โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี

ดัชนี รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี

อายะตุลลอฮ์ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี (เปอร์เซีย:; อังกฤษ: Ruhollah Khomeini) (24 กันยายน ค.ศ. 1902 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1989) อดีตผู้นำสูงสุดแห่งอิหร่าน ผู้ทำการล้มล้างอำนาจของพระเจ้าชาร์มูฮัมหมัด เรซา ปาฮ์เลวี ของอิหร่านซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2523 ประกาศการปฏิวัติอิสลาม และประกาศสงครามอิหร่าน-อิรัก.

26 ความสัมพันธ์: บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์พ.ศ. 2443พ.ศ. 2445พ.ศ. 2522พ.ศ. 2532พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีการปฏิวัติอิหร่านวิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่านสงครามอิรัก–อิหร่านอะลี คอเมเนอีอาซาเดห์ ชาฟิกฮิซบุลลอฮ์ผู้นำสูงสุดอิหร่านจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีซัลมัน รัชดีประเทศอิหร่านโรนัลด์ เรแกนไทยเชื้อสายเปอร์เซียเพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านเศรษฐศาสตร์อิสลามเติ้ง เสี่ยวผิง1 เมษายน11 กุมภาพันธ์17 พฤษภาคม24 กันยายน3 มิถุนายน

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอิหร่าน

การปฏิวัติอิหร่าน (หรือเรียก การปฏิวัติอิสลาม หรือการปฏิวัติ ค.ศ. 1979; เปอร์เซีย: انقلاب اسلامی, Enghelābe Eslāmi หรือ انقلاب بیست و دو بهمن) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการโค่นราชวงศ์ปาห์ลาวีภายใต้พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา และการแทนที่ด้วยสาธารณรัฐอิสลามภายใต้รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ผู้นำการปฏิวัติ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์การฝ่ายซ้ายและอิสลามหลายแห่ง และขบวนการนักศึกษาอิหร่าน เริ่มการเดินขบวนต่อต้านชาห์ในเดือนตุลาคม 2520 พัฒนาเป็นการรณรงค์การดื้อแพ่งซึ่งมีทั้งภาคฆราวาสและศาสนา ซึ่งบานปลายในเดือนมกราคม 2521 ระหว่างเดือนสิงหาคมและธันวาคม 2521 การนัดหยุดงานและการเดินขบวนทำให้ประเทศเป็นอัมพาต ชาห์เสด็จออกนอกประเทศอิหร่านเพื่อลี้ภัยเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2522 เป็นพระมหากษัตริย์เปอร์เซียพระองค์สุดท้าย ปล่อยภาระหน้าที่ให้สภาผู้สำเร็จราชการและนายกรัฐมนตรีที่อิงฝ่ายค้าน รัฐบาลเชิญรูฮุลลอฮ์ โคมัยนีกลับประเทศอิหร่าน และกลับสู่กรุงเตหะรานซึ่งมีชาวอิหร่านหลายล้านคนรอต้อนรับ การทรงราชย์สิ้นสุดหลังวันที่ 11 กุมภาพันธ์ เมื่อกองโจรและทหารกบฏชนะกำลังซึ่งภักดีต่อชาห์ในการสู้รบด้วยอาวุธตามถนน นำให้โคมัยนีเถลิงอำนาจอย่างเป็นทางการ อิหร่านออกเสียงลงคะแนนการลงประชามติทั่วประเทศให้เป็นสาธารณรัฐอิสลามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2522 และรับรองรัฐธรรมนูญเทวาธิปไตย-สาธารณรัฐนิยมฉบับใหม่Kurzman ซึ่งโคมัยนีกลายเป็นผู้นำสูงสุดของประเทศ ในเดือนธันวาคม 2522 การปฏิวัตินี้แปลกสำหรับความประหลาดใจที่สร้างไปทั่วโลก เพราะขาดสาเหตุการปฏิวัติดังที่เคยมีมา (เช่น แพ้สงคราม วิกฤตการณ์การเงิน กบฏชาวนาหรือกองทัพไม่พอใจ) เกิดในชาติที่มีความมั่งคั่งทางวัตถุและเจริญรุ่งเรืองค่อนข้างดี มีความเปลี่ยนแปลงลึกซึ้งด้วยความเร็ว เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางทำให้มีการลี้ภัยของชาวอิหร่านจำนวนมากKurzman, p. 121 และแทนกึ่งสมบูรณาญาสิทธิราชนิยมตะวันตกด้วยเทวาธิปไตยอำนาจนิยมต่อต้านตะวันตกInternational Journal of Middle East Studies, 19, 1987, p. 261โดยยึดมโนทัศน์ความอนุบาลของนักนิติศาสตร์อิสลาม (Guardianship of the Islamic Jurists หรือ velayat-e faqih) เป็นการปฏิวัติที่ค่อนข้างไม่รุนแรง และช่วยนิยามความหมายและการปฏิบัติของการปฏิวัติสมัยใหม่ใหม่ (แม้มีความรุนแรงให้หลังการปฏิวัติ).

