สารบัญ
73 ความสัมพันธ์: ชาวแฟรงก์พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)พรรคเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งยุโรปพระเจ้าชาร์ลที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศสกลุ่มรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยและสังคมแห่งยุโรปกลุ่มสหภาพและพลรัฐรวมอำนาจ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)กลุ่มสหภาพเพื่อขบวนการประชาชนกลุ่มสังคมนิยม (วุฒิสภาฝรั่งเศส)กลุ่มคอมมิวนิสต์ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)การบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศสการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้นยุทธการที่อาแซ็งกูร์ยุทธการที่เครซีรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐสภาฝรั่งเศสราชวงศ์ออร์เลอ็องราชวงศ์ซาวอยราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชอาณาจักรนาวาร์รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้วุฒิสภาฝรั่งเศสสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศสสหภาพเพื่อขบวนการประชาชนสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามวิปลาสสงครามศาสนาของฝรั่งเศสสงครามสันนิบาตกอญักสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1499-1504)สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1521-1526)... ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »
ชาวแฟรงก์
หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวแฟรงก์
พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)
รรคสังคมนิยม (Parti socialiste, PS) เป็นพรรคการเมืองอุดมการณ์แบบสังคมนิยมประชาธิปไตยในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นพรรคการเมืองซีกกลาง-ซ้ายที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังเป็นพรรคใหญ่ในรัฐสภาฝรั่งเศสควบคู่ไปกับพรรคการเมืองซีกกลาง-ขวา คือ พรรคสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน (UMP) โดยในปัจจุบันมีมาร์ทีน โอบรี เป็นหัวหน้าพรรคต่อจากนายฟร็องซัว ออล็องด์ พรรคสังคมนิยมได้เริ่มเข้ามามีบทบาททางการเมืองในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)
พรรคเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งยุโรป
รรคเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งยุโรป (Europe Écologie–Les Verts, EELV) เป็นพรรคการเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งในปี..2010 จากการรวมตัวระหว่างพรรคสีเขียว และพรรคการเมืองที่มีแนวคิดเชิงสิ่งแวดล้อมนิยม ซึ่งก่อนหน้านี้ในปี..2009 เคยรวมตัวกันว่า กลุ่มเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งยุโรป (Europe Écologie) ในช่วงการเลือกตั้งสภายุโรปในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพรรคเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งยุโรป
พระเจ้าชาร์ลที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส (Charles IV of France) (18/19 มิถุนายน ค.ศ. 1294/ค.ศ. 1293 - 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1328) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสต่อจากพระเชษฐาพระเจ้าฟิลิปที่ 5 ระหว่างวันที่ 3 มกราคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Charles VIII of France หรือรู้จักกันในภาษาCharles VIII l'Affable) (30 มิถุนายน ค.ศ. 1470 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Philip I of France หรือ Philip the Amorous หรือ Philippe I de France) (23 พฤษภาคม ค.ศ. 1052 - 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1108) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสในราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Philip II of France หรือ Philip II Augustus หรือ Philippe Auguste) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1165 - 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1223) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส (Philip III of France หรือ Philip the Bold หรือ Philip le Hardi) (30 เมษายน ค.ศ. 1245 - 5 ตุลาคม ค.ศ. 1285) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส (Philip IV of France หรือ Philip the Fair หรือ Philip le Bel) (เมษายน–มิถุนายน ค.