โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รามเกียรติ์

ดัชนี รามเกียรติ์

ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.

153 ความสัมพันธ์: ชบาชมพูพานชามพูวราชชิวหาชื่อวันของสัปดาห์บ้านพิบูลธรรมพญาทูษณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระพรตพระพายพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)พระยาขรพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระรามพระราม (แก้ความกำกวม)พระลักษมีพระลักษมณ์พระศิวะ (ละครโทรทัศน์)พระสัตรุดพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระอินทร์พล พตพาลีพิเภกพุดซ้อนกระเช้าสีดาการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองกุมภกรรณกุมภกาศกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36ภาษาไมถิลีภานุราชมหากายมหายมยักษ์มัจฉานุมังกรกัณฐ์มังคุดมารีศมานะ มานี ปิติ ชูใจมิสแกรนด์สมุทรสาครมิสแกรนด์นครนายกม้ายักษ์ยักษ์ (ภาพยนตร์)ยามะซะตอรัชฎารามสูร...รามายณะรายชื่อวรรณคดีไทยรายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์ราวณะฤๅษีนารทมุนีละครละครรำลายวงกตลำนำหกพิภพลิงวรรณคดีกัมพูชาวัฒนธรรมกัมพูชาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดคุ้งท่าเลาวัดเขาวงพระจันทร์วันวิสาขบูชาวายุภักษ์วานรสิบแปดมงกุฎวิรุณจำบังวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสวดคฤหัสถ์สวนพฤกษศาสตร์หักกาลาสัตว์หิมพานต์สุครีพสีดา (เพลง)สดายุสง่า มะยุระหมากรุกไทยหนังตะลุงหนังใหญ่หนุมานหนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์อาณาจักรธนบุรีอาดอนอินทรชิตอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอุณรุทร้อยเรื่ององคตจังหวัดลพบุรีจันทนีย์ อูนากูลจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์จตุรพักตร์ทศกัณฐ์ทศกัณฐ์ (ละครโทรทัศน์)ทศกัณฐ์ (แก้ความกำกวม)ทศคีรีวัน ทศคีรีธรทัชชกร ยีรัมย์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท้าวมหาชมพูท้าวลัสเตียนท้าวจักรวรรดิท้าวทศรถดรุโณวาทดาหลังตรีเมฆตรีเศียรประเทศไทยปราสาทบันทายสำเหร่ปักหลั่นปังปอนด์นักสิทธิ์นาฏศิลป์ในประเทศลาวนางกวัก (เทพปกรณัม)นางกาลอัคคีนาคราชนางมณโฑนางลังกากินีนางสำมนักขานางสุพรรณมัจฉานางสีดานางอากาศตะไลนางตรีชฎานางโมหิณีนางเบญกายนิราศนนทกนนทสูรแฟนพันธุ์แท้ 2001แฟนพันธุ์แท้ 2002แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟนแสงอาทิตย์ (รามเกียรติ์)โมกโขนโขนชักรอกโขนฉากโคราฆปุระโคลงหริภุญชัยไชยามพวานไมยราพไมยราพและไมยราบ (แก้ความกำกวม)ไยบะ เจ้าหนูซามูไรไทยโยเดียเพลงลูกทุ่งเกดเมขลาเรือหลวงมัจฉาณุเรือหลวงวิรุณเสกสรรค์ ศุขพิมายเขาวงพระจันทร์เปาวนาสูร1820 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (103 มากกว่า) »

ชบา

() เป็นพืชมีดอกในสกุล Hibisceae วงศ์ Malvaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ มาเลเซีย ใช้เปลือกรากแช่ในน้ำข้ามคืนและดื่มขณะท้องว่างเพื่อรักษาฝี.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และชบา · ดูเพิ่มเติม »

ชมพูพาน

มพูพาน (जाम्‍बवान) เป็นตัวละครจากวรรณกรรมเรื่อง "รามเกียรติ์" เป็นลิงกายสีหงส์ชาด (สีแดง) เป็นลูกเลี้ยงของพญาพาลีแห่งเมืองขีดขิน ถือกำเนิดมาจากเหงื่อไคลพระอิศวร มีความรู้ในเรื่องยา สุครีพจึงพาไปถวายตัวต่อพระราม จึงมีหน้าที่เป็นแพทย์ประจำกองทัพพระราม เคยติดตามหนุมานและองคต ในตอนหนุมานไปถวายแหวนแก่นางสีดา ที่กรุงลงกา เมื่อครั้งศึกทศพิน ชมพูพานก็ได้รับมอบหมายให้เป็นทูตถือพระราชสารประกาศสงคราม เมื่อสิ้นศึกกรุงลงกา พระรามทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้ไปเป็นเจ้ากรุงปางตาล.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และชมพูพาน · ดูเพิ่มเติม »

ชามพูวราช

ตรกรรมฝาผนังวัดพระศรีรัตนศาสดารามตอน อินทรชิตทำพิธีชุบศรแต่ถูกชามพูวราชที่แปลงเป็นหมีมาทำลายพิธี ชามพูวราช หรือ นิลเกษร เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นพญาวานรในกองทัพพระราม เกิดจากไม้ไผ่ที่พระอิศวรนำมาทำธนูแต่พอลองโก่งยิงธนูก็หัก เกิดเป็นชามพูวราชออกมา มีบทบาทสำคัญตอนศึกลงกา เป็นผู้เสนอให้พระรามจองถนนไปกรุงลงกาเพื่อเป็นพระเกียรติยศ และตอนแปลงร่างเป็นหมีใหญ่กัดต้นโรทันเพื่อทำลายพิธีชุบศรนาคบาศของอินทรชิต หลังจากเสร็จศึกลงกา ชามพูวราชได้เป็นอุปราชเมืองปางตาล.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และชามพูวราช · ดูเพิ่มเติม »

ชิวหา

จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ห้อง 21 ตอน ทศกัณฐ์ประพาสป่าให้ชิวหาน้องเขยรักษาเมือง ชิวหา เป็นตัวละครในวรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ เป็นน้องเขยของทศกัณฐ์ สามีของนางสำมนักขา มีลักษณะกายสีหงเสน ยอดน้ำเต้ากลม ตาจระเข้ ปากแสยะ แลบลิ้น เมื่อครั้งนั้น ทศกัณฐ์ไปประพาสป่า จึงให้น้องเขยเฝ้าเมืองไว้ ฝ่ายชิวหา เมื่อได้รับหน้าที่ก็ทำหน้าที่อย่างดี ชิวหา เป็นยักษ์ที่มีฤทธิ์เดช คือมีลิ้นที่ยาวและใหญ่ สามารถใช้ในการศึกได้ เมื่อชิวหาได้รับหน้าที่มา ก็จัดยามตามไฟรักษาเมืองไม่ได้หลับไม่ได้นอน จนวันที่ 7 ชิวหา ก็ทนความง่วงไม่ไหว จึงเนรมิตกายให้ใหญ่โต แล้วแลบลิ้นไปปิดเมืองลงกาไว้ แล้วหลับไป ฝ่ายทศกัณฐ์ เมื่อกลับมาจากประพาสป่า มองไม่เห็นเมืองลงกา ก็เข้าใจว่าเป็นอุบายของศัตรูบดบังเมืองไว้ ด้วยความโกรธ จึงขว้างจักร อาวุธของตนไปตัดลิ้นชิวหาทันที ชิวหาถูกตัดลิ้นขาดไปก็สิ้นใจลง นางสำมนักขาเสียใจมาก จึงไปเที่ยวป่าแล้วเจอกับพระราม จนเป็นปฐมเหตุของสงครามครั้งนี้ในที่สุด หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และชิวหา · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อวันของสัปดาห์

วันในสัปดาห์ ถูกตั้งชื่อตามวัตถุบนท้องฟ้าที่สำคัญ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และ ดาวเสาร์ ซึ่งเป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสนใจในเรื่องของฟากฟ้าแล้ว วันเสาร์และวันอาทิตย์ถูกเรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ วันแห่งการพักผ่อนหรือนันทนาการในประเทศตะวันตก ส่วนวันศุกร์และวันเสาร์ เป็นวันแห่งการพักผ่อนในประเทศมุสลิมบางประเทศ ในอิสราเอล ถือว่าวันเสาร์และวันศุกร์หรือวันอาทิตย์เป็นวันพักผ่อนของสัปดาห์ตามโอกาส แต่ในบางประเทศ เช่น อิหร่าน มีวันหยุดของสัปดาห์เพียงแค่หนึ่งวัน คือ วันศุกร์เท่านั้น และสัปดาห์ใหม่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์ ประเทศมุสลิมอื่น ๆ มักจะมีวันหยุดเป็นวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์ตามวิชาโหราศาสตร์ ในศาสนายูดาย และใน Ecclesiastical Latin รวมไปถึงในสหรัฐอเมริกา และในบางประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ประเทศไทย ด้วย ส่วนประเทศจำนวนมากในยุโรป อเมริกาใต้ และบางส่วนของเอเชีย ถือว่าวันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างนานาชาติมาตรฐานสำหรับการใช้วันและเวลา ISO 8601 ซึ่งกำหนดให้วันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ และวันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และชื่อวันของสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านพิบูลธรรม

้านพิบูลธรรม บ้านพิบูลธรรมด้านหลัง บ้านพิบูลธรรมด้านข้างบันไดเวียนภายในบ้านพิบูลธรรม มุมหนึ่งในบ้านพิบูลธรรม อาคารด้านหลังบ้านพิบูลธรรมด้าน บ้านพิบูลธรรม เลขที่ 17 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก ยศเส เดิม เขตปทุมวัน ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ สำนักงานรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวง ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และบ้านพิบูลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พญาทูษณ์

ญาทูษณ์ หรือ พญาทูต (ทูษณ์ หรือ ทูต - พญายักษ์ (อสุรพงศ์)) เป็นตัวละครจากวรรณกรรมเรื่อง "รามเกียรติ์" เป็นโอรสองค์ที่ ๕ ของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎา น้องชายร่วมบิดามารดาของทศกัณฐ์เป็นกษัตริย์เมืองจารึกองค์ที่ ๑ มีบทบาทแค่ตอนที่ นางสำมนักขา ผู้เป็นน้องสาว แค้น พระรามและได้มาขอความช่วยเหลือ ให้ไปฆ่าพระราม และสามารถหักศรพระรามได้ แต่พระรามก็ได้เอา คันธนูที่ รามสูร ให้ไว้ สุดท้าย พระยาทูษณ์ ก็โดนพระรามแผลงศร ตายในที.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพญาทูษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระพรต

ระพรต เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีกายสีแดง (คือจักรแก้วของพระนารายณ์ที่อวตารลงมาพร้อมกับพระราม) เป็นโอรสของท้าวทศรถกับพระนางไกยเกษี คำว่า "พรต" มีความหมายว่า "พระ" (พงศ์นารายณ์ - วงศ์กษัตริย์แห่งเมืองอโยธยา).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระพรต · ดูเพิ่มเติม »

พระพาย

ระพาย (เทวนาครี: वायु; "วายุ") เป็นเทพเจ้าแห่งลมและพายุ รวมถึงท้องฟ้า ตามคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพแห่งธรรมชาติ เช่นเดียวกับพระพิรุณ (ฝน), พระอัคนี (ไฟ), พระแม่คงคา (น้ำ), พระแม่ธรณี (พื้นดิน) พระพายเป็นบุตรของพระกัศยปเทพบิดร และนางทิติ มีหน้าที่ให้ลมแก่สามโลก ในวรรณคดีมหาภารตะ พระพายเป็น บิดาของภีมะ และในวรรณคดีรามเกียรติ์พระพายเป็นบิดาของ หนุมานและยังเป็นปู่ของมัจฉานุกับอสูรผัด ตามคำภีร์วิษณุปุราณะว่า พระพายเป็นกษัตริย์แห่งคนธรรพ์ สำหรับรูปร่างลักษณะของพระพาย มีแตกต่าง หลากหลายออกไป ในคัมภีร์ไตรเทพระบุว่า พระพาย มีกายสีขาวลักษณะงดงามยิ่งนัก ทรงสัตว์พาหนะจำพวกแอนทิโลปหรือกวาง บางปกรณัมก็ว่าทรงเสือสีน้ำเงิน นอกจากนี้แล้ว พระพายยังถือเป็นเทพประจำทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (พายัพ) โดยคำว่า "พายัพ" เป็นภาษาสันสกฤต อ่านว่า "วายวฺย" เมื่อถอดความแล้วจะหมายถึง "ทิศของวายุ".