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและการปฏิวัติอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน

วิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่านคือการจับตัวประกันโดยนักศึกษาชาวอิหร่านโดยมี่ขอเรียกร้องคือส่งตัวพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีที่ไปอยู่ในสหรัฐอเมริกาม.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและวิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิรัก–อิหร่าน

งครามอิรัก–อิหร่าน (Iran–Iraq War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิหร่านและประเทศอิรัก ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 1980 ถึงสิงหาคม 1988 มีการประเมินว่าสงครามครั้งนี้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (30.6 ล้านล้านบาท) สงครามอิรัก–อิหร่านเริ่มขึ้นเมื่ออิรักทำการรุกรานอิหร่านในวันที่ 22 กันยายน 1980 อันเนื่องมาจากข้อพิพาททางชายแดนที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน หลังการปฏิวัติอิหร่านในปี 1979 รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ได้ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านและประกาศตนเป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะฮ์อันเป็นคนส่วนมากในอิรักขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกัน อิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทนที่อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสที่อิหร่านกำลังวุ่นวายนี้เข้าโจมตีอิหร่านโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึดครองยังได้ไม่มากก็ถูกโต้กลับอย่างรวดเร็ว อิหร่านสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตลอดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ร้องให้มีการหยุดยิงนับสิบๆครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988 และสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับคำขอหยุดยิง ซึ่งภายหลังข้อสรุปนี้ กองทัพอิหร่านต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการถอนกำลังออกจากดินแดนอิรักโดยยึดเอาหลักเขตแดนก่อนสงคราม เชลยสงครามคนสุดท้ายของสงครามนี้ถูกส่งตัวกลับประเทศตนในปี 2003 สงครามครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตรวมกันกว่าหนึ่งล้านคนแต่กลับไม่มีฝ่ายใดได้หรือสูญเสียดินแดนเลย สงครามครั้งนี้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในแง่ของกลยุทธ ทั้งการใช้แท่นปืนกล, การโจมตีแบบคลื่นมนุษย์, การใช้อาวุธเคมีจำนวนมากโดยกองทัพอิรัก ประเทศอิสลามจำนวนมากอยู่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้, ยุทโธปกรณ์ และภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน ซึ่งในระหว่างสงคราม มีการวิจารณ์จากสื่อว่า "ประชาคมโลกต่างพากันเงียบกริบตอนอิรักใช้อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงต่ออิหร่านและชาวเคิร์ด" และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะประกาศให้อิรักเป็นผู้ก่อสงครามก็จนกระทั่ง 11 ธันวาคม 1991 สิบสองปีให้หลังจากที่อิรักทำการรุกรานอิหร่าน และเป็นเวลาสิบหกเดือนหลังอิรักรุกรานคูเวต ซึ่งบานปลายเป็นสงครามอ่าว.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและสงครามอิรัก–อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

อะลี คอเมเนอี

อะลี คอเมเนอี (Ali Khamenei, سید علی حسینی خامنه‌ای; เกิด 19 เมษายน 1939) เป็นผู้นำสูงสุดอิหร่านคนที่ 2 และคนปัจจุบัน หลังจากรูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ซึ่งเป็นผู้นำการปฏิวัติอิหร่านได้เสียชีวิตลง อะลี คอเมเนอี ถูกเลือกให้เป็นผู้นำสูงสุดคนใหม่โดยสภาผู้ชำนาญการในวันที่ 4 มิถุนายน 1989 เมื่ออายุ 50 ปี คอเมเนอียังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งอิหร่านระหว่างปี 1981 ถึงปี 1989 ในปี 2012, 2013 และ 2014 ฟอบส์ จัดให้เขาเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลก อันดับที่ 21, 23 และ 19 ตามลำดั.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและอะลี คอเมเนอี · ดูเพิ่มเติม »

อาซาเดห์ ชาฟิก

อาซาเดห์ ชาฟิก (พ.ศ. 2494 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554) เป็นพระธิดาในเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี กับอะห์มัด ชาฟิก ชาวอียิปต์ โดยเจ้าหญิงอัชราฟ พระชนนีในอาซาเดห์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน ภายหลังการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในอิหร่าน อาซาเดห์ได้ทำการต่อต้านการปกครองอิหร่านของอยาตุลเลาะห์ โคมัยนีในต่างประเทศ โดยอาศัยในคฤหาสน์ดูปง (Villa Dupont) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาซาเดห์ทำงานทางด้านสิทธิมนุษยชน และช่วยเหลือผู้ลี้ภัยชาวอิหร่านในประเทศตุรกี ด้านชีวิตส่วนตัวได้สมรสทั้งหมดสองครั้ง โดยครั้งสุดท้ายได้สมรสกับอดีตพนักงานชาวอิหร่าน โดยบุตรเพียงคนเดียวจากการสมรสครั้งแรกคือ คัมราน ชาฟิก (Kamran Shafiq) หรือ คาเมรอน ปาห์ลาวี ชาฟิก (Cameron Pahlavi) และต่อมาเจ้าหญิงได้ทำการขายคฤหาสน์ดูปงในภายหลัง อาซาเดห์ ชาฟิก ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและอาซาเดห์ ชาฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์

วามหมายอื่นของ ฮิซบุลลอฮ์ ดูที่ ฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม) ฮิซบุลลอฮ์ (Hezbollah; حزب الله "พรรคแห่งอัลลอฮ์") สื่อเมืองไทยสะกด ฮิซบอลเลาะห์ หรือ ฮิซบอลลาห์ เป็นองค์กรและพรรคการเมืองของชาวมุสลิมชีอะฮ์ในเลบานอน ซึ่งมีกองทัพของตนเอง ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1982 อันเป็นปีที่อิสราเอลบุกรุกเลบานอน โดยมีจุดประสงค์เพื่อขับไล่กองทัพอิสราเอลที่ยึดครองเลบานอน จนสามารถต่อสู้และขับไล่ทัพอิสราเอลออกจากเลบานอนได้ในปี ค.ศ. 2000 เลขาธิการใหญ่ของพรรคฮิซบุลลอฮ์คือ ซัยยิด ฮะซัน นัศรุลลอห.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและฮิซบุลลอฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำสูงสุดอิหร่าน

ผู้นำสูงสุดแห่งอิหร่าน (ولی فقیه ایران,, แปลตามตัวอักษร ปราชญ์กฎหมายผู้พิทักษ์อิหร่าน หรือ رهبر انقلاب,, แปลตามตัวอักษร ผู้นำการปฏิวัติ) เป็นประมุขแห่งรัฐและผู้นำสูงสุดทางการเมืองและศาสนาของ สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ตำแหน่งนี้ตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญของอิหร่านภายใต้หลักการของ Guardianship of the Islamic Jurists คำว่า ผู้นำ "สูงสุด" (Persian: ولی فقیه, vali-e faghih) เป็นการแสดงความนับถือ แต่ไม่ใช่ถ้อยคำจากรัฐธรรมนูญ ซึ่งเรียกว่า ผู้นำ เท่านั้น (rahbar) ตำแหน่งผู้นำนี้มีอำนาจสูงกว่าประธานาธิบดีอิหร่านและมีอำนาจแต่งตั้งผู้นำองค์กรที่สำคัญต่างๆ ของประเทศ ทั้งทางทหาร พลเรือน และตุลาการ"Who's in Charge?" by Ervand Abrahamian London Review of Books, 6 November 2008 แต่เดิมนั้นรัฐธรรมนูญระบุไว้ว่าผู้นำสูงสุดต้องเป็น Marja'-e taqlid ตำแหน่งสูงสุดทางกฎหมายศาสนาของ Usuli Twelver Shia Islam แต่ในประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและผู้นำสูงสุดอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ซัลมัน รัชดี

ซัลแมน รัชดี เซอร์ อาเหม็ด ซัลแมน รัชดี (Ahmed Salman Rushdie) (19 มิถุนายน พ.ศ. 2490 -) นักเขียนลูกครึ่งอินเดีย-อังกฤษ เกิดที่เมืองบอมเบย์ ผู้เคยได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ จากผลงานเขียนชิ้นที่สอง เมื่อ..

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและซัลมัน รัชดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

โรนัลด์ เรแกน

รนัลด์ วิลสัน เรแกน (Ronald Wilson Reagan; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2547) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 (พ.ศ. 2524–2532) สังกัดพรรครีพับลิกัน นอกจากนี้เรแกนยังดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย คนที่ 33 (พ.ศ. 2510-พ.ศ. 2518) ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็นผู้ประกาศข่าวและนักแสดงมาก่อน เรแกนเกิดในเมือง ตัมปีโก, รัฐอิลลินอยส์ เติบโตมาในดิกซัน แรแกนได้ศึกษาเข้าที่มหาวิทยาลัย Eureka โดยได้หารายได้จากศิลปศาสตรบัณฑิต ปริญญาในสาขาเศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยา หลังจากสำเร็จการศึกษา เรแกนได้ย้ายไปยัง รัฐไอโอวา โดยทำหน้าที่เป็นผู้กระจายเสียงทางวิทยุ หลังจากในปี พ.ศ. 2480 เรแกนได้ไปยังเมือง ลอสแอนเจลิส เมื่อเรแกนเริ่มทำงานโดยการเป็นนักแสดง โดยเป็นครั้งแรกในภาพยนตร์และครั้งสุดท้ายในวิทยุ หนึ่งในภาพยนตร์ที่โดดเด่นที่สุดของเขามีดังนี้ Knute Rockne, All American (2483), Kings Row (2485), and Bedtime for Bonzo (2494) เรแกนทำหน้าที่เป็นประธานของสมาคมนักแสดงหน้าจอและต่อมาเป็นโฆษกสำหรับ General Electric (GE) จุดเริ่มต้นของแรแกนในทางการเมืองที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานของเขาสำหรับจีอี แต่เดิมเขาเป็นสมาชิกของพรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) แต่เนื่องจากฝ่ายขยับแพลตฟอร์มในระหว่างปี พ.ศ. 2493 เปลี่ยนไปอยู่ในพรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) ใน พ.ศ. 2505 หลังจากการส่งมอบคำพูดที่เร้าใจในการสนับสนุนของผู้สมัครประธานาธิบดี แบรี่ โกรวอทเธอร์ ในปี พ.ศ. 2507, เขาถูกชักชวนให้ไปหาผู้ว่าจ้างแคลิฟอเนีย, เขาชนะสองปีและอีกครั้งในปี พ.ศ. 2513 เขาก็พ่ายแพ้ในระยะของเขาสำหรับพรรคริพับลิกันเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2511 และในปี พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและโรนัลด์ เรแกน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายเปอร์เซีย

วไทยเชื้อสายเปอร์เซีย หรือบางครั้งอาจถูกเรียกว่า แขกมะหง่น, แขกมะหง่อน, แขกมห่น, แขกมะห่น หรือแขกเจ้าเซ็น หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศไทย ในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามชีอะฮ์ตั้งถิ่นฐานแถบฝั่งธนบุรี, เขตยานนาวา, เขตบึงกุ่ม, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น"นักเดินทาง...เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน" ธนบุรี, หน้า 153 ส่วนกลุ่มที่หันไปนับถือศาสนาพุทธ คือ สกุลบุนนาค เป็นต้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและไทยเชื้อสายเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

ลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (سرود ملی جمهوری اسلامی ایران) เป็นผลงานการประพันธ์ทำนองของฮัสซัน ริยาฮี (Hassan Riyahi) ประกอบด้วยเนื้อร้องซึ่งประพันธ์โดยคณะบุคคลจำนวนหนึ่ง เริ่มใช้เมื่อปี ค.ศ. 1990 เพื่อใช้แทนเพลงชาติซึ่งใช้ในสมัยการปกครองของอายะตุลลอห์ โคไมนี.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและเพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์อิสลาม

ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือ ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น เรื่อง เศรษฐศาสตร์ เป็นเรื่องหนึ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษยชาติ และอิสลามก็มีมุมมองเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ โดยทั่วไปแล้วคำว่า "เศรษฐศาสตร์อิสลาม" จะถูกใช้ประโยชน์ไปในกรณีต่างๆที่หลากหลายออกไป เช่น "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม" เกี่ยวกับ "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" นั้นมีประเด็นละเอียดอ่อนที่ต้องระมัดระวัง หากไม่คำนึงถึงบทเบื้องต้นและประเด็นต่างๆนั้นแล้ว ก็ไม่สามารถนำเสนอเป้าหมายที่น่าเชื่อถือของคำนี้ได้ เมื่อพูดถึงคำว่า "ศาสตร์" โดยทั่วไปอันเป็นที่รู้กันก็จะอธิบายว่าหมายถึง วิชา หรือ วิทยาศาสตร์ นั่นเอง ซึ่งก็หมายถึงประมวลความรู้ที่ได้รับการยืนยันด้วยวิธีการทดลองที่เกิดขึ้นในยุคเรืองปัญญาในตะวันตก แล้วก็ค่อยๆพัฒนาขึ้นเรื่อยมา วิชาเศรษฐศาสตร์ا หรือ เศรษฐศาสตร์การเมือง ก็ไม่มีข้อยกเว้นสำหรับกฎข้อนี้เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์อิสลามหรือทุกแนวคิดทางศาสนากับศาสตร์ด้านการทดลองเป็นไปในเชิงการเปรียบเทียบ เพราะเศรษฐศาสตร์ต้องให้คำตอบแก่คำถามที่ว่า ในวิชานี้พูดถึงเรื่องด้านต่างๆที่เกี่ยวกับคุณค่า ด้านจริยธรรมหรือเรื่องที่เกี่ยวกับความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร? หากนักค้นคว้าด้านเศรษฐศาสตร์หรือนักปรัชญาด้านเศรษฐศาสตร์เชื่อว่า สามารถพบเรื่องต่างๆนี้ได้ในประมวลของเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง โดยตรรกะแล้วเขาสามารถเชื่อในการมีอยู่ของเศรษฐศาสตร์อิสลาม อีกด้านหนึ่งหากบุคคลหนึ่งเชื่อว่าไม่มีเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าทางจริธรรมอยู่เลยในเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง ดังนั้น "เศรษฐศาสตร์อิสลาม"ถือว่าไม่มีความหมายในทัศนะของเขา บนพื้นฐานของการจำแนกดังกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นว่ามีทัศนะต่างๆมากมายเกี่ยวกับ วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม บ้างก็เชื่อว่าระหว่าง "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม"กับ"ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม"นั้นแยกออกจากกัน ในทัศนะของพวกเขา ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือการนำเอาหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วสำนักเศรษฐศาสตร์อิสลามก็ให้ความความสนใจเช่นกัน สามารถให้คำนิยามแก่ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลามตามบันทัดฐานของการให้คำนิยามได้ว่า หมายถึง ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและเศรษฐศาสตร์อิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง เสี่ยวผิง

ติ้ง เสี่ยวผิง (22 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นผู้เปลี่ยนแปลงพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงต้นทศวรรษ 2520 ถึง..

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและเติ้ง เสี่ยวผิง · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รูฮุลลอฮ์ โคมัยนีและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ruhollah Khomeiniรูฮัลลาห์ โคไมนีอยาตอลลาห์ โคไมนีอยาตุลเลาะห์ โคมัยนีอะญาตุลลอฮ์ โคไมนีอะยาตุลลอฮ์ โคไมนีอายะตุลลอห์ โคไมนีอายะตุลลอฮ์ โคมัยนีโคไมนี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »