โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

ดัชนี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

48 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2496พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2511พ.ศ. 2520พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกองอาสารักษาดินแดนฐานันดรศักดิ์ไทยภาษาอังกฤษรัฐราชสถานรัตนาวดีราชวงศ์จักรีวังประมวญสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรหม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิตหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิตอำเภอเวียงสระจังหวัดสุราษฎร์ธานีถนนวิภาวดีรังสิตตำรวจตระเวนชายแดนประเทศอินเดียปริศนา (นวนิยาย)ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุลนามปากกานิกกับพิมโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยโรงเรียนผดุงดรุณีเหรียญรัตนาภรณ์เจ้าสาวของอานนท์เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์14 มีนาคม16 กรกฎาคม4 เมษายน5 พฤษภาคม9 พฤษภาคม

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)

ระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุนิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดจันทาราม (ท่าซุง) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) หลังการมรณภาพ สังขารร่างกายของท่านมิได้เน่าเปื่อยอย่างศพของคนทั่วไป และได้มีการเก็บรักษาไว้ที่วัดท่าซุงจนถึงปัจจุบันนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม.. (10 มกราคม พ.ศ. 2419 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นปราชญ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล "รัชนี" สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและกองอาสารักษาดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและฐานันดรศักดิ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐราชสถาน

รัฐราชสถาน คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานทางทิศตะวันตะวันออกเฉียงเหนือ รา หมวดหมู่:รัฐราชสถาน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและรัฐราชสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รัตนาวดี

รัตนาวดี เป็นนวนิยายจากปลายปากกาของ ว.ณ ประมวญมารค (นามปากกาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) โดยนวนิยายเรื่องนี้เป็นเรื่องสุดท้ายในชุดนวนิยายไตรภาคซึ่งอีก 2 เรื่องคือ ปริศนา และ เจ้าสาวของอานนท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและรัตนาวดี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

วังประมวญ

ตำหนักใหญ่ วังประมวญ วังประมวญ เป็นวังที่ประทับของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ต้นราชสกุลรัชนี พระโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตั้งอยู่ที่ถนนประมวญ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ในอดีตราชสกุลรัชนีมีวังอยู่ที่ริมคลองบางหลวง ใกล้สะพานเจริญพาศน์ ตัวตำหนักทำด้วยไม้ ภายในมีเฟอร์นิเจอร์แบบ อาดัมส์ สไตล์อังกฤษ ต่อมาได้รับที่พระราชทานที.ประมวญ จำนวน 12 ไร่ จึงรื้อตำหนักริมคลองบางหลวงมาสร้างเป็นโรงพิมพ์ ชื่อ โรงพิมพ์ประมวณมาร์ค และ มีการสร้างตำหนักใหม่ขึ้น เป็นตำหนักตึก 2 ชั้นออกแบบโดยหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ สิ่งปลูกสร้างในปัจจุบันของวังประมวญประกอบด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและวังประมวญ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือคนทั้งหลาย เรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสวามี พระองค์เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมด้วยสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี พระราชโอรสพระองค์เล็ก พระองค์สวรรคตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระบรมอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาต.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นธิดาคนเล็กของหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร กับ หม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต พระธิดาใน พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ และหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ วรวรรณ เป็นพระปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5 และยังเป็นปนัดดาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยมเล็ก และเป็นอดีตคู่สมรสของพระโอรสในมหาราชาแห่งแคว้นชัยปุระ ประเทศอินเดีย อีกด้วย ม.ร.ว.ปรียนันทนา เป็นสมาชิกว..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและหม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ประสูติ ณ วังไม้ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ทรงเป็นโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร (พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์) และหม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ถึงชีพิตักษัยด้วยพระหทัยวาย ณ เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ชนมายุ 76 ปี 1 เดือน 6 วัน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเวียงสระ

อำเภอเวียงสระตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและอำเภอเวียงสระ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิภาวดีรังสิต

นนวิภาวดีรังสิต (Thanon Vibhavadi Rangsit) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 (ดินแดง - ดอนเมือง) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานในภาคกลาง เชื่อมต่อถนนในกรุงเทพมหานครกับถนนพหลโยธินสู่ภาคกลาง, ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ถนนสายนี้มีลักษณะเป็นทางหลวงพิเศษหรือซูเปอร์ไฮเวย์ ซึ่งแบ่งช่องทางเดินรถเป็นทางด่วนหรือทางหลัก และทางคู่ขนาน ยกเว้นช่วงที่ผ่านหน้าท่าอากาศยานดอนเมืองจะไม่แบ่งเป็นช่องทางด่วนและทางคู่ขนานเนื่องจากมีพื้นที่จำกัดเพราะถูกขนาบด้วยสนามบิน และทางรถไฟสายเหนือ ปัจจุบันมีทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทลล์เวย์) เป็นทางด่วนพิเศษยกระดับเก็บค่าผ่านทาง อยู่เหนือถนนวิภาวดีรังสิตด้วย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้เดินทางที่ต้องการความรวดเร็วกว่าเดิม.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและถนนวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจตระเวนชายแดน

ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) (Border Patrol Police) เป็น ตำรวจผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อเป็นกำลังเสริม แทนการใช้กำลังทหาร ในรักษาความสงบตามแนวตะเข็บชายแดน อันเนื่องจากสนธิสัญญากรุงเจนีวาระหว่างไทยกับฝรั่งเศสกำหนดห้ามไม่ให้มีกำลังทหารในระยะ 25 กิโลเมตรจากแนวชายแดน จุดประสงค์หลักในการจัดตั้ง ต.ในช่วงแรกคือป้องกันกองกำลังคอมมิวนิสต์ที่เข้ามารุกรานในประเท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและตำรวจตระเวนชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา (นวนิยาย)

ปริศนา เป็นนวนิยายประพันธ์โดย ว. ณ ประมวญมารค (นามปากกาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) จับใจความช่วงยุคปลายรัชกาลที่ 8 ถึงต้นรัชกาลที่ 9 โดยนิยายในชุดมีอีก 2 เรื่องที่เนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน คือ เจ้าสาวของอานนท์ และรัตนาวดี.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและปริศนา (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล (4 กันยายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง เจ้าของผลงานอัลบั้ม ไปทะเล เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล · ดูเพิ่มเติม »

นามปากกา

นามปากกา หมายถึงนามแฝงของนักเขียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

นิกกับพิม

นิกกับพิม เป็นหนังสือนวนิยายซึ่งประพันธ์โดย ว.ณ ประมวญมารค เป็นเรื่องราวของสุนัขสองตัวที่ติดต่อกันข้ามทวีปทางจดหมาย ทำให้เกิดเรื่องราวต่างๆ เล่าสู่กันฟังมากม.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและนิกกับพิม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ. 2395 เป็นโรงเรียนแห่งแรกในเครือสภาคริสตจักรในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย 28 โรงเรียน กับ 2 มหาวิทยาลัย ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุ ปี เป็นโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย เป็นโรงเรียนโปรแตสแตนท์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศ และเป็นโรงเรียนเพียงแห่งเดียวในปัจจุบันที่ก่อตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยตั้งอยู่ เลขที่ 35 ถนนประมวญ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมีศิษย์เก่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงหลายคน ทั้งองคมนตรี 4 คน นายกรัฐมนตรีไทย 2 คน รัฐมนตรีหลายกระทรวง นักร้อง นักแสดง ผู้จัดรายการหลายคน และ อำนวย เสี่ยงไทร์ แพทย์ชื่อดัง โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยเป็นโรงเรียนในเครือจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลั.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย

วนอีกด้านหนึ่งที่สำคัญของการจัดตั้งโรงเรียน มาแมร์ราฟาเอล และมาแมร์มารี เดอ ลูร์ด ได้เตรียมหลักสูตรภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส รวมทั้งเตรียมการเรียนการสอนภาษาไทยด้วย เพราะสมัยนั้นทุกโรงเรียนจะต้องมีการจัดสอนภาษาไทยอย่างน้อยวันละหนึ่งคาบทุกวัน ประกอบกับกระทรวงธรรมการผู้รับผิดชอบดูแลการศึกษาในสมัยนั้นค่อนข้างให้อิสระในการดำเนินกิจการของโรงเรียน มีการอนุญาตให้ครูใหญ่และครูเป็นชาวต่างประเทศได้ โดยมีข้อแม้เพียงข้อเดียวคือ ครูใหญ่ต้องรู้ภาษาไทย เมื่อมาแมร์ราฟาเอลสอบภาษาไทยผ่านแล้ว ท่านจึงมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเป็นครูใหญ่ได้ วันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

รงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (Wattana Wittaya Academy) มีชื่อเดิมว่า"กุลสตรีวังหลัง" ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 67 สุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เป็นโรงเรียนสตรีหญิงแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนผดุงดรุณี

รงเรียนผดุงดรุณี เป็นโรงเรียนเอกชน เปิดสอนที่ ซอยประมวญ ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปัจจุบันได้รวมกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและโรงเรียนผดุงดรุณี · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสาวของอานนท์

้าสาวของอานนท์ เป็น นวนิยาย ของ ว.ณ ประมวญมารค (นามปากกาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต โดยนวนิยายเรื่องนี้เป็นหนึ่งในนวนิยายไตรภาคซึ่งอีก 2 เรื่องคือ ปริศนา และ รัตนาวดี เป็นเรื่องราวความรักของ อานนท์ วิทยาธร วิศวกรหนุ่มเจ้าเสน่ห์กับ สุชาดา สุทธากุล ลูกสาวของ นายตะวัน เจ้าของโรงงานทำกะทิสุดท้ายแล้วสุชาดา จะหยุดความเจ้าชู้ของอานนท์ได้หรือไม่ เจ้าสาวของอานนท์ถือเป็นหนังสือเล่มที่สองของนวนิยายเรื่องปริศนา โดยมีหนังสือเรื่องปริศนาเป็นเล่มแรก และมีรัตนาวดีเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายของนวนิยายชุดนี้ เจ้าสาวของอานนท์เคยถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ โดย ไฟว์สตาร์ ในปี พ.ศ. 2525 กำกับการแสดงโดย รุจน์ รณภพ นำแสดงโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร และ จารุณี สุขสวัสดิ์ ออกฉายเมื่อ 31 ธันวาคม 2525 และต่อมาถูกนำมาทำเป็นละครโทรทัศน์ ปี พ.ศ. 2531 ออกอากาศทางช่อง 3 โดย ไอแอม โปรดักชั่น นำแสดงโดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง รับบท อานนท์ วิทยาธร และ จริยา แอนโฟเน่ รับบท สุชาดา สุทธากุล ปี พ.ศ. 2542 ออกอากาศทาง ช่อง 5 โดย กันตนา นำแสดงโดย จอนนี่ แอนโฟเน่ รับบท อานนท์ วิทยาธร และ เชอร์รี่ ผุงประเสริฐ รับบท สุชาดา สุทธากุล (สร้างก่อน ปริศนา (2543) โดยสร้างโดยคนละบริษัท เจ้าสาวของอานนท์ (2542) สร้างโดย กันตนา ส่วน ปริศนา (2543) สร้างโดยทูอินวัน) และครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2558 ออกอากาศทาง ช่องพีพีทีวี สร้างโดย มรว. ศรีคำรุ้ง ยุคล รัตตกุล นำแสดงโดย โทนี่ รากแก่น รับบท อานนท์ วิทยาธร และ เอสเธอร์ สุปรีย์ลีลา รับบท สุชาดา สุทธากุล.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและเจ้าสาวของอานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเขียน (พ.ศ. 2385 - พ.ศ. 2484) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของท่านอ้น และท่านอิ่ม สิริวันต์ เป็นหลานของเจ้าจอมมารดางิ้ว (หม่อมงิ้ว ในพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระเจ้าลูกยาเธอในรัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นพระมารดาของ สมเด็จพระนางนาฏโสมนัสวัฒนาวดี บรมอรรคราชเทวี ในรัชกาลที่ 4 โดย รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเกียรติยศให้ออกนามว่า "เจ้าจอมมารดางิ้ว" เป็นกรณีพิเศษในฐานะที่จะเป็นขรัวยายของเจ้าฟ้าโสมนัส ที่จะประสูติแต่สมเด็จพระนางนาฏโสมนัสฯ นอกจากนี้ พระยาราชภักดี (ทองคำ) พี่ชายของเจ้าจอมมารดางิ้วเป็นต้นตระกูลสุวรรณทัต) เจ้าจอมมารดาเขียนมีนามเรียกขานทั่วไปว่า "เขียนอิเหนา" ด้วยเป็นละครหลวงที่รำเป็นตัวฃอิเหนาได้งดงามไม่มีใครสู้ เป็นเจ้าจอมที่รัชกาลที่ 4 โปรดมากท่านหนึ่ง เมื่อพระราชโอรสคือ พระองค์เจ้าวรวรรณากร (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ - 2404-2474) ประสูตินั้น รัชกาลที่ 4 พระราชทานกริชให้ นอกเหนือจากพระแสงดาบที่พระราชทานพระราชโอรสทุกพระองค์ โดยมีรับสั่งว่า "เป็นลูกอิเหนา" เจ้าจอมมารดาเขียน ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ.ศ2484 รวมอายุ99ปี.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและเจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤษภาคม

วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและ5 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตและ9 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ว. ณ ประมวญมารคว. ณ ประมวลมารคว.ณ ประมวญมารคหม่อมเจ้าวิภาวดี รัชนีหม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิตหม่อมเจ้าหญิงวิภาวดี (รัชนี) รังสิตหม่อมเจ้าหญิงวิภาวดี รังสิตพระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »