นที่คอคอดชิกเนกโท (Isthmus of Chignecto) และหลังจากถูกอังกฤษล้อมโจมตีเป็นเวลาสองสัปดาห์ โลอี ดู ปงต์ ดูช็องบง เดอ แวร์กอร์ (Louis Du Pont Duchambon de Vergor) ผู้บัญชาการกองพลฝรั่งเศส ก็ยกธงขาว.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและยุทธการฟอร์โบเซชูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ปลาศี

ทธการที่ปลาศี (Battle of Plassey) เป็นการต่อสู้ระหว่างบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษกับแคว้นเบงกอลของจักรวรรดิโมกุลที่มีฝรั่งเศสหนุนหลัง การต่อสู้เกิดขึ้นในภาคเบงกอลซึ่งอยู่ทางตะวันออกของอินเดียในวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและยุทธการที่ปลาศี · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต ไคลฟ์

ลตรี รอเบิร์ต ไคลฟ์ บารอนไคลฟ์ที่ 1 (Robert Clive, 1st Baron Clive) หรือเป็นที่รู้จักในนาม ไคลฟ์แห่งอินเดีย (Clive of India) เป็นหนึ่งในนักการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษ เขาเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของบริติชอินเดีย เขาสามารถมีชัยในยุทธการที่ปลาศีในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและรอเบิร์ต ไคลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทม

วิลเลียม พิตต์ เอิร์ลที่ 1 แห่งแชแทม (William Pitt, 1st Earl of Chatham) เป็นรัฐบุรุษและนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรควิก เป็นผู้นำพาอังกฤษเข้าสู่ยุคจักรวรรดินิยม เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่คนที่ 9 นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกเขาว่า วิลเลียม พิตต์ ผู้แก่กว่า (William Pitt the Elder) เพื่อไม่ให้สับสนกับลูกชายของเขา วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ ซึ่งก็ได้เป็นนายกรัฐมนตรีเช่นกัน เขาเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีอังกฤษและเป็นผู้นำโดยพฤตินัยตั้งแต่ปี 1756 ถึง 1761 ในช่วงสงครามเจ็ดปี หลังจากนั้นเขาก็ได้เป็นนายกรัฐมนตรีโดยควบตำแหน่งใต้เท้าราชลัญจกร (Lord Privy Seal) ระหว่าง 1766 ถึง 1768 เขามีวาจาที่ปราดเปรื่องซึ่งสามารถชักจูงผู้คนให้คล้อยตามได้ จุดนี้เองทำให้เขาสามารถครอบงำสภาสามัญชนได้ นักประวัติศาสตร์อธิบายว่าด้วยความฉลาดและวาจาของเขานี้เองที่เป็นบ่อเกิดแห่งอำนาจ ไม่เหมือนนายกฯคนอื่นๆที่ขึ้นสู่ตำแหน่งจากการใช้เส้นสายทางครอบครัว นอกเหนือไปจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ตัวเขาเองในฐานะนักการเมืองก็มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการกล่าวโจมตีรัฐบาลต่างๆ อาทิ การฉ้อราษฎร์บังหลวงในรัฐบาลของเซอร์ วอลโพล, กระบวนการสันติภาพกับฝรั่งเศส, นโยบายแข็งกร้าวต่ออาณานิคมอเมริกา อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากที่สุด คือบทบาทผู้นำอังกฤษในช่วงสงครามเจ็ดปี ด้วยกลยุทธ์ซึ่งคิดเองและการอุทิศตนเองของเขา นำมาซึ่งชัยชนะของอังกฤษต่อฝรั่งเศส ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้อังกฤษเริ่มแผ่อิทธิพลปกคลุมไปทุกส่วนของโลก นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำที่ยืนหยัดต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวงอย่างจริงจัง เขามีนโยบายโฆษณาชวนเชื่อถึงความยิ่งใหญ่ของอังกฤษ และชูนโยบายขยายดินแดนและอาณานิคม และเขายังมองสเปนและฝรั่งเศสว่าเป็นคู่แข่งในการขยายดินแดน แม้ว่าเขาจะเป็นผู้นำที่ยอดเยี่ยม แต่เนื่องจากกลัวว่าสเปนจะหันไปจับมือกับฝรั่งเศส เขาจึงมีความคิดที่จะเปิดฉากโจมตีกองเรือและอาณานิคมสเปนก่อน เพื่อไม่ให้กองเรือสินค้าของสเปนเทียบท่าได้ ความคิดนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากทั้งเอิร์ลแห่งบิวต์และดยุกแห่งนิวคาสเซิลตลอดจนสมาชิกคณะรัฐมนตรี เขาไม่มีทางเลือกนอกจากประกาศลาออก การลาออกของเขาเป็นที่น่ายินดีสำหรับพวกรัฐมนตรีและเพื่อนร่วมงาน เนื่องจากมองว่าอำนาจและอิทธิพลที่มากล้นของเขาคุกคามต่อประเพณีการปกครองของอังกฤษ หลังจากเขาลาออก อำนาจก็ตกไปอยู่ในมือของ จอร์จ เกรนวิลล์ คนใกล้ชิดซึ่งมีศักดิ์เป็นพี่เมีย ซึ่งพิตต์ไม่พอใจเนื่องจากเห็นว่าเกรนวิลล์ควรจะออกไปพร้อมกับเขาด้วย และมองว่าการกระทำเช่นนี้ของเกรนวิลล์เป็นการทรยศเขา จนทั้งสองมองหน้ากันไม่ติดไปอีกหลายปี.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและวิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทม · ดูเพิ่มเติม »

สวนปราสาทซิสซิงเฮิสต์

วนที่ปราสาทซิสซิงเฮิสต์ ในหมู่บ้านซิสซิงเฮิสต์ พื้นที่วีลด์ เขตเทศมณฑลเคนต์ ประเทศอังกฤษ อยู่ในความดูแลขององค์การอนุรักษ์สถานที่เพื่อประโยชน์ทางประวัติศาสตร์หรือความสวยงามแห่งชาติ เป็นสวนที่มีชื่อเสียงมากในอังกฤษ.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสวนปราสาทซิสซิงเฮิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย

งครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย (War of the Austrian Succession) เป็นสงครามที่เกี่ยวข้องกับทุกมหาอำนาจในทวีปยุโรป สงครามเริ่มจากการที่เมื่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลก

งครามโลก (World War) เป็นลักษณะความขัดแย้งทางการทหาร ซึ่งส่งผลกระทบต่อหลายชาติมหาอำนาจร่วมกัน โดยมักจะเกิดขึ้นในหลายทวีปทั่วโลกและกินเวลานานหลายปี คำว่า สงครามโลก เป็นการอธิบายถึงสงครามที่มีขนาดใหญ่อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ซึ่งในอดีตเกิดสงครามโลก 2 ครั้งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1914-1918) และ สงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) และได้มีการพาดพิงถึงสงครามโลกครั้งที่สามในวัฒนธรรมต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ถึงแม้ว่าสงครามอื่นที่เกิดขึ้นจากหลายชาติทั่วโลก เช่น สงครามเย็นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และ สงครามอิรักในช่วงปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสงครามโลก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม)

งครามเจ็ดปี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาปารีส

นธิสัญญาปารีส อาจหมายถึง ความตกลงหลายฉบับที่เจรจาและลงนามกันในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นต้นว.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสนธิสัญญาปารีส · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)

นธิสัญญาปารีส หรือเรียกสนธิสัญญ..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763) · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟ

อะเลคซันดร์ วาซีลเยวิช ซูโวรอฟ (Алекса́ндр Васи́льевич Суво́ров) เป็นผู้บัญชาการทหารชาวรัสเซีย, เป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องเป็นวีรชนของชาติ นอกจากนี่ซูโวรอยังฟเป็นถึงเคานต์แห่ง Rymnik, เคานต์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, เจ้าชายแห่งอิตาลี, และเป็นGeneralissimo แห่งรัสเซียคนสุดท้าย ซูโวรอฟเกิดที่ มอสโก ในปี 1729 เมื่อตอนที่เขายังหนุ่มเขาศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทางทหาร และต่อมาเมื่อตอนที่เขาอายุ 17 ปีเขาได้เข้าร่วมกับ กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย โดยในช่วง สงครามเจ็ดปี เขาถูกเลื่อนยศเป็นพันเอกในปี 1762 ต่อมาเขาได้เข้าร่วมในสงคราม War of the Bar Confederation ในปี 1768, ซูโวรอฟสามารถยึดนครกรากุฟ และมอบความพ่ายแพ้ให้โปแลนด์ที่ Lanckorona และ Stołowicze นำมาสู่ การแบ่งโปแลนด์ เขาถูกเลื่อนยศเป็นนายพลและต่อสู่ต่อใน สงครามรัสเซีย-ตุรกี (ค.ศ. 1768–1774) โดยได้ชัยชนะที่ Kozludzha และถูกเลื่อนยศเป็น General of the Infantry ในปี 1786, เขายังได้บัญชาการในช่วง สงครามรัสเซีย-ตุรกี (ค.ศ. 1787–1792) และได้ชัยชนะที่ Rymnik และ Izmail หลังจากนั้น เขายังได้เป็นเคานต์ทั้งใน จักรวรรดิรัสเซีย และ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ นอกจากนี้ ซูโวรอฟ ยังปราบปรามการก่อการกำเริบของโปแลนด์ ในปี 1794 ที่ Maciejowice และ เข้าโจมตีกรุงวอร์ซอ.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและอะเลคซันดร์ ซูโวรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด โร้ก

อัสแซสซินส์ครีด โร้ก เป็นเกมอิงประวัติศาสตร์และแอ็คชั่นผจญภัย ที่พัฒนาโดย ยูบิซอฟท์ โซเฟีย และเผยแพร่โดย ยูบิซอฟท์ โดยกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 11 พฤศจิกายน 2014 ที่อเมริกาเหนือ และวันที่ 13 พฤศจิกายน 2014 ที่ยุโรปและออสเตรเลีย ซึ่งมีเฉพาะ เพลย์สเตชัน 3 และ เอกซ์บอกซ์ 360 ภาคนี้เป็นชุดที่แปดของซีรีส์อัสแซสซินส์ครีด เป็นเรื่องราวต่อจากอัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็กและมีความเกี่ยวข้องกับ อัสแซสซินส์ครีด 3 และ อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี เนื้อเรื่องจะอยู่ในช่วงกลางศตวรรษที่ 18 ระหว่างสงครามเจ็ดปี ผู้เล่นจะรับบทเป็น เชย์ แพทริก คอร์แมก (Shay Patrick Cormac) มือสังหารที่แปรพรรคไปอยู่ฝ่ายเทมพลาร์ ซึ่งระบบการบังคับเรือยังคล้ายอัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็กและการเล่นแบบมุมมองบุคคลที่สามก็ยังมีอยู่เช่นเดิม.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและอัสแซสซินส์ครีด โร้ก · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย หรือ เยริซาเวตา เปตรอฟนา (Елизаве́та (Елисаве́т) Петро́вна; 29 ธันวาคม พ.ศ. 2252 - 5 มกราคม พ.ศ. 2305) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม เยลิซาเว็ต และ เอลิซาเบธ เป็นจักรพรรดินีแห่งรัสเซีย (พ.ศ. 2284 - พ.ศ. 2305) ทรงชักนำประเทศเข้าสู่สงครามสืบราชสมบัติออสเตรีย (พ.ศ. 2283 - พ.ศ. 2291) และสงครามเจ็ดปี (พ.ศ. 2249 - พ.ศ. 2306)Russian Tsars by Boris Antonov, p.105.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีเคลเวอ

ัชชีเคลเวอ (Herzogtum Kleve; Hertogdom Kleef; Duchy of Cleves) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน (ส่วนหนึ่งนอร์ธไรน์เวสต์ฟาเลีย) และเนเธอร์แลนด์ (ส่วนหนึ่งของลิมบูร์ก, บราบองต์เหนือ และ เกลเดอร์แลนด์) ดินแดนของดัชชีเคลเวออยู่บนสองฝั่งแม่น้ำไรน์รอบเมืองหลวงเคลเวอและครอบคลุมบริเวณที่ปัจจุบันคือ ดิสตริกต์เคลเวอ, ดิสตริกต์เวเซิล และเมืองดุยส์บูร์ก (Duisburg).

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและดัชชีเคลเวอ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1760

..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและคริสต์ทศวรรษ 1760 · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล

ร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ (Karl Wilhelm Ferdinand) เป็นผู้ปกครองของเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล และยังเป็นรัฐบุรุษและผู้นำทหาร ในเอกสารส่วนมากของอังกฤษ มักจะกล่าวถึงพระองค์โดยเรียกย่อๆว่า ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์ พระองค์ขึ้นสืบบัลลังก์ต่อจากพระบิดาในราชรัฐเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล ซึ่งมีสถานะเป็นแคว้นหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ยังได้รับการกล่าวถึงในแง่ของเป็นผู้เชี่ยวชาญการยุทธ์ในศตวรรษที่ 18 โดยระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร (History of the United Kingdom) เป็นประวัติศาสตร์ของอาณาจักรที่เกิดจากการรวมตัวของราชอาณาจักรอังกฤษที่รวมทั้งราชอาณาจักรเวลส์ กับ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นอาณาจักรเดียวกันเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคมค.ศ. 1707 ตามสนธิสัญญาสหภาพ (Treaty of Union) ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคนค.ศ. 1706 พระราชบัญญัติได้รับการอนุมัติทั้งโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ แต่ละสภาก็ผ่านพระราชบัญญัติสหภาพ ก่อนหน้านั้นราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นราชอาณาจักรอิสระที่แยกจากกันแม้ว่าจะมีการปกครองโดยพระมหากษัตริย์ร่วม (Union of the Crowns) กันมตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันท์ ฟ็อน เบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

แฟร์ดีนันท์ ฟ็อน เบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Ferdinand von Braunschweig-Wolfenbüttel) เป็นจอมพลเยอรมันแห่งปรัสเซียในช่วงสงครามเจ็ดปี และยังเป็นเจ้าชายแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล-เบเวิร์น และต่อมายังได้เป็นดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-ลือเนบูร์ก เป็นโอรสลำดับที่ 4 ของแฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลและอันทัวเน็ตต์ อมาลี แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและแฟร์ดีนันท์ ฟ็อน เบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

แกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์

แกบฮาร์ด เลเบอเร็คท์ ฟอน บลือเชอร์, เฟือสท์แห่งวาลชตัทท์ (Gebhard Leberecht von Blücher, Fürst von Wahlstatt) เป็นจอมพลแห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย เขามีชื่อเสียงขึ้นมาหลังจากนำกองทัพเข้ามีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสในยุทธการที่ไลพ์ซิจใน..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและแกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กางเขนเดรสเดิน

กางเขนเดรสเดิน โบสถ์กางเขน (Kreuzkirche) เป็นโบสถ์คริสต์โปรเตสแตนต์สำนักลูเทอแรน ตั้งอยู่ในเมืองเดรสเดิน ถือเป็นโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในรัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี โบสถ์แห่งนี้มีประวัติย้อนหลังไปตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 14 โดยเริ่มแรกเป็นเพียงโบสถ์น้อย ซึ่งหลังปี..

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและโบสถ์กางเขนเดรสเดิน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเจ็ดปีและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Seven Years' Warสงครามโลกครั้งที่ศูนย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »