เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

ดัชนี สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 192 ความสัมพันธ์: ชาวฮกเกี้ยนพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธรูปประจำพระชนมวารพระมหาพิชัยราชรถพระยศเจ้านายไทยพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาเพชรบุรี (เรือง)พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโอภาสไพศาลรัศมีพระราชวังบวรสถานมงคลพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรพระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์พระตำหนักแดงพระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรีพระนางเธอลักษมีลาวัณพระโกศทองใหญ่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบงเบิกบานพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม... ขยายดัชนี (142 มากกว่า) »

ชาวฮกเกี้ยน

วฮกเกี้ยน หมายถึง ชนเผ่าจีนที่มีถิ่นฐานตั้งอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยนหรือมณฑลฝูเจี้ยนทางตอนใต้ของจีน เป็นหนึ่งในชนเผ่าจีนโพ้นทะเล มีจำนวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประชากรส่วนใหญ่ของภูเก็ต ตรัง สตูล สงขลา ปีนัง สิงคโปร์ และเป็นชนเผ่าจีนที่มีสัดส่วนสูงในมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปิน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและชาวฮกเกี้ยน

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร

มเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนฯในงานฉลองพระอัฐิ พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร เป็นพระพุทธรูปที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์มีพระราชศรัทธาสร้างขึ้นประจำพระองค์หรือสร้างถวายพระบรมราชบุพการี ในวาระโอกาสสำคัญต่างๆ อาทิ การเฉลิมพระชนมพรรษา การฉลองพระประสูติการ ฯลฯ โดยพระพุทธรูปประจำพระชนมวารส่วนใหญ่ มักจะเป็นพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพหรือวันประสูติของพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นั้นๆ ดังนี้.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระพุทธรูปประจำพระชนมวาร

พระมหาพิชัยราชรถ

ระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระมหาพิชัยราชรถ

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระยศเจ้านายไทย

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

พระยาเพชรบุรี (เรือง)

ระยาสุรินทฦๅไชย อภัยพิริยบรากรมพาหะ (พระยาเพชรบุรี) นามเดิมว่า เรือง ตั้งบ้านเรือนอยู่ ณ ตำบล บ้านสวนตาล หลังวัดพนัญเชิง ท่านเป็นพระญาติในสมเด็จกรมพระเทพามาตย์ราชชนนีในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเป็นพระญาติกับเจ้าขรัวเงิน พระชนกในสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี สมเด็จพระราชินีในรัชกาลที่ 2 แห่งบรมราชจักรีวงศ์ อนึ่ง ตัวท่าน พระยาเพชรบุรี (เรือง) นั้นสืบเชื้อสายมาแต่ตระกูลขุนนางที่รับราชการต่อเนื่องกันมาในราชสำนักหลายชั่วอายุคนแล้ว ทั้งยังเป็นตระกูลขุนนางซึ่งรู้จักกันเป็นอย่างดีในหมู่ราษฎรกรุงศรีอยุธยาเวลานั้น จึงมีบันทึกไว้ใน พงศาวดารฉบับคำให้การชาวกรุงเก่า อย่างชัดเจน ถึงสถานที่ตั้งบ้านเรือนของท่านอันอยู่บริเวณ บ้านสวนตาล หลังวัดพนัญเชิง ท่านเรือง เริ่มเข้ารับราชการโดยถวายตัวเป็นมหาดเล็กใน กรมขุนพรพินิต (สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4) ต่อมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เห็นฝีมือจึงขอตัวไปทำราชการอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งให้เป็นขุนนางฝ่ายทหาร ว่าราชการเมืองเพชรบุรี เมื่อ..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระยาเพชรบุรี (เรือง)

พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโอภาสไพศาลรัศมี

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโอภาสไพศาลรัศมี (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 — 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2440) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 16 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมราชวงศ์กลี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโอภาสไพศาลรัศมี

พระราชวังบวรสถานมงคล

ระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบวรราชวัง ตั้งอยู่ที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระราชวังที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดให้สร้างขึ้น โดยเริ่มสร้างพร้อม ๆ กับพระบรมมหาราชวังใน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระราชวังบวรสถานมงคล

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร (7 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 11 สิงหาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าสุทธสิริโสภา จุฑาธุช; ประสูติ: 16 ธันวาคม พ.ศ. 2464 — สิ้นพระชนม์: 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าสุขุมาภินันท์ บริพัตร (29 มิถุนายน 2466 - 10 เมษายน 2546) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (ธิดาของพระยาวทัญญูวินิจฉัย (หม่อมหลวงชุ่ม ปาลกะวงศ์) ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลที่ 7 และเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ ทรงเสกสมรสกับหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) มีโอรส 2 คน คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

ตราจารย์พิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร (12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์

ระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ เป็นพระที่นั่งภายในพระบวรราชวัง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่ประทับของพระองค์ ปัจจุบัน เป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จัดเป็นห้องพระบวรราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์

พระตำหนักแดง

ระตำหนักแดงภายในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร พระตำหนักแดง สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เพื่อพระราชทานเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระพี่นางพระองค์น้อยในพระองค์ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงรื้อพระตำหนักฝ่ายในภายในเขตพระราชฐานชั้นในเพื่อเปลี่ยนเป็นตำหนักตึกทั้งหมด ดังนั้น จึงโปรดให้รื้อตำหนักแดงไปปลูกที่พระราชวังเดิม เพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ โดยตำหนักแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกนั้นเป็นที่ประทับสมเด็จพระศรีสุริเยนทรา ปัจจุบัน ตำหนักส่วนนี้ได้ถูกรื้อไปปลูกเป็นกุฏิเจ้าอาวาสวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี ส่วนที่สองเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระตำหนักแดง

พระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรี

ระปฐมวงศ์ใน พระบรมราชวงศ์จักรี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรี

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระนางเธอลักษมีลาวัณ

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระโกศทองใหญ่

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา หรือสะกดว่า บรรจบเบญจมา (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 13 กันยายน พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม: ธรรมสโรช) เหตุที่ได้พระนามว่า "บัญจบเบญจมา" นั้น เนื่องจากเจ้าจอมมารดาแพ พระมารดาได้ถึงอสัญกรรมหลังประสูติการพระองค์ ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปัทมราช ความว่า "วันอังคารขึ้นสามค่ำเดือนสิบสองนางแพมารดายิ่งเยาวลักษณ์ แลภักตรพิมลพรรณ แลเกษมสันต์โสภาคย์ แลมนุษยนาคมานพนั้นคลอดบุตรเป็นหญิงออกแล้วครรภมล (รก) ไม่ออกตั้งแต่เวลาห้าทุ่ม หกบาทไป หมอแก้ไขหลายหมอก็ไม่ออก ครั้นเวลาเจ็ดทุ่มก็ตั้งหอบตาตั้ง ครั้นเวลาสามยามหมอบรัดเลอเมริกาเข้าชักครรภมลออกได้ แต่เมื่อนั้นอาการหนักชีพจรอ่อนเสียแล้วแก้ไม่ฟื้น ครั้นเวลาสามยามสี่บาทก็ขาดใจตาย ได้เอาศพไปฝังไว้วัดสมอราย แต่บุตรนั้นดีอยู่" ด้วยเหตุนี้พระราชบิดาจึงพระราชทานพระนามให้ว่า "บัญจบเบญจมา" ซึ่งแปลว่าสิ้นสุดพระองค์ที่ห้า และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดาทรงอภิบาลเป็นสิทธิ์ขาด ตั้งแต่วันประสูติ ณ พระตำหนักของท่าน เช่นเดียวกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระเชษฐา ด้วยมารดาของทั้งสองเป็นญาติกับเจ้าจอมมารดาอึ่ง พระมารดาพระองค์เจ้าบุตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา ทรงพระกรรษะตกพระโลหิต (ไอเป็นเลือด) เรื้อรังมานาน ไม่ทราบพระโรคแน่ชัด แพทย์แผนตะวันตกสันนิษฐานว่าประชวรพระโรคในปอด ส่วนแพทย์แผนไทยว่าเป็นโทษพระเสมหะและพระโลหิตอุลบทำพิษ บ้างก็ว่าเป็นวัณโรคภายในบ้าง หริศโรคบ้าง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ เป็นพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค) (เป็นธิดาเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และท่านผู้หญิงอิ่ม (ต้นสกุลมาแต่เชื้อจีน) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี แรม 13 ค่ำ เดือน 12 ปีกุน ตรงกับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน (1 มีนาคม พ.ศ. 2402 — 6 มิถุนายน พ.ศ. 2419) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี (สกุลเดิม: บุนนาค) ธิดาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) กับหม่อมคล้าย มีพระพี่น้องคือ พระองค์เจ้าแดง, พระองค์เจ้าเขียว (หญิงเล็ก), สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี เดิมพระนามของพระองค์สะกดว่า บุษบงก์เบิกบาน มาจากคำบาลีว่า ปุสปงฺค (ปุสป+องฺค) แต่สะกดว่า บุษบงเบิกบาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ (30 กันยายน พ.ศ. 2409 — 23 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับองค์ที่ 10 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ ประสูติวันพุธ เดือน 12 ขึ้น 5 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1216 ตรงกับวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์ (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2401 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2422) ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 6 แรม 13 ค่ำ ปีมะเมีย สัมฤทธิศก จุลศักราช 1220 ตรงกับวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา (21 ธันวาคม พ.ศ. 2400 — 29 มิถุนายน พ.ศ. 2461) พระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 5 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี (ประสูติ: 2 ตุลาคม พ.ศ. 2432 — สิ้นพระชนม์: 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าดารารัศมี พระราชชายา เจ้านายจากราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนนครเชียงใหม่ที่ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าในราชวงศ์จักรี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2398 — 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2424 — สิ้นพระชนม์: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ) ประสูติวันอังคาร เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีมะเส็ง ตรีศก จุลศักราช 1243 ตรงกับวันที่ 26 เมษายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม หรือ สมัยวุฎฐิวโรดม พระราชโอรสพระองค์ที่ 59 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพร้อม.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก จุลศักราช 1235 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2461) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ แรม 13 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค (27 เมษายน พ.ศ. 2416 - 26 มกราคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร (ธิดาในหม่อมเจ้าโสภณ ซึ่งเป็นพระโอรสของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯกรมขุนอิศรานุรักษ์ ต้นราชสกุล"อิศรางกูร ณ อยุธยา") ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 1 ค่ำ ปีระกา ตรงกับวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระราชธิดาพระองค์ที่ 39 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหม.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ (เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ) และขรัวยายบาง) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา (21 เมษายน พ.ศ. 2432 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2501) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาชุ่ม (สกุลเดิม: ไกรฤกษ์).

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร (4 กันยายน พ.ศ. 2413 - 5 มิถุนายน พ.ศ. 2415) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 1 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ธิดาพระยาไชยวิชิต (ช่วง กัลยาณมิตร).

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช (15 ตุลาคม พ.ศ. 2436 — 20 กันยายน พ.ศ. 2452) เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 95 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลื่อน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย (22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2416) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) ประสูติปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่อง (19 ธันวาคม พ.ศ. 2410 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2485) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นพระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี ประสูติวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2415 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดามรกฎ เพ็ญกุล พระองค์ประชวรพระโรคพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) และพระวักกะ (ไต) สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี (18 กันยายน พ.ศ. 2395 — 13 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ และเป็นพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติกาลพระราชบุตร แต่เมื่อมีพระประสูติกาล พระราชบุตรพระองค์นั้นก็ได้สิ้นพระชนม์ไปอย่างกระทันหันภายในเวลาอันสั้น พระองค์เจ้าทักษิณชาทรงเสียพระทัยยิ่งนักจนสูญเสียพระจริตในเวลาต่อมา และมิสามารถสนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในได้ต่อไป ทรงอยู่ในสภาพผู้ป่วยตลอดชีพตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 8 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ประสูติ วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2422 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาทับทิม สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) หรือที่ถวายเรียกกันว่า เสด็จอธิบดี อธิบดีหญิงคนแรกของประเทศไทย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์ หรือ นภางค์นิพัทธวงศ์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2417 — 17 กันยายน พ.ศ. 2419) พระราชโอรสพระองค์ที่ 13 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2404 สิ้นพระชนม์เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง (11 มกราคม พ.ศ. 2406 — 19 สิงหาคม พ.ศ. 2472) พระราชธิดาพระองค์ที่ 67 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 8 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล หรือ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ (19 กันยายน พ.ศ. 2430 — 19 เมษายน พ.ศ. 2433) พระราชธิดาพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2395 — 4 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท

ระองค์เจ้าเยาวภาพงษ์สนิท และพระองค์เจ้ารังสิตประยุรศักดิ์ พระอนุชา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระราชธิดาองค์ที่ 47 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ (23 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2431) พระราชโอรสพระองค์ที่ 58 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณิกาแก้ว กรมขุนขัตติยกัลยา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณิกาแก้ว กรมขุนขัตติยกัลยา (10 ธันวาคม พ.ศ. 2398 — 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2425) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย เมื่อแรกประสูติทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ากรรณิกาแก้ว มีพระอนุชาร่วมพระชนนีคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณิกาแก้ว กรมขุนขัตติยกัลยา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 — 31 สิงหาคม พ.ศ. 2432) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรั.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ มีพระนามเดิมว่าพระเจ้าบวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี ทรงเป็นต้นสกุล "จรูญโรจน์" ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 4 แรม 14 ค่ำ ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1218 ตรงกับวันที่ 24 มีนาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม (12 เมษายน พ.ศ. 2399 — 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง ลางแห่งสะกดว่า สิริรัตนบุษบง หรือ ศิริรัตน์บุษบง (4 มกราคม 2448 — 6 กรกฎาคม 2533) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร บ้างออกพระนามว่า สุทธพงศพิจิตร (16 มีนาคม พ.ศ. 2450 — 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (5 ธันวาคม พ.ศ. 2447 - 15 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตอุปนายก ผู้อำนวยการสภากาชาดไทย และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน (21 ธันวาคม พ.ศ. 2452 — 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2428 พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ได้รับปริญญา B.A.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 23 มกราคม พ.ศ. 2500) พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระองค์เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช อันประสูติแต่หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์

แพทย์หญิง พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์ นามเดิม หม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาส ภาณุพันธุ์ (4 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชหม่อมมาลี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า ซึ่งก็คือพื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงตอนตะวันตก อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หมู่พระวิมาน พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ และ อาคารมหาสุรสิงหนาท เดิมพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ที่หอคองคอเดีย (ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์

กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์ เป็นกาพย์เห่เรือที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ ซึ่งพรรณนาเกี่ยวกับอาหารคาวหวานในวัง โดยใช้การบรรยายเนื้อหาเยี่ยงนิราศ คือการรำพึงรำพันถึงสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี โดยนำเอาชื่ออาหาร ลักษณะ ส่วนประกอบ หรือความสัมพันธ์มาเชื่อมโยงเข้ากับการรำพึงรำพันนั้น นอกจากนี้ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ยังเป็นวรรณคดีที่มุ่งเน้นความงดงามไพเราะของวรรณคดีเหนือสิ่งอื่นใด มีการใช้โวหารและภาษาที่สละสลวย ตลอดจนการอุปมาเพื่อสื่อถึงรสชาติและฝีมือในการปรุงอาหารของนางอันเป็นที่รัก และการนำชื่ออาหารซึ่งสื่อถึงความในพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในความสุขจากการใกล้ชิดหรือโศกเศร้าจากการพรากจากนางอันเป็นที่รักได้อย่างกลมกลืน ชื่ออาหารหลายชนิดในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เป็นอาหารโบราณที่หารับประทานได้ยาก เนื่องจากมีวิธีการปรุงที่ยาก และต้องใช้ความประณีตในการทำเป็นอย่างมาก เช่นหรุ่ม ล่าเตียง เป็นต้น ซึ่งจากวรรณคดีเรื่องนี้ก็ทำให้มีผู้นำอาหารโบราณหลายชนิดมารื้อฟื้นฝึกปรุงใหม่กันอีกด้วย หมวดหมู่:กาพย์เห่เรือ หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทอาขยาน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์

ฝอยทอง

ฝอยทอง (fios de ovos, ฟีอุชดือโอวุช, "เส้นด้ายที่ทำจากไข่") เป็นขนมโปรตุเกส ลักษณะเป็นเส้นฝอยสีทอง ทำจากไข่แดงของไข่เป็ด เคี่ยวในน้ำเดือดและน้ำตาลทราย ชาวโปรตุเกสใช้รับประทานกับขนมปัง กับอาหารมื้อหลักจำพวกเนื้อสัตว์ และใช้รับประทานกับขนมเค้ก โดยมีกำเนิดจากเมืองอาไวรู (Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส ฝอยทองเป็นที่รู้จักในประเทศสเปนว่า อูเอโบอิลาโด (huevo hilado "ไข่ที่ปั่นเป็นเส้นด้าย"), ญี่ปุ่นว่า เครังโซเม็ง ("เส้นไข่ไก่")Kyoto Foodie,.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและฝอยทอง

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและราชวงศ์จักรี

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและราชสกุล

รายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี

ระกุลเชษฐ์ คือพระบรมวงศ์ที่ทรงดำรงฐานะสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร

วัดเขมาภิรตารามเป็นวัดโบราณ สร้างสมัยอยุธยาหรือก่อนสมัยอยุธยา พระเจ้าอู่ทองทรงสร้าง เป็นวัดหลวงในสมัยอยุธยาราวปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร

สมเด็จพระ

มเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สมเด็จพระ เป็นพระราชอิสริยยศ ชั้นพิเศษ ที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สถาปนาเจ้านายฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ในพระบรมราชวงศ์ให้มีพระราชอิสริยยศสูงขึ้น ในพระบรมราชจักรีวงศ์ มีเจ้านายที่ได้รับพระราชทานพระเกียรติยศ "สมเด็จพระ" ดังนี้.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระ

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

มเด็จพระอมรินทราบรมราชินี (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ พระนามเดิม นาค เป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

มเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกพระนามว่า สมเด็จพระนางเรือล่ม (10 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์ (19 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีในพระราชกิจจานุเบกษา ได้มีการสะกดพระนามของพระองค์ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บางคราวเรียกว่าสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้าย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าทองสุกซึ่งเป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์) พระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

้าฟ้ามาลินีนพดารา(ซ้าย) และ เจ้าฟ้านิภานภดล(ขวา) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติ ณ วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี (21 เมษายน พ.ศ. 2424 — 15 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 65 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติใน สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งในเวลาที่พระองค์ประสูตินั้น ได้มีฝนดาวตกเต็มท้องฟ้าและสามารถมองเห็นได้ในพระนคร ดังนั้น ชาววังจึงได้ออกพระนามของพระองค์ว่า “ทูลกระหม่อมดาวร่วง” พระนามของพระองค์เป็นที่มาของชื่อ โรงพยาบาลศิริร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ (๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๕ - ๑๗ มิถุนายน ๒๔๔๒) พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระนามเดิมอย่างเต็มว่า สมเด็จเจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย ศตสมัยมงคลเขตร บรมนฤเบศร์จักรีวงศ์ จุฬาลงกรณ์นาถนรินทร์ สยามินทรราชวโรรส อุกฤษฐวรยศอุภัยปักษ์ วิสุทธิศักดิ์อรรควิมลรัตน์ ขัตติยราชกุมาร ชาววังออกพระนามว่า "ทูลกระหม่อมน้อย" สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี เมื่อวันที่ 14 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ (4 กันยายน พ.ศ. 2422 — 25 กันยายน พ.ศ. 2422) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ (24 เมษายน พ.ศ. 2398 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2406) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระขนิษฐาร่วมพระครรโภทรพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ (15 เมษายน พ.ศ. 2416 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448) พระราชธิดาลำดับที่ 8 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง เป็นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 5 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าปิ๋ว

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าปิ๋ว ทรงมีพระนามเดิมว่า พระองค์ปิ๋ว ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 69 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าปิ๋ว

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พ.ศ. 2277 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2342) หรือพระนามเดิมว่า แก้ว พระธิดาลำดับที่สองในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติจากพระอัครชายาหยก ในสมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ เป็นพระพี่นางพระองค์รองในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนาท่านขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ มีพระโอรส-ธิดา กับ เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน คหบดีชาวจีนที่สืบเชื้อสายมาจากขุนนางจีนในกรุงปักกิ่ง 6 พระองค์ คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส (21 สิงหาคม พ.ศ. 2395) พระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

หม่อมยิ่ง

หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมยิ่ง

หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์

ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์

หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ

หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัต.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ

หม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล

หม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2492) เป็นบุตรหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล กับหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล (ราชสกุลเดิม ฉัตรไชย) สมรสกับ พันโทหญิงนิภาพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิริถาพร) มีบุตรธิดา 3 คน คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล (28 กันยายน 2486 -) กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยและรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง สื่อมวลชนเรียก หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล กันติดปากว่า หม่อมเต.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล

หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม) (17 พฤษภาคม 2467 - 26 เมษายน 2560,อายุ 92 ปี) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าพันธ์สิหิงค์ ทองใหญ่ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา 4 คน ดังนี้.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)

หม่อมราโชทัย นามเดิม หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร (12 มิถุนายน พ.ศ. 2363 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2410) เป็นบุตรของพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชอุ่ม กรมหมื่นเทวานุรักษ์ เป็นนัดดาของสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์ และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 เป็นปนัดดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ ซึ่งเป็นพระพี่นางในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร เกิดตอนปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อเจริญวัย บิดาได้นำไปถวายตัวอยู่กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นยังดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ สมมุติเทวาวงศ์ พงศาอิศวรกระษัตริย์ ขัตติยราชกุมาร เมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎผนวช หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ได้ตามเสด็จไปรับใช้ ต่อมาเมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎทรงสนพระราชหฤทัยในภาษาอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ได้ศึกษาตามพระราชนิยม โดยมีมิชชันนารีที่เข้ามาสอนศาสนาเป็นผู้สอน จนได้ชื่อว่าเป็นผู้มีความรู้ภาษาอังกฤษดี จนเจ้าฟ้ามงกุฎทรงใช้ให้เป็นตัวแทนเชิญกระแสรับสั่งไปพูดจากับชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี ครั้นเมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ติดตามสมัครเข้ารับราชการ ความสามารถของหม่อมราชวงศ์กระต่ายที่ช่วยราชกิจได้ดี จึงได้รับพระราชทานเลื่อนอิสริยยศเป็น "หม่อมราโชทัย" และด้วยความรู้ในภาษาอังกฤษดี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)

หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร)

นาวาตรี หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) (พ.ศ. 2408 - พ.ศ. 2461) เป็นหม่อมราชนิกูลผู้ดำรงยศ "หม่อมราโชทัย" คนที่ 3 เป็นบุตรคนที่ 9 ของหม่อมเจ้าโสภณ อิศรางกูร เป็นนัดดาของสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์ (ต้นราชสกุล "อิศรางกูร") และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (บุญรอด) ในรัชกาลที่ 2 เป็นปนัดดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ (แก้ว) ซึ่งเป็นพระพี่นางในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) เกิดตอนปลายรัชกาลที่ 4 (สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) รับราชการเป็นนายทหารพระธรรมนูญ กรมพระธรรมนูญ กระทรวงทหารเรือ ท่านเป็นพระอาจารย์ภาษาไทยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 และพระราชโอรส พระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยเป็นพระอาจารย์ผู้ช่วย พระยาอิศรพันธุ์โสภณ คนที่ 1 (ม.ร.ว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร)

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับ หม่อมหลวงใหญ่ หรือ ลำดวน อิศรเสน.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าภัทรลดา ฉัตรไชย ประสูติเมื่อ 21 มีนาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ

หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์ (24 ตุลาคม พ.ศ. 2476) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช กับหม่อมพเยาว์ ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 19 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ

ลโท หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2455 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (26 กันยายน พ.ศ. 2451 - 6 กันยายน พ.ศ. 2548) เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 2 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าคำงอก ทองแถม

หม่อมเจ้าคำงอก ทองแถม (8 มีนาคม พ.ศ. 2430 — 20 มกราคม พ.ศ. 2471) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าสุวรรณ ทองแถม หม่อมเจ้าคำงอกทรงรับราชการในกรมพระคลังมหาสมบัติ โดยเป็นข้าหลวงพระคลังมณฑลอุดรระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าคำงอก ทองแถม

หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ

ันตรี หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ

หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ (6 มกราคม พ.ศ. 2433 — 29 ธันวาคม พ.ศ. 2459) หรือเรียกอย่างลำลองว่า ท่านหญิงเอื้อย เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์ปลื้ม จิตรพงศ์ (ราชสกุลเดิม: ศิริวงศ์) พระธิดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์ แต่เดิมสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชประสงค์ให้หม่อมเจ้าปลื้มจิตรเสกสมรสกับสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา แต่สมเด็จเจ้าฟ้ากลับเลือกนางละครส่วนพระองค์คือ หม่อมแผ้ว นครราชสีมา (ต่อมาคือ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี) เป็นหม่อมแต่เพียงผู้เดียว หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ

ันโท หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ (9 มกราคม พ.ศ. 2449 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2506) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ

หอพระธาตุมณเฑียร

ในหอพระธาตุมณเฑียร ภายนอกหอพระธาตุมณเฑียร หอพระธาตุมณเฑียร เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างภายในพระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกเป็นปฐม ภายหลังจึงเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1-3 และพระบรมวงศ์ชั้นสูงหลายพระอง.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและหอพระธาตุมณเฑียร

อินทุรัตนา บริพัตร

อินทุรัตนา บริพัตร (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอินทุรัตนา บริพัตร และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา).

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและอินทุรัตนา บริพัตร

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและจังหวัดสมุทรสงคราม

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและจังหวัดนนทบุรี

จ่ามงกุฎ

มงกุฎ จ่ามงกุฎ เป็นชื่อขนมไทยชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกะละแมสีขาว ไม่ใส่สี ทำจากแป้งข้าวเจ้าหรือแป้งข้าวเหนียวนวดผสมกับแป้งถั่วเขียว นำไปกวนกับกะทิและน้ำตาลทรายขาวจนเหนียว โรยเมล็ดถั่วลิสงคั่วซอยหรือเมล็ดแตงโมกะเทาะเปลือกเป็นไส้ในตัวขนม (สูตรโบราณจะโรยแป้งทอดตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ เท่าเมล็ดข้าวสุก ซึ่งใช้เวลาทำนานกว่า)แม่กลองทูเดย์ดอทคอม.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและจ่ามงกุฎ

ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี (นามเดิม: หม่อมเจ้าฉัตรสุดา ฉัตรไชย; เกิด: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — ถึงแก่อนิจกรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ

รองศาสตราจารย์ ดร.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2310

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2310 ในประเทศไท.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและประเทศไทยใน พ.ศ. 2310

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและไทยเชื้อสายจีน

เจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)

้าพระยาสุรินทราชา นามเดิมจันทร์ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชขนานนามว่า อุปราชจันทร์แห่งเมืองนครศรีธรรมราช ต้นสกุล จันทโรจวงศ์ เป็นข้าหลวงสำเร็จราชการหัวเมือง ฝั่งตะวันตก ระหว่าง..

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)

เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อาชญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณองค์แรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

ผังบริเวณ ในเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน เป็นพื้นที่ที่มีพระตำหนักของเจ้าจอมมารดา พระมเหสี พระชายาต่างๆ เขตนี้ผู้ชายห้ามเข้า หากจะเข้าต้องมีโขลนคอยดูแลอยู่ตลอด ส่วนแถวเต๊ง เป็นตึกแถวยาวที่เคยเป็นกำแพงวังสมัยรัชกาลที่ 1 โดยมีประตูช่องกุดเป็นช่องทางเข้าออกของชาววัง ซึ่งอยู่ใกล้ประตูศรีสุดาวงศ์ ซึ่งเป็นประตูชั้นในที่จะต่อกับแถวเต๊ง บริเวณนั้นมีสวนขวาอันเป็นพระราชอุทยานซึ่งรัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเป็นพระอภิเนาว์นิเวศน์ และมีสวนเต่า พวกเจ้านายจะทรงพระสำราญที่นี่ และเวลาไว้พระศพเจ้านายชั้นสูงก็จะไว้ที่หอธรรมสังเวชซึ่งอยู่ทางตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

เงิน แซ่ตัน

้าขรัวเงิน แซ่ตัน เป็นพระภัสดา (สามี) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระพี่นางในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) มีนามเดิมว่า เงิน เป็นบุตรชายคนคนที่ 4 ของเศรษฐีชาวจีนฮกเกี้ยนกับน้องสาวของท่านผู้หญิงน้อย ภรรยาของเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่) บิดาของท่านสืบเชื้อสายมาจากขุนนางในกรุงปักกิ่ง มีพี่น้อง 4 คน คือ.

ดู สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและเงิน แซ่ตัน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์สมเด็จพระศรีสุริเยนทร์เจ้าฟ้าบุญรอด

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาคพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมารพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณิกาแก้ว กรมขุนขัตติยกัลยาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดาพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคลพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์ฝอยทองราชวงศ์จักรีราชสกุลรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรีรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหารสมเด็จพระสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าปิ๋วสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัสสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)หม่อมยิ่งหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุลหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุลหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร)หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุลหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติหม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุลหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์หม่อมเจ้าคำงอก ทองแถมหม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติหอพระธาตุมณเฑียรอินทุรัตนา บริพัตรจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดนนทบุรีจ่ามงกุฎฉัตรสุดา วงศ์ทองศรีประภาพันธุ์ กรโกสียกาจประเทศไทยใน พ.ศ. 2310ไทยเชื้อสายจีนเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)เงิน แซ่ตัน