ศ. 1268 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1314) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศส (Philip V of France หรือ Philip le Long; Philip le Long) (ค.ศ. 1292/ค.ศ. 1293 - 3 มกราคม ค.ศ. 1322) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสต่อจากพระนัดดาพระเจ้าจอห์นที่ 1 ระหว่างวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Philip VI of France หรือ Philip the Fortunate; Philip le Fortuné) (ค.ศ. 1293 - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1350) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสต่อจากพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Louis X of France หรือ Louis the Quarreller หรือ Louis the Headstrong หรือ Louis the Stubborn หรือ Louis X le Hutin) (ตุลาคม ค.ศ. 1289 - 5 มิถุนายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส (Louis XI of France หรือ the Spider King หรือ Louis XI le Prudent หรือ l'universelle aragne) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1423 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส (Louis XII of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1462 - 1 มกราคม ค.ศ. 1515) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส จากสายวาลัวส์-ออร์เลอองส์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 เสด็จพระราชสมภพที่วังบลัวส์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสของชาร์ลส์ ดยุกแห่งออร์เลอองส์ และ มารีแห่งคลีฟส์ ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 เมษายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Louis VI of France หรือ Louis the Fat หรือ Louis le Gros) (1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเซียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Louis VII of France หรือ Louis VII the Younger หรือ Louis le Jeune) (ค.ศ. 1120 - 18 กันยายน ค.ศ. 1180) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Louis VIII of France) (5 กันยายน ค.ศ. 1187 - 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าจอห์นที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (John I of France หรือ John the Posthumous) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316 - 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเพียงห้าวันระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
กลุ่มรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยและสังคมแห่งยุโรป
ลโก้ของกลุ่ม กลุ่มสังคมนิยม (Rassemblement démocratique et social européen, RDSE) เป็นกลุ่มการเมืองในวุฒิสภาฝรั่งเศส ที่ร่วมอุดมการณ์แบบเสรีนิยมประชาธิปไตย (ฝ่ายซ้าย) ในปัจจุบันมีสมาชิกในวุฒิสภาจำนวนทั้งสิ้น 17 ที่นั่ง ประกอบด้วยวุฒิสภาจากพรรคฝ่ายซ้าย จำนวน 11 ที่นั่ง พรรคสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน จำนวน 1 ที่นั่ง พรรคขบวนการพลเมืองและพลรัฐ จำนวน 1 ที่นั่ง พรรคสังคมนิยม จำนวน 2 ที่นั่ง และวุฒิสภาฝ่ายซ้ายอิสระอีกจำนวน 2 ที่นั่ง โดยมีประธานกลุ่มคือ ฌัค เมซาร.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยและสังคมแห่งยุโรป
กลุ่มสหภาพและพลรัฐรวมอำนาจ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
กลุ่มสหภาพและพลรัฐรวมอำนาจ (Union centriste et républicaine, UCR) เป็นกลุ่มการเมืองในวุฒิสภาฝรั่งเศส ที่ร่วมอุดมการณ์สนับสนุนรูปแบบของความเป็นกลาง (Centrist) โดยได้ก่อตั้งในปี..1986 ในนามของกลุ่มสหภาพฝ่ายกลาง (Centrist Union, UC) โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็นอย่างปัจจุบันในปี..2011 ในปัจจุบันมีสมาชิกในวุฒิสภาจำนวน 31 ที่นั่ง โดยมีประธานกลุ่มคือ ฟร็องซัว โซเกตโต้.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มสหภาพและพลรัฐรวมอำนาจ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
กลุ่มสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน
ลโก้ของกลุ่ม กลุ่มสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน (Groupe de l'Union pour un mouvement populaire, UMP) เป็นกลุ่มการเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวุฒิสภาฝรั่งเศส ที่ร่วมอุดมการณ์ฝ่ายขวา โดยมีสมาชิกในกลุ่มสังกัดพรรคสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน ในปัจจุบันมีสมาชิกในวุฒิสภาจำนวน 132 ที่นั่ง โดยมีประธานกลุ่มคือ ฌ็อง-โกลด โกแด็ง นายกเทศมนตรีเมืองมาร์แซ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน
กลุ่มสังคมนิยม (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
ลโก้ของกลุ่มสังคมนิยม กลุ่มสังคมนิยม (Groupe socialiste, SOC) เป็นกลุ่มการเมืองในวุฒิสภาฝรั่งเศส ที่ร่วมอุดมการณ์แบบสังคมนิยม นำโดยสมาชิกวุฒิสภาสังกัดสังคมนิยม ในปัจจุบันมีสมาชิกในวุฒิสภาจำนวน 130 ที่นั่ง โดยมีประธานกลุ่มคือ ฟร็องซัว แรบซาม็อง นายกเทศมนตรีเมืองดีฌง.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มสังคมนิยม (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
กลุ่มคอมมิวนิสต์ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
กลุ่มคอมมิวนิสต์, สาธารณรัฐนิยม และประชาชาติ (groupe communiste, républicain, citoyen (CRC)) เป็นกลุ่มการเมืองหนึ่งในหกกลุ่มในวุฒิสภาฝรั่งเศส โดยเป็นกลุ่มที่นิยมซ้ายจัด โดยรวบรวมสมาชิกวุฒิสภาสังกัดพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส (PCF) และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเรอูนียง (PCR) และพรรค MUP ซึ่งเป็นพรรคการเมืองร่วมอุดมการณ์เดียวกัน ในปัจจุบันมีสมาชิกในวุฒิสภาจำนวน 21 ที่นั่ง โดยมีประธานกลุ่มคือ นางนิโกล บอร์โว.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มคอมมิวนิสต์ (วุฒิสภาฝรั่งเศส)
การบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส
ประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้นำทางเศรษฐกิจอันดับที่ 4 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมมูลค่ามากกว่า5%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลกการค้าต่างประเทศของฝรั่งเศสคิดเป็นมูลค่า6% ของการค้าทั่วโลกมีผลทำให้ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจเป็นอันดับแรกๆ เป็นผู้ส่งออกอันดับที่4 ของโลก (ส่งออกผลผลิตภาคเกษตรและภาคบริการเป็นอันดับ 2,ส่งออกผลิตผลด้านอุตสาหกรรมเป็นอันดับ 4, การส่งสินค้าออกของประเทศฝรั่งเศสคิดเป็น21%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศซึ่งมีมูลค่าสูงมากซึ่งรัฐบาลเป็นกลไกสำคัญในการสร้างระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ดาเนินไปข้างหน้าโดยให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจในเช่น การบริหาร การจัดการทรัพยากร รวมถึงอำนาจทางการคลังไปสู่ท้องถิ่นเป็นหลัก.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส
การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง
การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง (La Restauration; ลาเรสโตราซียง) คือช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดินโปเลียนก้าวลงจากพระราชอำนาจในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง
ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น
ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern France) คือประวัติศาสตร์ในช่วงสมัยที่เรียกว่าสมัยใหม่ตอนต้น (early modern period) ของประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 18 (หรือตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส ไปจนถึงจุดสูงสุดของการปฏิวัติฝรั่งเศส) ระหว่างช่วงนี้ฝรั่งเศสวิวัฒนาการจากระบบศักดินา (feudalism) มาเป็นราชอาณาจักรที่มีการปกครองจากศูนย์กลางที่นำโดยพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ปกครองโดยใช้ปรัชญาเทวสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์โดยการสนับสนุนของสถาบันโรมันคาทอลิก.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น
ยุทธการที่อาแซ็งกูร์
ทธการอาแฌงคูร์ต (Battle of Agincourt) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปีที่เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1415 ที่เมืองอาแฌงคูร์ตทางตอนเหนือของฝรั่งเศส เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายอังกฤษที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ และฝ่ายฝรั่งเศสที่นำโดยชาร์ลส์ ดาลเบรต์ ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายอังกฤษได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดต่อกองกำลังที่เหนือกว่ามากของฝรั่งเศส ชัยชนะของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีเป็นการเริ่มสมัยของสงครามใหม่ เมื่อพระเจ้าเฮนรีทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสหลังจากที่ผลของการเจรจาในการสละสิทธิราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับค่าตอบแทนไม่ประสบผลสำเร็จ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสไม่ทรงสามารถนำกองทัพด้วยพระองค์เองได้เนื่องจากการประชวร ทางฝ่ายฝรั่งเศสจึงนำโดยชาร์ลส์ ดาลเบรต์ผู้เป็นข้าหลวงแห่งฝรั่งเศส (Constable of France) และขุนนางกลุ่มอาร์มันญัค (Armagnac party) สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นในสงครามครั้งนี้ในด้านความก้าวหน้าทางอาวุธที่ทำให้ฝ่ายอังกฤษได้รับชัยชนะคือการใช้ธนูแบบที่เรียกว่า ธนูยาวอังกฤษ ที่เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของกองทัพของสมเด็จพระเจ้าเฮนรี.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่อาแซ็งกูร์
ยุทธการที่เครซี
ทธการเครซี (Battle of Crécy หรือ Battle of Cressy) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปีที่เป็นสงครามระหว่างราชอาณาจักรอังกฤษฝ่ายหนึ่ง และราชอาณาจักรฝรั่งเศสอีกฝ่ายหนึ่ง ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่เครซี
รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
รัฐสภาฝรั่งเศส
รัฐสภาฝรั่งเศส (Parlement français) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติในระบบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส โดยยึดระบบสองสภา ซึ่งประกอบไปด้ว.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรัฐสภาฝรั่งเศส
ราชวงศ์ออร์เลอ็อง
ตระกูลออร์เลอ็อง (House of Orléans) “ออร์เลอ็อง” เป็นชื่อที่ใช้เรียกสาขาของราชวงศ์ฝรั่งเศสหลายสาขาที่สืบเชื้อสายมาจากอูก กาเปต์ผู้ก่อตั้ง ระหว่างสมัย “การปกครองระบบโบราณในฝรั่งเศส” ก็จะมีการประเพณีมอบบรรดาศักดิ์ดยุกแห่งออร์เลอ็องใหนแก่พระราชโอรสองค์รองของพระมหากษัตริย์ ฉะนั้นสาขาของตระกูลออร์เลอ็องจึงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสมากที่สุดเพราะสืบเชื้อสายมาจากพระราชโอรส และบางครั้งก็เป็นผู้ได้ขึ้นครองพระราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเองถ้าพระราชโอรสองค์โตมาสิ้นพระชนม์เสียก่อน สาขาสุดท้ายของตระกูลออร์เลอ็องที่มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุกสืบเชื้อสายมาจากอองรีเดอบูร์บอง ดยุกแห่งแวงโดม (พระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส) ผู้ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์ออร์เลอ็อง
ราชวงศ์ซาวอย
ราชวงศ์ซาวอย (Casa Savoia, House of Savoy) เป็นราชตระกูลที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1003ในภูมิภาคประวัติศาสตร์ซาวอย ราชตระกูลขยายตัวและรุ่งเรืองขึ้นจากราชตระกูลที่ปกครองอาณาจักรเคานท์ในบริเวณซาวอยไปจนในที่สุดก็ได้ปกครองราชอาณาจักรอิตาลีจนกระทั่งปลายสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อตำแหน่งพระมหากษัตริย์อิตาลีถูกยุบเลิกในปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์ซาวอย
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส
ราชอาณาจักรนาวาร์
ราชอาณาจักรนาวาร์ (Kingdom of Navarre; Reino de Navarra; Royaume de Navarre) เดิมชื่อ “ราชอาณาจักรแพมโพลนา” เป็นราชอาณาจักรในยุโรปที่ตั้งอยู่สองฝั่งเหนือใต้ของเทือกเขาพิเรนีสทางด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ราชอาณาจักรนาวาร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ Íñigo I of Pamplona ผู้นำบาสค์ (Basque) ผู้ได้รับเลือกและประกาศให้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งแพมโพลนา (ราว ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชอาณาจักรนาวาร์
รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส
สมเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค พระจักรพรรดินีองค์สุดท้ายของฝรั่งเศส สมเด็จราชินีมารี อองตัวเนตแห่งออสเตรีย พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ที่ทรงถูกบั่นพระเศียรในการปฏิวัติฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีมาเรีย เทเรส ชาร์ล็อตแห่งฝรั่งเศส พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส เป็นสมเด็จพระราชินีที่ครองราชสมบัติเพียง 20 นาทีเท่านั้น ดูที่รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส พระมเหสีแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่พ.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส
รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย
ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย
รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
วุฒิสภาฝรั่งเศส
วุฒิสภาฝรั่งเศส (Sénat français) เป็นสภาสูงในรัฐสภาฝรั่งเศส มีประธานวุฒิสภา (président) เป็นผู้ดำเนินการประชุม วุฒสิภามีความสำคัญน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร เช่นเดียวกับการอภิปรายในวุฒิสภาที่มีความตึงเครียดน้อยกว่า ฉะนั้น วุฒิสภาจึงได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนน้อ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและวุฒิสภาฝรั่งเศส
สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส
ผู้แทนราษฎรแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Assemblée Nationale,; National Assembly) เป็นสภาล่างในรัฐสภาฝรั่งเศส ประกอบด้วยสมาชิกห้าร้อยเจ็ดสิบเจ็ดคน เรียกว่า "ผู้แทน" (député; deputy) ผู้แทนสองร้อยแปดสิบเก้าคนถือเป็นจำนวนเสียงส่วนใหญ่ในสภา และมีประธานสภาคนหนึ่งเป็นผู้ควบคุมการประชุม และมีรองประธานสภาอีกหนึ่งคนหรือกว่านั้น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยจะสิ้นสุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมิถุนายน ปีที่ 5 นับแต่วันเลือกตั้ง การเลือกตั้งครั้งใหม่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรชุดเดิมจะหมดอายุลง ประธานาธิบดีสามารถประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรได้ ภายหลังจากที่ได้ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทั้งสองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐกฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปอย่างน้อยที่สุดภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน อนึ่ง ในกรณีที่มีการยุบสภา หรือสมาชิกลาออก หรือตาย หรือไปปฏิบัติหน้าที่อื่นซึ่งรวมไปถึงงานของรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอาจจะมีการดำรงตำแหน่งน้อยกว่า 5 ปีได้ สภาผู้แทนราษฎรประชุม ณ พระราชวังบูร์บง ริมฝั่งแม่น้ำแซน ในกรุงปารี.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส
สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน
หภาพเพื่อกระบวนการประชาชน (Union pour un Mouvement Populaire, UMP) เป็นพรรคการเมืองอุดมการณ์อนุรักษนิยม หรือซีกกลาง-ขวา และเป็นพรรคใหญ่ในรัฐสภาฝรั่งเศสควบคู่ไปกับพรรคการเมืองซีกกลาง-ซ้าย คือ พรรคสังคมนิยม (PS) พรรคสหภาพเพื่อกระบวนการประชาชนได้ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน
สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
สงครามวิปลาส
แผนที่อาณาจักรหลวง, อาณาจักรดยุคอิสระ และอาณาจักรลอร์ดต่างๆ ใน ค.ศ. 1477 ไม่นานก่อนที่จะเกิด “สงครามวิปลาส” สงครามวิปลาส (guerre folle, Mad War หรือ War of the Public Weal) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในยุคกลางที่เป็นความขัดแย้งระหว่างกลุ่มขุนนางผู้ครองนครกับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส สงครามเกิดขึ้นในสมัยการปกครองในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของแอนน์แห่งฝรั่งเศส (Anne of France) ในช่วงหลังจากการเสด็จสวรรคตของ พระเจ้าหลุยส์ที่ 11 จนถึงช่วงเวลาก่อนหน้าที่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 จะทรงบรรลุนิติภาวะ (ระหว่างปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามวิปลาส
สงครามศาสนาของฝรั่งเศส
หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส
สงครามสันนิบาตกอญัก
งครามสันนิบาตกอญัก (War of the League of Cognac) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1559) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1526 จนถึง ค.ศ. 1530 สงครามอิตาลีครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (สเปนและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์) กับสันนิบาตกอญัก ซึ่งเป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยฝรั่งเศส สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 สาธารณรัฐเวนิส อังกฤษ อาณาจักรดยุคแห่งมิลาน และฟลอเรนซ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสันนิบาตกอญัก
สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน
งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน
สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)
งครามอิตาลีครั้งที่ 1 หรือ สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498) หรือ สงครามอิตาลีของชาร์ลส์ที่ 8 (First Italian War หรือ Italian War of 1494–1498 หรือ Italian War of 1494 หรือ Charles VIII's Italian War) เป็นสงครามที่เริ่มต้นมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)
สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1499-1504)
งครามอิตาลี (ค.ศ. 1499-1504) หรือ สงครามอิตาลีครั้งที่ 2 หรือ สงครามอิตาลีของหลุยส์ที่ 12 หรือ สงครามชิงเนเปิลส์ (Italian War of 1499–1504 หรือ Second Italian War หรือ Louis XII's Italian War หรือ War over Naples) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1499-1504)
สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1521-1526)
งครามอิตาลี (ค.ศ. 1521-1526) หรือ สงครามสี่ปี (Italian War of 1521–1526 หรือ Four Years' War) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1559) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1521-1526)
สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)
งครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559) หรือบางครั้งก็เรียกว่า สงครามฮับส์บูร์ก-วาลัว (Italian War of 1551–1559 หรือ Habsburg-Valois War) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)
สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
งครามปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolutionary Wars) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกิดขึ้นระหว่าง..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
สงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง
งครามประสานมิตรครั้งที่ 1 (War of the First Coalition) เป็นส่วนหนึ่งของสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสที่เกิดขึ้นระหว่าง..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง
สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303)
นธิสัญญาปารีส (Treaty of Paris) คือสนธิสัญญาระหว่างพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ และ พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ระหว่างสงครามร้อยปี ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303)
สนธิสัญญาแวร์เดิง
นธิสัญญาแวร์เดิง (Treaty of Verdun) เป็นสนธิสัญญาระหว่างพระราชโอรสสามพระองค์ของหลุยส์เดอะไพอัส (พระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ) ในการแบ่งจักรวรรดิแฟรงค์ออกเป็นสามอาณาจักร แม้ว่าบางครั้งการแบ่งจักรวรรดิครั้งนี้จะเห็นกันว่าเป็นการทำลายจักรวรรดิมหาอำนาจที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาร์เลอมาญ แต่อันที่จริงแล้วเป็นการทำตามประเพณีเจอร์มานิคในการแบ่งทรัพย์ให้แก่ทายาทแต่ละคนเท่าๆ กันแทนที่จะใช้กฎการสืบสมบัติโดยสิทธิของบุตรคนแรก (primogeniture) ที่มอบสมบัติทั้งหมดให้แก่บุตรชายคนโตเท่านั้น เมื่อหลุยส์เดอะไพอัสสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสนธิสัญญาแวร์เดิง
อัปเปอร์เจอร์เมเนีย
อัปเปอร์เจอร์เมเนีย (Upper Germania) หรือ เกร์มาเนียซูเปรีออร์ (Germania Superior) เป็นหนึ่งในจังหวัดของจักรวรรดิโรมัน ตั้งอยู่ทางเหนือน้ำของโลว์เออร์เจอร์เมเนีย ประกอบด้วยดินแดนทางตะวันตกของสวิตเซอร์แลนด์ บริเวณเทือกเขาฌูว์ราและแคว้นอาลซัสของฝรั่งเศส และทางตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนีในปัจจุบัน เมืองสำคัญได้แก่ เบอซ็องซง (ในสมัยโรมันเรียกว่าเบซอนตีโอ), สทราซบูร์ (อาร์เกนโตราเต) และวีสบาเดิน (อาไกวมัตตีอาไก) โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ไมนซ์ (โมกุนตีอากุม) อาณาบริเวณของจังหวัดยังครอบคลุมตอนกลางของแม่น้ำไรน์ที่ติดกับพรมแดนเยอรมันและจังหวัดรีเชียในเทือกเขาแอลป์ทางตะวันออกเฉียงใต้ ราวปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอัปเปอร์เจอร์เมเนีย
อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก
ราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันตกทางซ้ายของภาพที่ปัจจุบันคือฝรั่งเศส เวสต์ฟรังเกีย หรือ อาณาจักรแฟรงค์ตะวันตก (West Francia หรือ West Frankish Kingdom) เป็นราชอาณาจักรที่รุ่งเรืองอยู่เพียงระยะเวลาอันสั้น ตั้งอยู่ทางตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ได้ตกมาเป็นของจักรพรรดิคาร์ลพระเศียรล้านตามสนธิสัญญาแวร์เดิงปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก
อีล-เดอ-ฟร็องส์
อีล-เดอ-ฟร็องส์ (Île-de-France) อาจหมายถึง.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอีล-เดอ-ฟร็องส์
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา หรือ จักรพรรดิฟรีดริชพระมัสสุแดง (Frederick I, Holy Roman Emperor หรือ Frederick I Barbarossa) (ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จักรวรรดิการอแล็งเฌียง
ร์ล มาร์แตลในยุทธการที่ตูร์ที่ทรงหยุดยั้งการรุกรานของอุมัยยะห์เข้ามาในยุโรป จักรวรรดิการอแล็งเฌียง (Carolingian Empire) เป็นคำประวัติศาสตร์ที่บางครั้งก็หมายถึงราชอาณาจักรแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียง ที่เห็นกันว่าเป็นราชวงศ์ที่ก่อตั้งฝรั่งเศสและเยอรมนี จักรวรรดิการอแล็งเฌียงอาจจะถือว่าเป็นปลายสมัยจักรวรรดิแฟรงก์หรือต้นสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้ จักรวรรดิการอแล็งเฌียงเป็นการเน้นถึงการที่สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ทรงราชาภิเษกชาร์เลอมาญเป็นจักรพรรดิโรมันในปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิการอแล็งเฌียง
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง
ักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง (Premier Empire) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า (L'Empire des Français; ล็องปีร์เดส์ฟร็องแซส์ แปลว่า จักรวรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส) ยังรู้จักกันในนาม มหาจักรวรรดิฝรั่งเศส และ จักรวรรดินโปเลียน โดยเป็นจักรวรรดิที่สถาปนาขึ้นโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส โดยเป็นจักรวรรดิที่มีส่วนสำคัญและมีอำนาจอย่างมากในทวีปยุโรปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเปลี่ยนผ่านมาจากคณะกงสุลฝรั่งเศส จักรวรรดิยังเป็นผู้ริเริ่มการทำสงครามมากมายในยุโรปจากนโยบายการต่างประเทศของจักรพรรดินโปเลียน ที่มุ่งเน้นจะยึดครองทวีปยุโรปไว้กับฝรั่งเศสแต่เพียงผู้เดียว.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง
ขบวนการพลเรือนและพลรัฐ
รรคขบวนการพลเรือนและพลรัฐ (Mouvement républicain et citoyen, MRC) เป็นพรรคการหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส โดยเปลี่ยนชื่อมาจากพรรคขบวนการพลเรือน ซึ่งก่อตั้งโดยนายฌ็อง-ปิแยร์ เฌอแวนเนอมองต์ อดีตสมาชิกสังกัดพรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส) เนื่องจากความไม่ลงรอยกับพรรคในเรื่องของสงครามอ่าวเปอร์เซีย และสนธิสัญญามาสทริชท์ โดยพรรคเน้นอุดมการณ์แบบกระแสความเคลือบแคลงการบูรณาการของยุโรป (Eurosceptic) และเป็นพรรคแบบนิยมฝ่ายซ้าย พรรคขบวนการพลเรือนและพลรัฐ ได้รับเลือกสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 1 ที่นั่ง ได้แก่นายฌ็อง-ปิแยร์ เฌอแวนเนอมองต์ ซึ่งสังกัดกลุ่ม RDSE ซึ่งเป็นกลุ่มที่ถือว่าเป็นยุโรปนิยมหัวรุนแรง.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและขบวนการพลเรือนและพลรัฐ
ดัชชีเคลเวอ
ัชชีเคลเวอ (Herzogtum Kleve; Hertogdom Kleef; Duchy of Cleves) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน (ส่วนหนึ่งนอร์ธไรน์เวสต์ฟาเลีย) และเนเธอร์แลนด์ (ส่วนหนึ่งของลิมบูร์ก, บราบองต์เหนือ และ เกลเดอร์แลนด์) ดินแดนของดัชชีเคลเวออยู่บนสองฝั่งแม่น้ำไรน์รอบเมืองหลวงเคลเวอและครอบคลุมบริเวณที่ปัจจุบันคือ ดิสตริกต์เคลเวอ, ดิสตริกต์เวเซิล และเมืองดุยส์บูร์ก (Duisburg).
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและดัชชีเคลเวอ
ความตกลง ค.ศ. 1801
วามตกลง..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและความตกลง ค.ศ. 1801
ประวัติศาสตร์ยุโรป
ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ยุโรป
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศฝรั่งเศส
นอร์มัน
ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนอร์มัน
แคทเธอรีน เดอ เมดีชี
ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี
โคลวิสที่ 1
ลวิสที่ 1 (Clovis I) (ราว ค.ศ. 466 – ค.ศ. 511) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชนแฟรงค์พระองค์แรกที่รวมชนแฟรงค์กลุ่มต่างๆ เข้าด้วยกันภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียว และทรงเป็นผู้นำในการนับถือคริสต์ศาสนา โคลวิสเป็นพระราชโอรสของชิลเดอริคที่ 1 (Childeric I) และ บาสินาพระราชินีแห่งเทอริงเกีย เมื่อมีพระชนมายุได้ 16 พรรษาพระองค์ก็ขึ้นเป็นประมุขของซาเลียนแฟรงค์ (Salian Franks) บางส่วนต่อจากพระราชบิดาในปี..
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและโคลวิสที่ 1
เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ
อ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรือ เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือที่รู้จักกันในพระนาม เอ็ดเวิร์ดแห่งวูดสต็อค (Edward, the Black Prince หรือ Edward of Woodstock) (15 มิถุนายน ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ
เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
อ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2 (Edward of Norwich, 2nd Duke of York หรือ Edward of Norwich, 1st Duke of Aumale) (ค.ศ. 1373 - 25 ตุลาคม ค.ศ. 1415) เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในการต่อสู้กับราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสงครามร้อยปี เอ็ดเวิร์ดเสียชีวิตระหว่างการต่อสู้ในยุทธการอาแฌงคูร์ต เอ็ดเวิร์ดเป็นบุตรของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และภรรยาคนแรกอินแฟนตาอิสซาเบลลาแห่งคาสตีล ปู่และย่าทางพ่อคือสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และพระราชินีฟิลลิปปา ปู่และย่าทางแม่คือสมเด็จพระเจ้าเปโดรแห่งคาสตีลและมาเรียเดอปาดิลล.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
เคานต์แห่งบลัว
ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวเดิม ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวใหม่ เคานต์แห่งบลัว (Counts of Blois) เดิมมีศูนย์กลางที่บลัว ทางใต้ของกรุงปารีสในฝรั่งเศส เมืองสำคัญก็นอกไปจากบลัวเองแล้วก็ได้แก่ชาทร์ บลัวมีความสัมพันธ์กับช็องปาญ, ชาตียง (ประมุขมักจะมาพำนักที่บลัว) และต่อมากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส บลัวมีบทบาทสำคัญระหว่างสงครามร้อยปีเมื่อโจนออฟอาร์กใช้เป็นที่มั่น อาณาบริเวณของบลัวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทางด้านเหนือติดกับนอร์ม็องดี ดินแดนบลัวต่อมาก็ขายให้เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ.
ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเคานต์แห่งบลัว