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระพาย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)

มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) (23 ตุลาคม 2414 - 10 ตุลาคม 2492 - 78 ปี) เป็นผู้มีฝีมือทางด้านศิลปะ โดยเฉพาะด้านจิตรกรรม และการถ่ายภาพ จนได้เป็นช่างภาพประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยฉายพระบรมฉายาลักษณ์ และการเสด็จประพาสในวาระต่าง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาขร

ระยาขร (ขร - พญายักษ์ (อสุรพงศ์)) เป็นตัวละครจากวรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ มีรูปลักษณ์สีเขียว ๑ หน้า ๒ มือ มงกุฎจี.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระยาขร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราม

ระราม (राम รามะ) เป็นตัวละครเอกในเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งชาวฮินดูเชื่อว่าเป็นร่างอวตารปางที่ 7 ของพระวิษณุ อวตารลงมาเป็นโอรสท้าวทศรถและนางเกาสุริยา มีพระวรกายเป็นสีเขียว ทรงธนูเป็นอาวุธ มีศรวิเศษสามเล่มคือ ศรพรหมมาตร ศรอัคนิวาต และศรพลายวาต เวลาสำแดงอิทธิฤทธิ์จะปรากฏเป็น 4 มือ ทรงเทพอาวุธ ตรี คฑา จักร สังข์ พระรามมีพระอนุชาร่วมพระบิดา 3 พระองค์ ได้แก่ พระพรต พระลักษมณ์ และพระสัตร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระราม · ดูเพิ่มเติม »

พระราม (แก้ความกำกวม)

ำว่า พระราม อาจมีความหมายอื่นๆ ดังนี้.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระราม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พระลักษมี

รูปปั้นนูนสูงของพระแม่ลักษมีประดับเทวสถานมุนีศวรัม ประเทศศรีลังกา เทวรูปพระลักษมีสำริด ศิลปะโจฬะ อินเดียใต้ พระลักษมี (ลกฺษฺมี) หรือ พระมหาลักษมี เป็นเทพีในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งความร่ำรวย โชคชะตา ความรัก ความงาม ดอกบัว และความอุดมสมบูรณ์ รูปเคารพของพระแม่ลักษมีนั้นนอกจากจะพบในศาสนสถานของศาสนาฮินดูแล้ว ยังพบในศาสนสถานของศาสนาเชนและศาสนาพุทธ ในบางแห่งอีกด้วย พระลักษมีนั้นมีความคล้ายคลึงกันกับเทพีของกรีกองค์หนึ่ง คือเทพีอะโฟร์ดิตี้ โดยที่เทพีทั้งสองนี้ ถือกำเนิดจากมหาสมุทรเหมือนกัน และเป็นตัวแทนของความสวยงามเหมือนกันอีกด้วย นอกจากนั้น พระแม่ลักษมี มีกำเนิดจากฟองน้ำ ในคราวเทวดาและอสูร กวนเกษียรสมุทร น้ำอมฤต จึงได้นามว่า ชลธิชา (เกิดแต่น้ำ) หรือ กษีราพธิตนยา (พระธิดาแห่งพระสมุทร) ในขณะที่ผุดขึ้นมานั้นนั่งมาในดอกบัวและมือถือดอกบัวด้วย จึงมีอีกนามหนึ่งว่า ปัทมา หรือ กมลา แต่ในคัมภีร์วิษณุปุราณะจะกล่าวไว้ว่า พระแม่ลักษมีเป็นธิดาของพระฤๅษีภฤคุกับนางขยาติ และยังกล่าวต่อไปอีกว่าพระแม่ลักษมีเป็นมารดา พระกามเทพ ด้วย พระแม่ลักษมี ผู้ศรัทธาจะถือกันว่าเป็น เทพนารีผู้อำนวยโชค มีน้ำพระทัยเมตตาปราณีอยู่เป็นนิจ เป็นตัวอย่างแห่งนางที่งามตลอดทั้งรูปและกิริยามารยาท มีวาจาเปี่ยมด้วยเสน่ห์และไพเราะ ทั้งถือกันว่าเป็นผู้นำมาซึ่งความเจริญทุกประการ นับกันว่าเป็นผู้อุปถัมภ์บรรดาสตรีทุกชั้น ส่วนรูปมักเขียนเป็นสตรีที่งามยิ่งมี 2 กรอย่างธรรมดา (บางแห่งก็ว่ามี 4 กร) สีกายเป็นสีทองเสื้อทรงสีเหลือง นั่งหรือยืนบนดอกบัวและมือถือดอกบัว พระแม่ลักษมี เป็นชายาของ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระราม พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็นนางสีดา และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ ในปางกฤษณาวตาร พระวิษณุอวตารเป็น พระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ไปเป็น พระนางรุกมิณี หรือ พระนางราธาเทวี ในปางปรศุรามาวตารก็ไปอวตารเป็น พระแม่ธรณี ในปางวามนาวตารก็อวตารไปเป็น พระนางกมลา เป็นต้น คติความเชื่อถือเกี่ยวกับพระแม่ลักษมีในเมืองไทยอาจเห็นว่า ไม่พบมากนักนอกจากปรากฏในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ หรือ รามายณะ ที่เสด็จอวตารลงมาเป็นนางสีดาในรามาวตาร ซึ่งเป็นชนวนเหตุของการรบ ระหว่างทศกัณฐ์ กับพระราม นอกจากนั้นก็ไม่พบได้เด่นชัดนัก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระลักษมี · ดูเพิ่มเติม »

พระลักษมณ์

ระลักษมณ์ (พงศ์นารายณ์ - วงศ์กษัตริย์แห่งกรุงอโยธยา) เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ พระลักษมณ์ คือพญาอนันตนาคราชที่ประทับของพระนารายณ์และสังข์ของพระนารายณ์มาเกิด เป็นโอรสของท้าวทศรถและนางสมุทรชา มีพระวรกายสีเหลืองดั่งทองทา มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระสัตรุด พระลักษมณ์มีความจงรักภักดีต่อพระรามมาก เมื่อพระรามต้องออกเดินป่าถึง 14 ปี พระลักษมณ์ก็ได้ติดตามไปด้วย และยังช่วยออกรบกับกองทัพของกรุงลงกา อย่างกล้าหาญหลายครั้งหลายหน ทรงเคียงคู่พระรามเสมอ ในระหว่างเกิดศึกกรุงลงกา และเมื่อพระรามต้องเสด็จเดินดงเป็นครั้งที่สอง ก็ได้ทูลขอเสด็จตามไปด้วยอีก ทรงร่วมผจญหมู่มารและเหล่าศัตรูเคียงคู่พระรามหลายครั้งหลายครา พระลักษมณ์เคยได้ไปร่วมพิธียกธนูโมลีที่มิถิลา ได้ยกศรก่อนพระราม เมื่อจับศรแล้วศรขยับ แต่แกล้งทำเป็นยกไม่ได้ เพราะรู้ว่าพระรามหลงรักนางสีดาตั้งแต่แรกเห็น อีกทั้งพระลักษมณ์ก็ไม่ได้รักนางสีดาแบบชู้สาว จึงเปิดโอกาสให้พระราม พระรามจึงได้อภิเษกสมรสกับนางสีดา ในระหว่างศึกสงคราม พระลักษมณ์ได้ออกรบจนถูกอาวุธได้รับบาดเจ็บเกือบสิ้นพระชนม์ถึง 5 ครั้ง จากหอกโมกขศักดิ์ของกุมภกรรณ ศรนาคบาศกับศรพรหมาสตร์ของอินทรชิต หอกแก้ววราวุธของมูลพลัม และหอกกบิลพัทของทศกัณฐ์ แต่ฝีมือก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ได้สังหารกุมภกาศ อินทรชิต มูลพลัม จิตรไพรี ทศคีรีวัน ทศคีรีธร พระนามของพระลักษมณ์มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่าผู้มีเครื่องหมายอันเป็นมงคล หรือผู้ที่มีลักษณะดี.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระลักษมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระศิวะ (ละครโทรทัศน์)

ระศิวะ (Om Namah Shivay) เป็นละครโทรทัศน์อินเดีย ออกอากาศทางช่อง Zee TV ในอินเดีย ต่อมาสหมงคลฟิล์มได้ซื้อลิขสิทธิ์ แล้วก็นำมาออกอากาศทางช่อง Happy Home TV และ มงคลแชนแนล ในประเทศไทย โดยมีทีมพากย์พันธมิตรให้เสียงพากย์ภาษาไทย นำแสดงโดย ซามาร์ เจ ซิงห์ ยาโชดัน รานา กายาตรี ชัสตรี ซันเจ ชามาร์ อมิต พาโชรี รีน่า กาปูร์ สุนิล นาการ์ ฯลฯ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระศิวะ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

พระสัตรุด

ระสัตรุดคือคทาของพระนารายณ์อวตารลงมาพร้อมกับพระองค์ พระสัตรุดเป็นโอรสของท้าวทศรถ บิดาของพระราม กับพระนางสมุทรชา เป็นพระอนุชาฝาแฝดของพระลักษมณ์ เป็นจอมทัพร่วมกับพระพรตผู้เป็นพระเชษฐา ตอนศึกกรุงลงกาครั้งที่ 2และศึกเมืองมลิวัน ภายหลังได้เป็นเจ้าอุปราชแห่งเมืองไกยเกษ แม้พระสัตรุดจะเป็นพระอนุชาร่วมพระมารดากับพระลักษมณ์ คือ นางสมุทรชา แต่ทั้งในรามายณะของอินเดียและรามเกียรติ์ของไทย ก็มักกล่าวถึงพระสัตรุดคู่ไปกับพระพรต และกล่าวถึงพระรามคู่กับพระลักษมณ์ ในรามเกียรติ์ตอนต้นจนถึงตอนกลางเรื่อง พระสัตรุดมีบทบาทน้อย แต่มีบทบาทมากขึ้นในตอนท้ายเรื่อง พระนามพระสัตรุดในรามเกียรติ์เขียน สัตรุด แต่ในรามายณะ เขียน ศตฺรุฆฺน (อ่านว่า สะ -ตฺรุ-คฺนะ) แปลว่า ผู้สังหารศัตรู.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระสัตรุด · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระสุนทรโวหาร (ภู่) · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พล พต

ซาลต ซอ (សាឡុត ស สาฬุต สอ) หรือ พล พต (ប៉ុល ពត ปุล พต, ออกเสียง: ปล โปต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - 15 เมษายน พ.ศ. 2541) เป็นนักปฏิวัติชาวกัมพูชาที่เป็นผู้นำเขมรแดง ตั้งแต..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพล พต · ดูเพิ่มเติม »

พาลี

ลี หรือ พญาพาลี เป็นลิงที่เป็นตัวละครตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นลิงเจ้าเมืองขีดขิน ที่มีฤทธิ์มากที่สุดตัวหนึ่ง มีกายสีเขียว เป็นโอรสของพระอินทร์ กับ นางกาลอัจนา เดิมชื่อ กากาศ ตอนเด็กโดนฤๅษีโคดมสาปให้กลายเป็นลิงเช่นเดียวกันกับสุครีพ ซึ่งเป็นน้องชาย เพราะรู้ว่าทั้ง 2 เป็นลูกชู้ ต่อมาพระอินทร์ผู้เป็นบิดา ได้สร้างเมืองชื่อ ขีดขินให้พาลีปกครอง และตั้งชื่อให้ใหม่ว่า พระยากากาศ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น พาลี เคยต่อสู้กับ ทรพี ควายที่ฆ่า ทรพา พ่อของตนเอง ที่มีเทวดาอารักขาขาทั้งสี่ข้างและสองเขา ซึ่งพาลีจะต้องเข้าไปสู้ในถ้ำสุรกานต์ ก่อนไปได้สั่งเสียสุครีพไว้ว่า ถ้าผ่านไปเจ็ดวันแล้ว ถ้าตนไม่กลับมา ให้ไปดูรอยเลือด ถ้าเลือดข้นนั้นคือ เลือดทรพี ถ้าเลือดใสนั้นคือเลือดตน ตอนที่พระอิศวรฝากนางดารามากับพาลีเพื่อให้กับสุครีพผู้เป็นน้อง พาลีได้ยึดนางดาราไว้เป็นภรรยาเสียเอง พาลีเคยแย่งนางมณโฑกับทศกัณฐ์เมื่อตอนที่เหาะผ่านเมืองขีดขินด้วย และมีบุตรกับนางมณโฑ คือ องคต สุดท้ายพาลีสิ้นชีวิตจากศรของพระราม ขณะที่พระรามแผลงศรใส่พาลี พาลีจับศรไว้ได้ พาลีจึงได้เห็นร่างที่แท้จริงของพระราม ว่าเป็นพระนารายณ์อวตาร จึงได้สำนึกผิด และเรียกสุครีพมาสั่งสอน ซึ่งเรียกว่า "พาลีสอนน้อง" และฝากฝังเมืองขีดขินไว้ จากนั้นก็ปล่อยให้ศรปักอกตาย หลังจากที่พาลีตายได้ไปเกิดเป็นเทพบุตรพาลีบนสวรรค์ ได้มีบทบาทตอนไปทำลายพิธีชุบหอกกบิลพัทของทศกัณฐ์ ในศาสนาฮินดูพาลีไม่ได้ยึดนางดาราภรรยาของสุครีพ และเป็นกษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม เขาตายเนื่องจากพระรามลอบสังหารเขาในขณะต่อกรกับสุครีพ ในชาติต่อไปเขาไปเกิดเป็นนายพรานจาราและสังหารพระกฤษณะซึ่งเป็นพระรามในชาติก่อน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพาลี · ดูเพิ่มเติม »

พิเภก

ก เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีกายสีเขียว ทรงมงกุฎน้ำเต้ากลม เป็นน้องของทศกัณฐ์ และกุมภกรรณ อดีตชาติ เป็นพระเวสสุญาณเทพบุตร พระอิศวรสั่งให้ไปจุติเป็นพี่น้องร่วมท้องเดียวกันกับทศกัณฐ์เพื่อเป็นไส้ศึกคอยบอกความลับต่าง ๆ ให้แก่พระราม พร้อมประทานแว่นวิเศษติดที่ดวงตาขวา มองเห็นได้ทั้งสามโลก แม้กระทั่งอดีตและอนาคต พิเภกโดนทศกัณฐ์ขับออกจากกรุงลงกา เพราะไปแนะให้ทศกัณฐ์คืนนางสีดาแก่พระราม จึงเข้าร่วมกับฝ่ายพระราม ทำหน้าที่เป็นโหราจารย์ พิเภกมีส่วนช่วยในกองทัพพระรามเป็นอันมาก เป็นผู้บอกกลศึกและทำนายเหตุการณ์ต่าง ๆ ของฝ่ายทศกัณฐ์ให้แก่พระราม เมื่อทศกัณฐ์ใกล้ตายเพราะถูกศรพรหมาศของพระราม ทศกัณฐ์สำนึกได้ จึงเรียกพิเภกเข้าไปสั่งสอน โดยมีใจความหลักว่า ให้ประพฤติตนเป็นธรรม อย่าเกเรเหมือนตน ซึ่งบทนี้ถูกเรียกว่า "ทศกัณฐ์สอนน้อง" จากนั้น พิเภกได้รับแต่งตั้งจากพระรามให้เป็น "ท้าวทศคิริวงศ์" ครองกรุงลงกาแทนทศกัณฐ์สืบไป ในรามายณะ มีชื่อว่า "วิภีษณะ".

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพิเภก · ดูเพิ่มเติม »

พุดซ้อน

ซ้อน ถิ่นเดิมของพุดซ้อนเข้าใจว่าอยู่ในประเทศจีน และเป็นพันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับเข็มพวงขาว กระทุ่ม และกาแฟ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ พุดจีน พุดใหญ่ เก็ดถะหวา (ภาคเหนือ) และอินถะหวา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และพุดซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

กระเช้าสีดา

กระเช้าสีดา เป็นพืชในวงศ์ไก่ฟ้า (Aristolochiaceae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เป็นพรรณไม้ในวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์".

ใหม่!!: รามเกียรติ์และกระเช้าสีดา · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

กุมภกรรณ

กุมภกรรณ (สันสกฤต: कुम्भकर्ण กุมฺภกรฺณ) เป็นโอรสของท้าวลัสเตียนและนางรัชฎา มีศักดิ์เป็นน้องแท้ ๆ ของทศกัณฐ์ มีหน้าและกายสีเขียว ชายาชื่อนางจันทวดี เป็นยักษ์ที่มีฤทธิ์มากที่สุดตนหนึ่ง มีอาวุธร้ายประจำกาย คือ หอกโมกขศักดิ์ ที่จริงแล้วเป็นยักษ์ที่ตั้งมั่นในธรรม แต่ต้องออกรบช่วยทศกัณฐ์เพราะเห็นแก่ความเป็นพี่น้อง เคยแสดงฤทธิ์ในสมรภูมิรบถึง 4 ครั้ง ครั้งแรกรบกับสุครีพ โดยวางอุบายลวงสุครีพถอนต้นรัง ครั้งที่สอง ทำพิธีลับหอกโมกขศักดิ์ แต่ถูกหนุมานและองคตทำลายพิธี ครั้งที่สาม ทำพิธีทดน้ำ แต่ไม่สำเร็จเพราะถูกขัดขวางจากหนุมานและกุมภกรรณแทงหอกโมกขศักดิ์ใส่พระลักษมณ์จนเกือบสิ้นชีวิต และครั้งที่สี่สู้รบกับพระราม แต่ก็เพลี่ยงพล้ำถูกศรพระรามฆ่าตาย เหตุที่ชื่อ กุมภกรรณ (หูหม้อ) นั้นเพราะมีร่างกายใหญ่โตมาก สามารถเอาหม้อใส่ใบหูได้ กุมภกรรณในรามายณะมีลักษณะคล้ายกุมภกรรณในรามเกียรติ์ คือเป็นคนซื่อสัตย์เที่ยงธรรม แต่ในรามายณะ กุมกรรณได้เคยขอพรพระพรหมให้ตนเองมีสภาพคล้ายพระวิษณุ คือนอนหลับอยู่เป็นเวลานานจึงตื่นเพียงวันเดียว และหยั่งรู้ความเป็นไปของโลกในการนอนหลับนั้น ดังนั้นเมื่อทศกัณฐ์ปลุกกุมภกรรณให้ไปรบกับพระนารายณ์นั้น กุมภกรรณย่อมรู้ว่าพระรามนั้นที่แท้คือพระวิษณุและตนไม่มีทางรบชนะเด็ดขาด แต่ด้วยหน้าที่ของการเป็นทหาร กุมภกรรณยังคงตัดสินใจไปรบโดยทูลทศกัณฐ์ว่า ถ้าตนตายในการรบก็ขอให้ทศกัณฐ์ยอมแพ้เสีย เพราะถ้าตนรบชนะไม่ได้ก็ย่อมไม่มีใครในลงการบชนะพระรามได้.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และกุมภกรรณ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภกาศ

กุมภกาศ เป็นโอรสของ ชิวหา และ นางสำมนักขา มีศักดิ์เป็นหลานชายแท้ๆของ ทศกัณฐ์ มีนิสัยจองหองโดยตัวละครตัวนี้ได้มีบทบาทแค่ช่วงต้นของเรื่อง รามเกียรติ์ เท่านั้นเนื่องจากได้ถูก พระลักษมณ์ พระอนุชาของ พระราม ฆ่าตาย เนื่องจากในขณะนั้นกุมภกาศได้ตั้งโรงพิธีขอพรจาก พระพรหม เพื่อขอพระขรรค์เทพศัตราแต่เนื่องจากพระพรหมท่านมีธุระสำคัญจึงมิได้เหาะลงมามอบด้วยพระองค์เองแต่ได้ทิ้งพระขรรค์ลงมาข้างโรงพิธีของกุมภกาศที่ริมฝั่งแม่น้ำโคทาวรีจึงทำให้กุมภกาศโกรธมากต่อว่าพระพรหมว่าไม่ให้เกียรติและระหว่างนั้นพระรามและพระลักษมณ์ได้มาประทับที่ศาลาริมแม่น้ำโคทาวรีและพระลักษมณ์ได้เสด็จออกมาหาอาหารระหว่างทางได้พบกับพระขรรค์เทพศัตราของพระพรหมที่ทรงทิ้งลงมาให้แก่กุมภกาศพระลักษมณ์จึงทรงยกพระขรรค์ขึ้นมาทำให้แสงของพระขรรค์ไปเข้าตาของกุมภกาศจึงได้ออกมาต่อสู้กับพระลักษมณ์เพื่อแย่งชิงพระขรรค์และในที่สุดกุมภกาศจึงถูกพระลักษมณ์ฆ่าตายด้วยพระขรรค์เทพศัตร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และกุมภกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 หรือ "หัวหมากเกมส์" จัดขึ้นวันที่ 11-18 มกราคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมถิลี

ษาไมถิลี จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐพิหารของอินเดีย และเตรายตะวันตกในเนปาล คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจากภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรไมถิลีซึ่งคล้ายกับอักษรเบงกาลีหรือเขียนด้วยอักษรเทวนาครี เคยเขียนด้วยอักษรตีราหุตี แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีและอักษรโอร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และภาษาไมถิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภานุราช

นุราช คือตัวละครยักษ์ในวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นเสนายักษ์ 1 ใน 20 ตนของเสนายักษ์กรุงลงก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และภานุราช · ดูเพิ่มเติม »

มหากาย

มหากาย เป็นเสนายักษ์ 1 ใน 20 ตนของเสนายักษ์กรุงลงกา เป็นตัวละครในวรรณคดีเรื่อง รามเกียรต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมหากาย · ดูเพิ่มเติม »

มหายมยักษ์

มหายมยักษ์ หรือ ศากยวงษา มหายมยักษ์ - พญายักษ์ (อสูรพงศ์แห่งเมืองบาดาล) กษัตริย์เมืองบาดาลองค์ที่ 2 เป็นโอรสของท้าวสหมลิวันต้นวงศ์ผู้ครองเมืองบาดาล ได้รับราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา เกลียดชังทศกัณฐ์นักก่อนตายห้ามไม่ให้ลูกหลานข้องเกี่ยวกับทศกัณ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมหายมยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัจฉานุ

มัจฉานุ เป็นลูกของหนุมานกับนางสุพรรณมัจฉา เนื่องจากเป็นลูกของหนุมาน จึงมีร่างกายเป็นลิง แต่มีหางเป็นปลาเช่นเดียวกับนางสุพรรณมัจฉา แต่เมื่อนางสุพรรณมัจฉาได้คลอดมัจฉานุด้วยการสำรอกออกมาแล้ว เกรงว่าทศกัณฐ์จะรู้ว่าเป็นลูกตน จึงได้นำมัจฉานุไปทิ้งไว้ที่หาดริมทะเล หลังจากนั้น ไมยราพณ์ ซึ่งเป็นเจ้าเมืองบาดาล ได้เดินทางมาพบและเก็บไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม ซึ่งภายหลัง หนุมานที่ได้ติดตามไมยราพณ์ ซึ่งลักพาตัวพระรามมาไว้ที่เมืองบาดาล จึงได้พบกับมัจฉานุ ซึ่งทำหน้าที่เฝ้าด่านสระบัวอยู่ ทั้งสองจึงได้ต่อสู้กัน แต่ต่างฝ่ายต่างก็ไม่สามารถเอาชนะกันได้เสียที จึงได้ถามมัจฉานุว่าเป็นลูกใครพ่อแม่ชื่ออะไร เมื่อได้ยินคำตอบของมัจฉานุ หนุมานก็ดีใจมากเมื่อได้พบลูกของตน เมื่อเสร็จศึกกรุงลงกาครั้งที่ 2 และศึกกรุงมลิวัน จึงได้รับแต่งตั้งเป็น พญาหนุราช ครองกรุงมลิวันแทนท้าวจักรวรรดิ และได้นางรัตนามาลี ธิดาท้าวจักรวรรดิเป็นมเหสี หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์ หมวดหมู่:ตัวละครที่เป็นลิง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมัจฉานุ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรกัณฐ์

มังกรกัณฐ์ เป็นตัวละครจากรามเกียรติ์ อดีตชาติคือทรพีมาเกิดเป็นลูกของพญาขรตามคำสาปของพระอิศวร ร่วมทำศึกกับอินทรชิต ให้อินทรชิตไปทำพิธีชุบศรนาคบาศ ส่วนตนออกไปสู้เพื่อขัดตาทัพไว้ ผลสุดท้ายตายด้วยศรของพระราม ลักษณะของมังกรกัณฐ์ เป็นยักษ์ ตาจระเข้ ปากหุบ มีหนึ่งพักตร์ สองกร กายสีเขียว ทรงมงกุฎยอดนาค มีศรเป็นอาวุธ หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมังกรกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

มังคุด

มังคุด Linn.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมังคุด · ดูเพิ่มเติม »

มารีศ

มารีศ หรือ ม้ารีดบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมารีศ · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มานี ปิติ ชูใจ

มานะ มานี ปิติ ชูใจ เป็นชุดแบบเรียนภาษาไทย ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 รวม 12 เล่ม (ภาคเรียนละ 1 เล่ม) ซึ่งใช้ในการเรียนการสอนภาษาไทย ระหว่างปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมานะ มานี ปิติ ชูใจ · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์สมุทรสาคร

มิสแกรนด์สมุทรสาคร (Miss Grand Samut Sakhon) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดสมุทรสาคร จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมิสแกรนด์สมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์นครนายก

มิสแกรนด์นครนายก (Miss Grand Nakhon Nayok) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดนครนายก จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และมิสแกรนด์นครนายก · ดูเพิ่มเติม »

ม้า

ม้า เป็นชนิดย่อยหนึ่งในสองชนิดของ Equus ferus หรือม้าป่าที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกีบคี่ในวงศ์ Equidae ม้ามีวิวัฒนาการมากว่า 45 ถึง 55 ล้านปีจากสิ่งมีชีวิตหลายกีบเท้าขนาดเล็กสู่สัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ในปัจจุบัน มนุษย์เริ่มนำม้ามาเลี้ยงเมื่อราว 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และเชื่อว่าการเลี้ยงแพร่หลายเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ม้าชนิดย่อย caballus เป็นม้าบ้านแม้ว่าจะมีประชากรม้าบ้านบางส่วนจะอาศัยอยู่ในป่า เช่น ม้าเถื่อน (feral horses) ม้าเถื่อนไม่ใช่ม้าป่าที่แท้จริง ดังเช่นม้าป่ามองโกเลียซึ่งถูกแบ่งแยกออกมาเป็นชนิดย่อยและเป็นชนิดเดียวที่เหลืออยู่ของม้าป่าที่แท้จริง คำว่าม้าเถื่อนใช้เพื่อแสดงว่าม้านี้ไม่ใช่ม้าบ้าน มีคำศัพท์เฉพาะมากมายที่ใช้อธิบายแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับม้า ครอบคลุมจากกายวิภาคถึงช่วงชีวิต ขนาด สี สัญลักษณ์ การเพาะพันธุ์ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม กายวิภาคของม้าช่วยให้ม้าใช้ความเร็วในการหนีนักล่า และม้ายังพัฒนาความสมดุลได้อย่างยอดเยี่ยมและสัญชาตญาณสู้หรือถอยที่แข็งแกร่ง ม้ายังมีลักษณะพิเศษเพื่อใช้สำหรับหลบหลีกนักล่า คือ ม้าสามารถยืนหลับหรือล้มตัวลงนอนหลับก็ได้ ม้าตัวเมียจะอุ้มท้องประมาณ 11 เดือน ลูกม้าจะยืนและวิ่งได้ในเวลาไม่นานหลังกำเนิด ม้าบ้านจำนวนมากจะเริ่มฝึกภายใต้อานม้าหรือบังเหียนระหว่างอายุสองถึงสี่ปี ม้าจะโตเต็มที่เมื่ออายุห้าปี และมีช่วงอายุประมาณ 25 ถึง 30 ปี สายพันธุ์ม้าแบ่งคร่าว ๆ ออกเป็น 3 ประเภทตามลักษณะนิสัย พวก "เลือดร้อน (hot blood) " ที่เร็ว ทนทาน "เลือดเย็น (cold blood) " เช่น ม้าแคระ และม้าพันธุ์เล็กบางพันธุ์ ที่ช้าแต่มั่นคง ทำงานหนัก และ "เลือดอุ่น (warmblood) " ที่พัฒนามาจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างเลือดร้อนและเลือดเย็น เป็นการเพาะพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานพิเศษบางประการ โดยเฉพาะในยุโรป ม้าบ้านมีมากกว่า 300 พันธุ์ในปัจจุบัน เป็นการพัฒนาเพื่อการใช้งานที่ต่างกันไป ม้าและมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างหลากหลายทั้งในการแข่งขันกีฬาและงานที่ไม่ใช่กิจกรรมสันทนาการ เช่น งานตำรวจ การเกษตร การบันเทิง และการบำบัดรักษา ในอดีต มีการนำม้ามาใช้งานในสงคราม ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการพัฒนาเทคนิคการขับขี่ที่หลากหลาย โดยใช้ลักษณะที่แตกต่างของอุปกรณ์และวิธีการของการควบคุม มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างได้จากม้า ประกอบด้วย เนื้อ นม หนัง ขน กระดูก และยาที่สกัดมาจากน้ำปัสสาวะของม้าตัวเมียที่ตั้งครรภ์ เทพนิยายเกี่ยวกับม้า เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ถูกวีรบุรุษเพอร์ซีอุสฟันคอขาดตาย ในขณะที่นางสิ้นใจตายนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลยซักคน ตอนที่มันเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่มันวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงาม คือน้ำพุพีเรเนียน (Pyrenean spring).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และม้า · ดูเพิ่มเติม »

ยักษ์

รูปปั้นยักษ์ '''ทศกัณฐ์''' ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเป็นยักษ์จากเรื่องรามเกียรติ์ ยักษ์ เป็นอมนุษย์ชนิดหนึ่งที่มีกล่าวถึงทั้งในทางศาสนาและวรรณคดี ยักษ์ในความเชื่อของไทยมักได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ในขณะที่ความเชื่อในบริเวณอื่นๆของโลกก็มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับอมนุษย์ที่มีร่างกายใหญ่โต ชอบของสดคาว ซึ่งเทียบได้กับยักษ์ในความเชื่อของคนไทยเช่นกัน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยักษ์ (ภาพยนตร์)

ักษ์ (Yak: The Giant King) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสัญชาติไทยผลงานร่วมทุนสร้างระหว่าง บริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด, บริษัท บ้านอิทธิฤทธิ์ จำกัด, บริษัท ซูเปอร์จิ๋ว จำกัด และดำเนินงานสร้างโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ พิคเจอร์ส จำกัด ผลงานกำกับของประภาส ชลศรานนท์ร่วมกับ เอ็กซ์- ชัยพร พานิชรุทติวงศ์ ได้แรงบันดาลใจมาจาก วรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ มานำเสนอในรูปแบบของแอนิเมชันหุ่นยนต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และยักษ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ยามะซะตอ

ระราม (ยามะ) และนางสีดา (แมตีดา) ของรามายณะฉบับพม่า ยามะซะตอ (ရာမဇာတ်တော်,, แปลว่า: "รามชาดก") เป็นรามายณะฉบับไม่เป็นทางการของประเทศพม่า มีทั้งหมดเก้าบท ส่วนชื่อ "ยามะ" คือพระราม ส่วน "ซะตอ" คือชาดก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และยามะซะตอ · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎา

นางรัชฎา เป็นตัวละครในรามเกียรติ์ เธอเป็นมเหสีองค์ที่ 5 ของท้าวลัสเตียน กษัตริย์ครองกรุงลงกาองค์ที่ 2.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และรัชฎา · ดูเพิ่มเติม »

รามสูร

รามสูร เป็นชื่อของยักษ์ตนหนึ่งมีฤทธิ์เดชมาก เป็นตัวละครในวรรณคดีเรื่องรามเกียรต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และรามสูร · ดูเพิ่มเติม »

รามายณะ

พระรามประทับบนไหล่หนุมาน เข้าต่อรบกับพญายักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์), ภาพวาดบนกระดาษ, ศิลปะอินเดีย, ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1820 (สมบัติของบริติชมิวเซียม) รามายณะ (रामायण) เป็นวรรณคดีประเภทมหากาพย์ของอินเดีย เชื่อว่าเป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ เมื่อกว่า 2,400 ปีมาแล้ว โดยประพันธ์ไว้เป็นบทร้อยกรองประเภทฉันท์ภาษาสันสกฤต เรียกว่า โศลก จำนวน 24,000 โศลกด้วยกัน โดยแบ่งเป็น 7 ภาค (กาณฑ์ หรือ กัณฑ์) ดังนี้.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และรามายณะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวรรณคดีไทย

รายชื่อวรรณคดีของไทย ซึ่งเป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมไทยที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ วรรณคดีไทยเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ เป็นผลงานเขียนที่เกิดขึ้นก่อนสมัยรัชกาลที่ 7.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และรายชื่อวรรณคดีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และรายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราวณะ

ราวณะ หรือ ราพณ์ (रावण Rāvaṇa) เป็นตัวละครหลักฝ่ายร้ายในมหากาพย์เรื่อง รามายณะ ของศาสนาฮินดู โดยเป็นราชารากษสแห่งนครลงกา ซึ่งเชื่อกันว่า ตรงกับประเทศศรีลังกาในปัจจุบัน ราวณะมักเป็นที่พรรณนาว่า มีศีรษะสิบศีรษะ เป็นสาวกของพระศิวะ เป็นมหาปราชญ์ ปกครองบ้านเมืองอย่างเปี่ยมสามารถ ชำนาญบรรเลงวีณา (वीणा vīṇā) และมุ่งหมายจะเป็นใหญ่เหนือทวยเทพ ศีรษะทั้งสิบของเขายังเป็นเครื่องสำแดงถึงศาสตร์ทั้งหกและเวททั้งสี่ นอกจากนี้ ตามความใน รามายณะ ราวณะลักพาสีดา ภริยาของพระราม เพื่อล้างแค้นที่พระรามและพระลักษณ์อนุชาตัดจมูกศูรปณขา กนิษฐาของราวณะ ชาวฮินดูในหลายส่วนของประเทศอินเดีย ประเทศศรีลังกา และประเทศอินโดนีเซีย เคารพบูชาราวณะ และถือเป็นสาวกพระศิวะที่ได้รับความเคารพยำเกรงที่สุด เทวสถานพระศิวะหลายแห่งยังตั้งรูปราวณะคู่กับรูปพระศิวะด้ว.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และราวณะ · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅษีนารทมุนี

ฤๅษีนารทมุนี (नारद หรือ नारद मुनी) เป็นบุตรของพระพรหม เป็นสาวกคนแรกของพระนารายณ์ และเป็นผู้ที่นำเรื่องราวบนโลกมนุษย์มารายงานแด่พระศิวะ ฤๅษีนารทมุนีเป็นทูตเอกของสวรรค์ และมีบทบาทในมหาภารตะและรามเกียรติ์เป็นอย่างมาก ในเรื่องรามเกียรติ์ ฤษีเป็นผู้แนะนำให้หนุมานใช้น้ำในบ่อน้อยของตนเอง ก็คือ น้ำลายในปากของหนุมานดับไฟ เมื่อตอนที่หนุมานไปเผากรุงลงกา ในมหาภารตะ ฤๅษีนารทมุนีมีหน้าที่คอยส่งสำคัญให้แก่พระกฤษณะ พระพลราม ยุธิษฐิระ และอรชุน คือ ในมหาสงครามทุ่งกุรุเกษตร ฤๅษีนารทมุนีได้ส่งข่าวบอกแก่พระพลรามว่า "ภีมะกำลังดวลตะบองกับทุรโยธน์" และเมื่อตอนที่พระอนิรุทธิ์หายตัวไป ฤๅษีนารทมุนีก็แจ้งแก่พระกฤษณะว่า "พระอนิรุทธิ์ถูกท้าวกรุงภาณจับตัวไปขังในคุก" และเมื่อตอนที่ท้าวธฤตราษฎร์ พระนางคานธารี พระนางกุนตี ท้าววิทูร เสียชีวิตในป่า ฤๅษีนารทมุนีก็เป็นผู้แจ้งข่าวให้กับยุธิษฐิระว่า "ท้าวธฤตราษฎร์ พระนางคานธารี พระนางกุนตี ท้าววิทูร เสียชีวิตแล้ว และฤๅษีนารทมุนีเป็นผู้บอกถึงจุดอ่อนของทุรโยธน์ให่แก่อรชุน" นอกจากนี้ฤๅษีนารทมุนีก็ยังเป็นผู้เล่าเรื่องของพระรามให้แก่ฤๅษีวาลมีกิจนเกิดเป็นคัมภีร์รามายณะ ในภาพยนตร์ของบอลลีวู้ด โดยเฉพาะหนังเกี่ยวกับเทพเจ้า บทพูดของฤๅษีนารทมุนีที่ทุกคนจำได้ คือ คำว่า "นาร้ายณ์ นารายณ์" หมวดหมู่:ฤๅษี หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู หมวดหมู่:มหาภารตะ หมวดหมู่:ศาสดา.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และฤๅษีนารทมุนี · ดูเพิ่มเติม »

ละคร

ละคร หมายถึงการแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่าตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักรๆวงศ์ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่าพระต่างๆ เช่น พระอนิรุทธิ์ พระไชยเชษฐ์ พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่านางต่างๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพย์เกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาวและนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่นๆแล้วแต่ในเรื่องจะมีละครมีหลายแบบ แต่ละวฝฝใมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครถาม😴😴😴😴😴 และละครดึกดำบรรพ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการจดบันทึกโดย ซิมง เดอ ลาลูแบร์ ราชฑูตแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ใน ปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และละคร · ดูเพิ่มเติม »

ละครรำ

ละครรำ เป็นศิลปะการแสดงของไทย ที่ประกอบด้วยท่ารำ ดนตรีบรรเลง และบทขับร้องเพื่อดำเนินเรื่อง ละครรำมีผู้แสดงเป็นตัวพระ ตัวนาง และตัวประกอบ แต่งองค์ทรงเครื่องตามบท งดงามระยับตา ท่ารำตามบทร้องประสานทำนองดนตรีที่บรรเลงจังหวะช้า เร็ว เร้าอารมณ์ให้เกิดความรู้สึกคึกคัก สนุกสนาน หรือเศร้าโศก ตัวละครสื่อความหมายบอกกล่าวตามอารมณ์ด้วยภาษาท่าทาง โดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย วาดลีลาตามคำร้อง จังหวะและเสียงดนตรี ในปัจจุบันละครรำนิยมนำมาแสดงแก้บนสิ่งศักศิ์สิทธิ์อย่างแพร่หลาย มีทั้งแบบชั่วคราว กับประจำโรง อยู่ในสถานที่นั้น ๆ เลย เช่นวัดโสธรวรารามวรวิหาร วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ศาลหลักเมือง ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ เป็นต้น.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และละครรำ · ดูเพิ่มเติม »

ลายวงกต

“วงกตคลาสสิก” เจ็ดชั้น เขาวงกตครีตทำด้วย 2500 TeaLights การเผาไหม้ในศูนย์คริสเตียนสมาธิและจิตวิญญาณของสังฆมณฑลบูร์กที่โบสถ์ Holy Cross ใน แฟรงก์เฟิร์ต-Bornheim ลายวงกตยุคสำริดแอตแลนติก ลายวงกตในภาพวาดในถ้ำในอิตาลี วงกตบนพื้นที่มหาวิหารอาเมียงส์ในฝรั่งเศส คนอสซอส ลายวงกต หรือ ลาบรินธ์ (Labyrinth) ในตำนานเทพเจ้ากรีก “Labyrinth” (λαβύρινθος, labyrinthos) คือโครงสร้างอันซับซ้อนที่ออกแบบและสร้างโดยเดดาลัสสำหรับกษัตริย์ไมนอสแห่งครีตที่คนอสซอส โดยมีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นกับดักมิโนทอร์ที่เป็นสิ่งที่มีร่างเป็นมนุษย์หัวเป็นวัว ผู้ในที่สุดก็ถูกสังหารโดยวีรบุรุษชาวเอเธนส์เธเซียส (Theseus) เดดาลัสสร้างวงกตอย่างวกวนจนเมื่อสร้างเสร็จตนเองก็แทบจะหาทางออกมาไม่ได้ อารีอัดเน (Ariadne) ให้ความช่วยเหลือเธเซียสให้หาทางออกจากได้โดยการมอบม้วนด้ายให้ม้วนหนึ่งให้วางตามเส้นทางเพื่อที่จะเดินตามรอยด้ายกลับออกมาจากวงกตได้ ในภาษาพูดของภาษาอังกฤษ “Labyrinth” มีความหมายพ้องกับคำว่า “Maze” (วงกตปริศนา) แต่นักวิชาการร่วมสมัยให้ความแตกต่างว่า “วงกตปริศนา” หมายถึงลวดลายวกวนที่ซับซ้อนที่มีทางเข้าทางออกได้หลายทาง แต่ “ลายวงกต” จะมีทางเข้าทางออกทางเดียว และทางจะไม่แตกออกไปเป็นทางย่อยเช่นที่เกิดขึ้นในวงกตปริศนาที่นำ ที่จะนำเข้าไปยังศูนย์กลาง ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าลายวงกตจะเป็นเส้นทางที่ไม่กำกวมที่นำเข้าไปยังศูนย์กลางของวงกตและนำออกมา และไม่มีวัตถุประสงค์ที่ทำให้ยากต่อการเดินตามเส้นทางเข้าไปและออกมา แม้ว่าเหรียญครีตยุคแรกบางเหรียญจะเป็นลายวกวนซ้อน (multicursal patterns) แต่ลายวกวนเดี่ยวเจ็ดชั้นแบบคลาสสิกก็กลายมาเป็นลวดลายที่ใช้บนเหรียญส่วนใหญ่มาตั้งแต่ราว 430 ปีก่อนคริสต์ศักราช และใช้กันโดยทั่วไปในการเรียกว่าเป็นวงกต – แม้ว่าในการบรรยายจะกล่าวว่ามิโนทอร์ติดกับอยู่ในวงกตปริศนาก็ตาม แม้เมื่อลายวงกตพัฒนาซับซ้อนขึ้น แต่ลายวงกตตั้งแต่สมัยโรมันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา แต่ก็เป็นลายวกวนทางเดียว (unicursal) “วงกตปริศนา” เพิ่งเริ่มมาเป็นที่นิยมกันเมื่อใช้ในการออกแบบสวนวงกตที่นิยมกันในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา ลายวงกตอาจจะปรากฏเป็นลวดลายบนเครื่องปั้นดินเผา, ตะกร้า, ลายสักบนร่างกาย, ลายบนผนังหรือกำแพงของคริสต์ศาสนสถาน โรมันใช้ลายวงกตในการตกแต่งบนผนัง, พื้นด้วยโมเสก ลายวงกตที่สร้างบนพื้นบางครั้งก็จะมีขนาดใหญ่พอที่จะใช้ในการเดินตามเส้นเข้าออกได้สำหรับการเดินกรรมฐาน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และลายวงกต · ดูเพิ่มเติม »

ลำนำหกพิภพ

ลำนำหกพิภพ เป็นหนังสือนิยายแฟนตาซีวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลดีเด่นจากโครงการศิลปะเพื่อเยาวชนไทย Young Thai Artist Award 2006 ซึ่งสนับสนุนโดยมูลนิธิซีเมนต์ไทย ผู้เขียนคือนายพงศ์ศรณ์ ภูมิวัฒน์ ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุคส์พับลิเคชัน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และลำนำหกพิภพ · ดูเพิ่มเติม »

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และลิง · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดีกัมพูชา

วรรณคดีของกัมพูชามีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานและแบ่งเป็นสองระนาบเช่นเดียวกับวรรณคดีในประเทศอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือแบ่งเป็นวรรณคดีลายลักษณ์ ส่วนใหญ่จำกัดอยู่แต่เฉพาะในชนชั้นสูงและพระสงฆ์ กับวรรณกรรมมุขปาฐะ ส่วนใหญ่เป็นเพลงพื้นบ้าน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย เช่น รามายณะและมหาภารต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวรรณคดีกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมกัมพูชา

วัฒนธรรมกัมพูชาที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติมีพื้นฐานมาจากศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู กัมพูชาได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งทางด้านภาษาและศิลปะผ่านทางแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งจากการค้าทางทะเลทางไกลกับอินเดียและจีนจนเกิดอาณาจักรฟูนันขึ้นเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวัฒนธรรมกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งท่าเลา

วัดคุ้งท่าเลา เป็นวัดราษฏร์มหานิกาย ตั้งอยู่ในตำบลบางพึ่ง อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี มีสิ่งที่น่าสนใจคือประตูทางเข้าวัดเป็นรูปหนุมานกำลังอ้าปากตั้งเด่นเป็นสง่า ประดับกระจกสีสวยสะดุดตา เป็นความคิดริเริ่มของเจ้าอาวาสที่นำตำนานเมืองลพบุรีที่เกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์มาประยุกต์ในการสร้าง นับว่าเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีูรูปร่างค่อนข้างแปลกแต่แฝงไปด้วยความงดงามในตัว นับว่าเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งของอำเภอบ้านหมี่และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่หนึ่งที่น่าสนใจมาก มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายในพระอุโบสถเรื่องเทศน์มหาชาติ และพระมาลัย มีพระพุทธรูปเก่าสมัยเชียงแสน ขนาดหน้าตักกว้าง 12 นิ้ว สำหรับการเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับวัดท้องคุ้ง อยู่ห่างมาอีกประมาณ 3.5 กิโลเมตร วัดคุ้งท่าเล.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวัดคุ้งท่าเลา · ดูเพิ่มเติม »

วัดเขาวงพระจันทร์

วัดเขาวงพระจันทร์ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใน ตำบลห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันมี พระมงคลภาวนาวิกรม พระราชาคณะชั้นสามัญ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ซึ่งชาวลพบุรีจะเรียนท่านว่า หลวงปู่ฟัก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวัดเขาวงพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วายุภักษ์

วายุภักษ์ เป็นตัวละครยักษ์ ในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นเจ้าเมืองวิเชียรที่เนินเขาจักรวาล ในตอน ศึกวายุภักษ์ ได้จับตัวพระราม พระลักษมณ์ ไปแต่สุครีพและหนุมานตามไปชิงตัวคืน วายุภักษ์ถูกนิลพัทกับองคตตัดหัว.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวายุภักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วานรสิบแปดมงกุฎ

รูปบางส่วนของวานรสิบแปดมงกุฎ ในการแสดงโขนที่ลานคนเมืองเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน2549 วานรสิบแปดมงกุฏ เป็นวานร (ลิง) ในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ วานรเหล่านี้เป็นเทวดาที่จุติลงมาเป็นวานร และมาเป็นทหารเอกในกองทัพของพระราม ผู้ซึ่งเป็นองค์พระนารายณ์อวตารลงมา และต้องไปอยู่ในป่าเป็นเวลา ๑๔ ปี เพื่อรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดา คือท้าวทศรถ เมื่อพระมเหสีของพระราม คือ นางสีดา ถูกทศกัณฐ์ กษัตริย์เมืองลงกา ลักพาตัวไป พระรามต้องนำกองทัพติดตามไปรับนางสีดาคืนมา โดยมีหนุมานผู้นำเอา สุครีพ ซึ่งเป็นน้าชายมาถวายตัวพร้อมไพร่พลเมืองขีดขิน และท้าวมหาชมพูที่ยกกำลังพลเมืองชมพูให้เป็นทหารแห่งองค์พระราม วานรสิบแปดมงกุฏจึงเป็นกำลังพลในทัพขององค์พระราม ที่มาจากสองเมืองคือ เมืองขีดขินของสุครีพ และเมืองชมพูของท้าวมหาชมพู.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวานรสิบแปดมงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

วิรุณจำบัง

วิรุณจำบังเป็นโอรสของพญาทูษณ์ กษัตริย์เมืองจารึกองค์ที่ ๑ โอรสองค์ที่ ๕ ของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎา น้องชายร่วมบิดามารดาของทศกัณฐ์ วิรุณจำบังมีม้าทรงคู่ใจตัวดำปากแดงชื่อ นิลพาหุ ซึ่งสามารถหายตัวได้ทั้งตนและม้า วิรุณจำบังรับอาสาทศกัณฐ์ยกทัพไปทำสงครามกับพระรามและพลวานรซึ่งกำลังมุ่งหน้ามาที่กรุงลงกาเพื่อทวงนางสีดาคืน โดยไปสมทบกับทัพของท้าวสัทธาสูร เจ้าเมืองอัสดง สหายอีกตนของทศกัณฐ์ ซึ่งต่อมาก็ถูกหนุมานฆ่าตาย เมื่อวิรุณจำบังไปรบ พลยักษ์ถูกพลวานรฆ่าตายหมด วิรุญจำบังผู้เป็นแม่ทัพจึงร่ายเวทย์กำบังตัวเองและม้า เข้าไปสังหารฝ่ายวานรล้มตายเป็นจำนวนมาก พระรามเห็นความไม่ชอบมาพากลจึงตรัสถามพิเภก พิเภกตอบว่า ขณะนี้วิรุณจำบังใช้เวทย์หายตัวเข้ามาในกองทัพ พิเภกถวายคำแนะนำให้พระรามแผลงศรไปฆ่าม้านิลพาหุเสีย เมื่อพระรามแผลงศรพรหมาสตร์ออกไปถูกม้าทรงของวิรุณจำบังตาย วิรุณจำบังเห็นว่าสู้ไม่ได้จึงคิดหนี โดยร่ายเวทย์เสกผ้าโพกศีรษะเป็นหุ่นพยนต์ซึ่งมีรูปกายเหมือนตนไม่ผิดเพี้ยน แล้วหลบหนีไปจนพบนางวานรินทร์ที่ในถ้ำกลางป่า นางวานรินทร์แนะให้ไปซ่อนตัวอยู่ในฟองน้ำที่นทีสีทันดรฝ่ายพระรามทรงรู้กลศึก แผลงศรเป็นตาข่ายเพชรทำลายรูปนิมิต แล้วสั่งให้หนุมานติดตามไปสังหาร หนุมานติดตามมาจนได้พบนางวานรินทร์จึงเข้าเกี้ยวพาราสี และทราบว่าเป็นนางฟ้าที่ถูกสาปที่ทำผิด เนื่องจากมีหน้าที่รักษาประทีป แล้วปล่อยให้ประทีปดับ และจะพ้นคำสาปเมื่อได้พบทหารเอกของพระราม เมื่อนางวานรินทร์บอกที่ซ่อนของวิรุณจำบังแล้วจึงส่งนางกลับขึ้นสู่สวรรค์ หนุมานตามไปสังหารวิรุณจำบังได้สำเร็.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวิรุณจำบัง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารแห่งเดียวในประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 7 ของประเทศ จากกระแสพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก และดำรงสถานะสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สวดคฤหัสถ์

วดคฤหัสถ์ สวดคฤหัสถ์ หรือ สวดกะหัด คือการสวดชนิดหนึ่ง เป็นการเล่นที่นิยมเล่นในงานศพ เป็นการเล่นเลียนแบบการสวดพระอภิธรรมของพระสงฆ์ และเล่นในตอนดึกหลังจากพระสงฆ์สวดพระอภิธรรมเสร็จแล้ว การแสดงจะมีบทสวด "พื้น" อยู่ 4 อย่าง คือ พื้นพระอภิธรรม (สวดบทพระอภิธรรม) พื้นโพชฌงค์มอญหรือหับเผย พื้นพระมาลัย (สวดเรื่องพระมาลัย) และพื้นมหาชัย 1 แต่ที่นิยมใช้สวดกันอย่างแพร่หลาย คือพื้นพระอภิธรรม แต่เดิมเป็นการละเล่นของพระสงฆ์ซึ่งสวดมนต์แล้วออกลำนำเป็นภาษาต่างๆ มีปรากฏในกฎหมายตราสามดวง ห้ามไม่ให้พระสงฆ์สวดออกลำนำแบบนี้ จากนั้นจึงแพร่หลายมาในหมู่ชาวบ้าน และเริ่มมีการแต่งตัวตามภาษาที่ใช้สวดภาษิต จิตรภาษ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสวดคฤหัสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนพฤกษศาสตร์หักกาลา

ีตาอัมมัน โกยิลซึ่งอุทิศถวายแด่นางสีดา ในสวนขวัญเดิม สวนพฤกษศาสตร์หักกาลา เป็นสวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศศรีลังกา มีพื้นที่ประมาณ 500 000 ไร่ อยู่ในแขวงหักกาลา เขตนูวาลาอินลยา ทางตอนใต้ของประเทศศรีลังกา เดิมเป็นสวนประจำพระราชวังหลวง ในประเทศศรีลังกา เชื่อกันว่า ราวณะ (ทศกัณฐ์) ได้ลักพานางสีดามาไว้ที่นี่ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของเทวสถานสีตาอัมมัน โกยิล ซึ่งอุทิศถวายแด่นางสีดา ในรามเกียรติ์ของประเทศไทยเป็นที่รู้จักดีในนาม สวนขวัญกรุงลงก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสวนพฤกษศาสตร์หักกาลา · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์หิมพานต์

้อมูลเกี่ยวกับสัตว์หิมพานต์ สัตว์หิมพานต์ คือสัตว์ในจินตนาการที่กวี หรือจิตรกร พรรณนาถึง อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์หรือเขาไกรลาส ดังที่ปรากฏในวรรณคดีไตรภูมิพระร่วง และรามเกียรติ์ โดยมีลักษณะของสัตว์หลายชนิดมาประกอบกันในตัวเดียว จำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ สัตว์ทวิบาท (มีสองขา) สัตว์จตุบาท (มีสี่ขา) และจำพวกปล.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสัตว์หิมพานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สุครีพ

สุครีพ เป็นพญาวานรในเรื่องรามเกียรติ์ มีกายสีแดง เป็นลูกชายของพระอาทิตย์กับนางกาลอัจนา เป็นทหารเอกของพระราม ได้รับความไว้วางพระทัยจากพระรามให้เป็นผู้จัดการกองทัพ ออกรบสู้กับกองทัพของกรุงลงกาอยู่เสมอ ครั้งเสร็จศึกกรุงลงกา ได้รับแต่งตั้งเป็น พญาไวยวงศามหาสุรเดช ครองกรุงขีดขิน เมื่อตอนที่พระฤๅษีโคดมสามีของนางกาจอัจนา รู้ความจริงจากนางสวาหะว่าสุครีพไม่ใช่ลูกของตนแต่เป็นลูกชู้ จึงสาปให้กลายเป็นลิงพร้อมกับพาลีผู้เป็นพี่ชายซึ่งเป็นลูกชู้กับพระอินทร์ แล้วไล่ให้เข้าป่าไป ต่อมาจึงได้พบกับพระราม สุครีพมีศักดิ์เป็นน้าของหนุมาน ไฟล์:OPR050103Sukreep-DS.jpg ‎ หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสุครีพ · ดูเพิ่มเติม »

สีดา (เพลง)

"สีดา" เป็น ซิงเกิลหนึ่งจากอัลบั้ม อย่างลึกซึ้งแด่คุณคนพิเศษ ของ ดนุพล แก้วกาญจน์ ออกวางแผงเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดย อารี อุไร นามปากกาของ สุรพล โทณะวณิก เป็นผู้แต่งคำร้อง ซึ่งสร้างจากเรื่องชีวิตจริงของ "ประโนตย์ วิเศษแพทย์" สาวประเภทสอง โดยกล่าวถึงโศกนาฏกรรมความรักอย่างลึกซึ้งระหว่างชาย 2 คน แต่สุดท้ายต้องจบลงด้วยอัตวินิตบาตกรรม เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความซาบซึ้งจนเป็นข่าวคราวบนหน้าหนังสือพิมพ์ เมื่อปี พ.ศ. 2510 ชื่อสีดาในบทเพลง คือตัวละครในวรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งประโนตย์เคยแสดงในช่วงเรียนวิชานาฏศิลป์ แม้ไม่อาจทำให้ท่วงท่าการร่ายรำของเธองดงามมากนัก แต่สิ่งที่ทำให้เธอโดดเด่นที่สุดคือเรื่องความสวยที่สามารถถ่ายทอดความงดงามของนางสีดาอย่างยากจะหาผู้ใดในขณะนั้นเทียบได้ อารี อุไร ได้มีโอกาสชมการแสดงและความสวยของประโนตย์ ที่ยังคงประทับในความทรงจำ จึงนำเรื่องราวชีวิตดังกล่าวมาเขียนเป็นบทเพลง โดยได้มีการดัดแปลงบางส่วนของเรื่องออกไป ทำให้มีบางเสี้ยวของเหตุการณ์ต่างไปจากความเป็นจริง เพลง สีดา ทำนองมาจากเค้าโครงของเพลง Marilyn et John ของ Vanessa Paradis โดยมี อภิไชย เย็นพูนสุข เป็นผู้เรียบเรียงเสียงประสาน และ เทวัญ ทรัพย์แสนยากร เป็นนักดนตรีรับเชิญ ถือเป็นเพลงหนึ่งของ แจ้ ที่มีแนวเนื้อหาต่างไปจากเพลงอื่นในอัลบั้มเดียวกัน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสีดา (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สดายุ

ทศกัณฐ์สังหารนกหัสดายุ ผลงานของราชา รวิ วรรมา ศิลปินชาวอินเดียช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นกสดายุ หรือ พระยาสดายุเป็นพระยาปักษาชาติ (นก)หนึ่งในตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นสหายกับท้าวทศรถ เมื่อทศกัณฐ์ไปลักนางสีดาจากบรรณศาลา พาอุ้มเหาะจะนำไปไว้ ณ สวนขวัญ กรุงลงกา ขณะที่พระรามไม่อยู่ในอาศรม แต่นกสดายุบินผ่านมาเห็นเหตุการณ์จึงเข้ามาสกัดไว้ ผลสุดท้าย พระยาสดายุหรือ นกสดายุถูกขว้างด้วยแหวนของนางสีดาปีกหักตกลงมายังพื้นดินแต่ยังไม่ตาย ทศกัณฐ์พานางสีดาหนีไปได้ สดายุรอคอยแจ้งเหตุกับ พระรามที่ออกติดตามหานางสีดา เมื่อพระรามมาเจอสดายุก็ได้มอบแหวนของนางสีดาให้แล้วจึงสิ้นชีพไป.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสดายุ · ดูเพิ่มเติม »

สง่า มะยุระ

ง่า มะยุระ (20 สิงหาคม พ.ศ. 2452 - 12 กันยายน พ.ศ. 2521) จิตรกรชาวไทย เป็นเจ้าของและผู้ให้กำเนิดผลิตภัณฑ์พู่กัน เป็นโรงงานทำพู่กันแห่งแรกของประเทศไทย สง่า มะยุระเกิดที่ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรบุญธรรมในหลวงพ่อหรุ่น อดีตเจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง เริ่มเรียนวิชาสามัญที่โรงเรียนวัดสัปรสเทศ พร้อมกับฝึกวิชาวาดเขียนมาตั้งแต่เด็กกับอาจารย์อู๋ ที่วัดมะนาว อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาได้มาอยู่กับอาจารย์ม้วนที่วัดสุวรรณาราม ริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี สง่าได้มีโอกาสเรียนวาดเขียนกับครูสอิ้งที่อยู่ข้างวัดสุวรรณาราม โดยครูสอิ้งพาไปช่วยเขียนลายรดน้ำที่หน้าต่างพระวิหารวัดพระเชตุพนฯ ต่อมาได้ไปสมัครทำงานเขียนพานแว่นฟ้ากับคุณผิน และเขียนตู้พระมาลัยที่วัดมหาธาตุ สง่า มะยุระ ได้รู้จักกับหลวงเจนจิตรยง ช่างเขียนอันลือชื่อในสมัยนั้น ท่านชวนให้ไปช่วยเขียนลายบนโถกะยาคู โดยนำฟักทองมากลึงให้มีรูปร่างเหมือนโถ และต้องเขียนลายให้เสร็จในวันเดียวกัน มิฉะนั้นฟักทองจะเหี่ยว ทั้งสองท่านช่วยกันเขียนจนเสร็จ หลวงเจนจิตรยงชื่นชอบฝีมือว่าของสง่า จึงชวนให้ไปช่วยเขียนภาพที่วัดสุวรรณคีรี คลองบางกอกน้อย โดยมอบหมายให้เขียนลายรดน้ำที่บานประตูหน้าต่างโบสถ์แทนท่านทั้งหมด นายสง่าต้องใช้เวลาเขียนถึงสี่เดือนจึงเสร็จ สง่าได้อุปสมบทที่วัดสุวรรณาราม ธนบุรี เป็นระยะเวลาสองพรรษา ในระหว่างนั้นได้มีโอกาสเข้าไปเขียนภาพรามเกียรติ์ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลป์ไชย) เป็นผู้อำนวยการเขียนภาพ ในเวลาต่อมา เมื่อภาพเขียนที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเกิดชำรุดเสียหาย นายสง่าก็ได้มีโอกาสเข้าไปเขียนซ่อม บางห้องมีภาพชำรุดมากก็เขียนใหม่ทั้งหมดจนสำเร็จ หลังจากลาสิกขาแล้วก็มาตั้งร้านขายเครื่องดื่มที่หลังโรงพยาบาลศิริราช โดยให้บิดาเป็นผู้ขาย ส่วนตนเองไปทำงานประจำที่ร้านคณะช่าง อันเป็นร้านช่างเขียนรับงานเขียนต่าง ๆ และทำบล็อกด้วย ทำงานอยู่ร้านคณะช่างได้สองปีก็ลาออก และไปทำงานที่โรงพิมพ์บุญครอง สง่าสมรสเมื่อปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และสง่า มะยุระ · ดูเพิ่มเติม »

หมากรุกไทย

การเล่นหมากรุกไทย ชุดหมากรุกไทยสมัย 100 ปีก่อน พ.ศ. 2555 ชุดหมากรุกไทยสมัย 200 ปีก่อน พ.ศ. 2555 โดยตัวเบี้ยเป็นเปลือกหอย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่ตัวหมากรุกทำจากเขาควายเผือก และเขาควายดำ หมากรุกไทย เป็นเกมกระดานที่พัฒนามาจากหมากรุกของอินเดียที่ชื่อเกมว่าจตุรังกา ลักษณะการเล่นเกมใกล้เคียงกับหมากรุกสากล นอกจากนี้ในประเทศกัมพูชามีเกมหมากรุก ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับหมากรุกไทยนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย หมากรุกไทย มีประวัติเริ่มในอินเดีย โดยมาจากตำนานของรามเกียรติ์ ตามตำนานกล่าวว่า ฝ่ายทศกัณฐ์นั้น เมื่อมีศึกเข้าประชิด นางมณโฑ มเหสีของทศกัณฐ์ เห็นทศกัณฐ์เครียดกับการศึกจึงคิดหาเกมให้สวามีได้ผ่อนคลาย โดยคิดเป็นเกมหมากรุกขึ้น โดยแต่เดิมใช้คนเล่น 4 คน เรียกว่า จตุรังกา แต่ในภายหลังได้รับการปรับปรุงจนสามารถใช้ผู้เล่นเพียง 2 คนได้ แชมป์หมากรุกโลก วลาดีมีร์ ครัมนิค ระบุว่าหมากรุกไทย เป็นเกมที่ต้องใช้กลยุทธ์มากกว่าหมากรุกสากล ที่ต้องมีการวางแผนอย่างระมัดระวังในช่วงท้ายเกม.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และหมากรุกไทย · ดูเพิ่มเติม »

หนังตะลุง

หนังตะลุง หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาในราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้องจัดทำโรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนังตะลุงต้องใช้แรงงานคน (และฝีมือ) มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนังตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความสนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และหนังตะลุง · ดูเพิ่มเติม »

หนังใหญ่

หนังใหญ่ หนังใหญ่ คือมหรสพที่แพร่หลายของคนไทยอีกอย่างหนึ่ง ตัวหนังจะใช้แผ่นหนังวัวฉลุเป็นรูปตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ และมีไม้ผูกทาบตัวหนังไว้ทั้งสองข้าง เพื่อให้ตัวหนังตั้งตรงไม่งอ และทำให้มีคันยื่นลงมาใต้ตัวหนังเป็นสองข้างสำหรับจับถือและยกได้ถนัด สถานที่เล่นจะปลูกโรงผ้าใช้ผ้าขาวคาดเป็นจอ ส่วนด้านหลังจอจะจุดไต้และก่อไฟไว้ เพื่อให้แสงทำให้เห็นเงาตัวหนังซึ่งมีลวดลายวิจิตรมาติดอยู่ที่จอผ้าขาว และการเชิดนั้นคนเชิดต้องเต้นไปตามจังหวะดนตรีและบทพากย์บทเจรจาด้วย การแสดงโขนก็ประกอบไปด้วยการพากย์ เจรจา ขับร้อง และการเต้นทำท่าตามบทพากย์ จึงกล่าวได้ว่าโขนนำเอาการพากย์ เจรจา และท่าทางการเต้นการแสดงมาจากหนังใหญ่ ปัจจุบันเหลือคณะหนังใหญ่อยู่ทั้งหมด 3 คณะได้แก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และหนังใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หนุมาน

1.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์

หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ (ウルトラ6兄弟VS怪獣軍団) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และหนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อาดอน

การออกแบบ อาดอนในชุดโขนสำหรับซูเปอร์สตรีทไฟท์เตอร์ IV อาดอน (Adon; アドン) เป็นตัวละครจากเกมสตรีทไฟท์เตอร์ ผู้เป็นนักมวยไทย ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของสุดยอดนักมวยไทยนามว่า สกัด นอกจากนี้ อาดอนยังได้หวนกลับมามีบทบาทอีกครั้งในเกม ซูเปอร์สตรีทไฟท์เตอร์ IV ด้วยเช่นกัน อาดอนมีท่าไม้ตายคือจากัวร์คิก, ไรซิงจากัวร์ และจากัวร์ทูธ และมีอุลตร้าคอมโบคือ จากัวร์รีโวลเวอร์ กับจากัวร์แอวาแลนช์ ให้เสียงพากย์ในเวอร์ชันภาษาญี่ปุ่นโดยคุณอสึชิ อิมารุโอกะ และให้เสียงพากย์ในเวอร์ชันภาษาอังกฤษโดย ที.แอ็กเซลร็อด อาดอนเป็นตัวละครในซีรีส์สตรีทไฟท์เตอร์เพียงรายเดียว ที่มีท่าซูเปอร์คอมโบแปรผันออกเป็นสองรูปแบบขณะโจมตีได้ กล่าวคือท่า "จากัวร์แวรีแอสเซาท์" สามารถแปรเปลี่ยนเป็น "เธาเซินด์จากัวร์" หรือ "จากัวร์แอสเซสซิน" ได้โดยขึ้นอยู่กับการควบคุมของผู้เล่นเป็นสำคัญ และถือได้ว่าเป็นผู้สืบทอดมวยไทย ในยุคต่อมาของซีรีส์สตรีทไฟท์เตอร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และอาดอน · ดูเพิ่มเติม »

อินทรชิต

อินทรชิต (สันสกฤต: इन्‍द्र जीत, Indrajit อินฺทฺร ชีต) เดิมมีชื่อว่า รณพักตร์ เป็น บุตรทศกัณฐ์กับนางมณโฑ มีมเหสีชื่อ นางสุวรรณกันยุมา มีบุตรชื่อยามลิวันและกันยุเวก มีสีกายสีเขียว มีฤทธิ์เก่งกล้ามาก เมื่อโตขึ้นจึงทูลลาพระบิดาและพระมารดาเพื่อไปศึกษาวิชากับพระฤๅษีโคบุตรจนสำเร็จวิชามนต์มหากาลอัคคี จึงกราบลาอาจารย์เพื่อไปบำเพ็ญตบะ เมื่อบำเพ็ญจนเก่งกล้าแล้วจึงทำพิธีขออาวุธวิเศษต่อมหาเทพทั้ง 3 มหาเทพจึงประทานอาวุธวิเศษให้ คือ พระอิศวรประทานศรนาคบาศและพรสามารถแปลงร่างเป็นพระอินทร์ได้ พระพรหมประทานศรพรหมาสตร์และพรไม่ให้ตายบนพื้นดินหากตายก็ให้ตายบนอากาศหากเศียรขาดตกลงพื้นก็ให้เกิดไฟไหม้ทั่วทั้งจักรวาลต้องนำพานแว่นฟ้าของพระพรหมเท่านั้นมารองรับเศียรจึงจะระงับเหตุได้ ส่วนพระนารายณ์ประทานศรวิษณุปานัม เมื่อได้รับพรและอาวุธวิเศษแล้วจึงเกิดความหึกเหิมบุกสวรรค์และท้าพระอินทร์รบ และชนะพระอินทร์ ทศกัณฐ์เมื่อทราบข่าวบุตรของตนมีชัยชนะก็ดีใจมากจึงเปลื่ยนชื่อใหม่เป็น อินทรชิต หมายถึง "ชนะพระอินทร์" แต่ด้วยไม่ตั้งตนอยู่ในธรรมและการประพฤติชั่วของตน ภายหลังถูกศรของพระลักษมณ์สิ้นใจต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และอินทรชิต · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

ปราสาทพนมรุ้ง เมื่อมองจากทางขึ้นด้านหน้า ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย ตัวปราสาทหินพนมรุ้ง ความสวยงามของปราสาท.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อุณรุทร้อยเรื่อง

อุณรุทร้อยเรื่อง เป็นวรรณคดีขนาดสั้น แต่งในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์โดย คุณสุวรรณ เป็นวรรณคดีนิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ ที่นำตัวละคร และเรื่องราวจากวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ มาประมวลไว้ด้วยกันมากกว่าร้อยชื่อ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และอุณรุทร้อยเรื่อง · ดูเพิ่มเติม »

องคต

องคต (Angada จากअङ्गद องฺคท) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งของเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นลูกของพญาพาลี กับนางมณโฑ เป็นทหารเอกของพระรามมีอาวุธเป็นธนู ที่แม้แต่ใครก็ตามที่มาสู้กับองคตก็ต้องตายหมด องคตเกิดมาจาก เมื่อพาลีแย่งนางมณโฑมาจากทศกัณฐ์แล้ว นางต้องเป็นภรรยาของพาลีจนกระทั่งตั้งครรภ์ ทศกัณฐ์จึงไปฟ้องฤๅษีอังคัตผู้เป็นอาจารย์ของพาลีให้มาว่ากล่าวพาลี จนพาลียอมคืนนางมณโฑให้แต่ขอลูกเอาไว้ ฤๅษีอังคัตจึงทำพิธีเอาลูกออกจากท้องนางมณโฑไปใส่ในท้องแพะ เมื่อครบกำหนดคลอดพระฤๅษีก็ทำพิธีให้ออกจากท้องแพะให้ชื่อว่า องคต ทศกัณฐ์ยังผูกใจเจ็บ จึงแปลงกายเป็นปูยักษ์ คอยอยู่ก้นแม่น้ำเพื่อที่จะฆ่าองคตขณะทำพิธีลงสรง แต่ถูกพาลีจับได้ แล้วเอามาผูกไว้ให้ลูกลากเล่นอยู่เจ็ดวันจึงปล่อยไป เมื่อสุครีพขอให้พระรามมาช่วยปราบพาลี ก่อนที่พาลีจะสิ้นใจตาย ได้สำนึกว่าตนทำผิดต่อสุครีพ ทั้งไม่รักษาคำสัตย์สาบาน จึงได้ทูลฝากฝังสุครีพและองคตไว้กับพระราม องคตได้ช่วยทำศึกกับกองทัพของทศกัณฐ์อย่างเต็มความสามารถ พระรามเคยส่งองคตเป็นทูตไปเจรจากับทศกัณฐ์ เพื่อทวงนางสีดาคืนกลับมา แม้จะไม่สำเร็จ แต่ก็ได้แสดงความเฉลียวฉลาดและความกล้าหาญ ให้ประจักษ์แก่ตาของทศกัณฐ์ องคตเป็นผู้ที่มีสัมมาวาจา สามารถพูดจาให้คนหลงเชื่อได้ ดังจะเห็นได้จากตอนที่พระรามให้องคตแปลงกายเป็นยักษ์พิจิตรไพรีไปทูลขอแว่นแก้วสุรกานต์จากพระพรหม.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และองคต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จันทนีย์ อูนากูล

ันทนีย์ อูนากูล หรือ จันทนีย์ พงศ์ประยูร (19 พฤษภาคม 2500 —) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ที่มีผลงานที่มีชื่อเสียงจากเพลง "สายชล" และ "ลองรัก" จันทนีย์ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เติบโตที่จังหวัดชลบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และศึกษาต่อที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และจันทนีย์ อูนากูล · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์

วนหนึ่งของภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ฉากหนุมานอมพลับพลา ตอนศึกไมยราพ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ เป็นภาพวาดบนฝาผนังเกี่ยวกับเรื่องราวในมหากาพย์วรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ อยู่บริเวณระเบียงคดรอบพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีจำนวนทั้งสิ้น 178 ห้อง สร้างขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยมีการเขียนซ่อมแซมเพิ่มเติมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้บูรณะในโอกาสครบรอบ 100 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ ในการนี้ได้ทรงพระนิพนธ์โคลงประกอบภาพไว้จำนวนแปดห้อง เป็นโคลง 224 บท.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

จตุรพักตร์

ตุรพักตร์ (พรหม) มีนามเดิมว่า ท่าวมหาอัชดาหรือธาดา เป็นผู้ครองกรุงลงกาองค์แรก มเหสีคือนางมลิกา โอรสเป็นยักษ์สี่มือ ชื่อ ลัสเตียน อาวุธคือตรีศูล คทา และฉัตรแก้ว มีบุษบกแก้วเป็นอากาศยานวิเศษ ท้าวจตุรพักตร์นี้เป็นน้องท้าวมาลีวัคคพรหมหรือท้าวมาลีวราช ดังนั้นในรามเกียรติ์ทศกัณฐ์จีงถือว่าตนเป็นวงศ์พรหม.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และจตุรพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศกัณฐ์

ระยาพรหมาภิบาล (ทองใบ สุวรรณภารต) ทศกัณฐ์ทรงศร ทศกัณฐ์ทรงหอกกบิลพัท ทศกัณฐ์ (ผู้มีสิบคอ คือ มีสิบหัว) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ ดัดแปลงมาจากตัวละคร ราวณะ ในมหากาพย์ฮินดูเรื่อง รามายณ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และทศกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศกัณฐ์ (ละครโทรทัศน์)

ทศกัณฐ์ (Raavan, Ravana) เป็นละครโทรทัศน์อินเดียที่กล่าวถึงประวัติของพญาทศกัณฐ์ ออกอากาศทางช่อง Zee TV ในอินเดีย ต่อมาสหมงคลฟิล์มได้ซื้อลิขสิทธิ์ แล้วก็นำมาออกอากาศทางช่อง มงคลแชนแนล ในประเทศไทย โดยมีทีมพากย์พันธมิตรใให้เสียงพากย์ภาษาไทย นำแสดงโดย นาเรนดร้า จา, ปาราส ออโรรา รับบทเป็น พญาทศกัณฐ์ ซึ่งละครเรื่องนี้ออกอากาศต่อจากละครโทรทัศน์เรื่อง พระศิวะ ที่อวสานลงไป.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และทศกัณฐ์ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ทศกัณฐ์ (แก้ความกำกวม)

ทศกัณฐ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และทศกัณฐ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ทศคีรีวัน ทศคีรีธร

ทศคีรีวันและทศคีรีธร เป็นยักษ์ฝาแฝดที่เกิดจากทศกัณฐ์กับนางช้างพัง ทศคีรีวันเป็นพี่ ทศคีรีธรเป็นน้อง ทศกัณฐ์ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมแก่ ท้าวอัศกรรมมาลา เจ้าเมืองดุรัม วันหนึ่งคิดถึงบิดาตนจึงไปหาและทราบเรื่องราวที่บิดาตนทำศึกกับพระรามจึงอาสาออกรบ เมื่อสองตนนี้ยกทัพมาถึง พระรามรับสั่งให้พระลักษมณ์เป็นทัพหน้า เข้าสู้กับกองทัพลงกาซึ่งทศกัณฐ์อยู่ตรงกลาง พระลักษมณ์แผลงศรพลายวาตถูกม้าศึกทั้งสองตายคาที่ สองยักษ์พี่น้องจึงกระโดดเข้าหักงอนรถพระลักษมณ์ พระลักษมณ์หวดด้วยคันศร ทั้งสองแผลงศรเป็นอาวุธเก้าอย่างถูกพลลิงตายมากมาย พระลักษมณ์จึงแผลงศรไปแก้เป็นลมพัด จนวานรฟื้นคืนหมดแล้วศรก็พุ่งไปเสียบอกยักษ์พี่น้องสองตนขาดใจต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และทศคีรีวัน ทศคีรีธร · ดูเพิ่มเติม »

ทัชชกร ยีรัมย์

ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และทัชชกร ยีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวมหาชมพู

ท้าวมหาชมพู เป็นพญาวานรครองกรุงชมพูมีนางแก้วอุดรเป็นมเหสีมี นิลพัท เป็นหลานบุญธรรม เป็นพื่อนรักกับพาลี เจ้าเมืองขีดขิน มีฤทธิ์มากไม่ยอมไหว้ใครนอกจากพระผู้เป็นเจ้าทั้งสาม ภายหลังเมื่อรู้ว่าพระนารายณ์อวตารมาเป็นพระรามจึงเข้าร่วมทัพด้ว.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และท้าวมหาชมพู · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวลัสเตียน

ท้าวลัสเตียน (อสุรพงศ์) เป็นบุตรของท้าวจตุรพักตร์กษัตริย์ผู้ครองเมืองลงกาองค์ที่ ๑ และนางมลิกา ท้าวลัสเตียนเป็นกษัตริย์ครองเมืองลงกาองค์ที่ ๒ มีมเหสี ๕ พระองค์ มีโอรสและธิดาทั้งหมด ๑๑ อง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และท้าวลัสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวจักรวรรดิ

ท้าวจักรวรรดิ (ซ้าย) และท้าวอัศกรรมมาลา (ขวา) ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ท้าวจักรวรรดิ ยักษ์ตนหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นกษัตริย์แห่งกรุงมลิวัน สหายของทศกัณฐ์ ได้ร่วมมือกับ ไพนาสุริยวงศ์(โอรสทศกัณฐ์) เข้ากอบกู้กรุงลงกา โดยยกทัพไปทำศึก และจับพิเภก ก่อนที่จะจัดพิธี มอบราชสมบัติกรุงลงกาคืน แก่ไพนาสุริยวงศ์ และให้นามใหม่ว่า ท้าวทศพิน ต่อมา พระพรตจึงได้ยกทัพมาปราบ และยืดเยื้อมาถึงเมืองมลิวัน เกิดการต่อสู้อย่างต่อเนื่อง หลายครั้งหลายคราว แต่ก็ยังไม่สามารถ กำราบท้าวจักรวรรดิลงได้ กระทั่งพระพรต แผลงศรไปปักอก ส่วนแขน และขานั้นขาดสะบั้น ท้าวจักรวรรดิ จึงได้สำนึกผิด และขออโหสิกรรม ท้าวจักรวรรดิ เป็นหนึ่งในทวารบาลในพระบรมมหาราชวังคู่กับท้าวอัศกรรมมาลา right.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และท้าวจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวทศรถ

ท้าวทศรถ เป็นพระราชโอรสของท้าวอัชบาล กับพระนางเทพอัปสร ครองกรุงอโยธยาต่อจากพระราชบิดา ท้าวทศรถได้กำหราบยักษ์หลายตน เช่น ปทูตทันต์ ในการศึกนั้นท้าวทศรถต่อสู้ด้วยศร จนปทูตทันต์กระเด็นไป ปทูตทันต์โมโหก็ขว้างกระบองแก้ว ทำให้เกิดเสียงดังกัมปนาท และบังเกิดเปลวไฟ ท้าวทศรถเห็นเพลิงจึงขว้างพระขรรค์ เกิดเป็นฝนตกลงมาดับไฟ ทำให้เพลารถหัก พระนางไกษเกษีเห็นดังนั้น จังนำแขนมาเทียมรถ ได้รับความเจ็บปวดอย่างมาก ปทูตทันต์โมโหโทโส กระโดดเข้ามาใหม่ ท้าวทศรถจึงขว้างพระขรรค์ไปใหม่ ด้วยอำนาจอันเรืองฤทธิ์ของพระขรรค์ ปทูตทันต์จึงกระเด็นตกยังพื้นพสุธาคอหักตายคาที และท้าวทศรถจึงได้ให้รางวัลแก่พระนางไกษเกษี ว่าในวันข้างหน้า หากนางขออะไร ก็จะให้ตามที่นางขอ ท้าวทศรถอยู่ในราชสมบัติได้หกหมื่นปี ก็มาคิดเรื่องโอรสทั้งสี่ที่จะแบ่งสมบัติให้ โดยพระพรตและพระสัตรุตจะได้ครองกรุงไกยเกษ ส่วนพระรามและพระลักษมณ์จะให้ครองเมืองอโยธยาแต่การนี้พระนางไกยเกษีมเหสีองค์รองขัดขวาง โดยยกเรื่องของรางวัลในอดีตมาเป็นข้อต่อรอง ให้พระรามไปอยู่ในป่าสิบสี่ปี และให้พระพรตขึ้นครองราชย์แทน ท้าวทศรถเสียใจมากจึงสวรรคตด้วยความตรอมพระทั.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และท้าวทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

ดรุโณวาท

รุโณวาท เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกของคนไทยที่เผยแพร่แก่ประชาชน และดำเนินการโดยคนไทย เริ่มออกฉบับแรกเมื่อ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และดรุโณวาท · ดูเพิ่มเติม »

ดาหลัง

หน้าปกหนังสือดาหลัง พิมพ์พระราชทานในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระพันวัสสาอัยิกาเจ้า ดาหลัง เป็นวรรณคดีสำคัญเรื่องหนึ่งของไทยจัดอยู่ในประเภทบทละครใน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 เรื่องคือ รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลัง และ อิเหนา โดย ดาหลัง และ อิเหนา นั้นมีต้นเค้ามาจากนิทานปันหยีของทางชวาเหมือนกัน แต่ความนิยมในดาหลังนั้นมีน้อยมาก อันจะสังเกตได้ว่าแทบไม่มีผู้ใดคิดจะหยิบมาอ่านหรือนำมาศึกษาอย่างจริงจังอาจเพราะด้วยเนื้อหานั้นค่อนข้างรุนแรงกว่าอิเหนา ภาษานั้นไม่ไพเราะลื่นไหลน่าอ่านเท่ากับอิเหนาฉบับรัชกาลที่ 2 และเนื้อเรื่องที่ได้ตีพิมพ์ออกมานั้นไม่จบตอน ขาดในส่วนของตอนจบไป จึงไม่มีใครทราบว่าเรื่องดาหลังนั้นแท้จริงแล้วจบอย่างไร จากสาเหตุข้างต้นจึงน่าจะเป็นเหตุให้วรรณคดีเรื่องนี้ถูกมองข้ามไปโดยปร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และดาหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเมฆ

ตรีเมฆ เป็นบุตรของ ตรีเศียร ได้ครองกรุงมัชวารีต่อจากตรีเศียร เป็นหลานของทศกัณฐ์ ทศกัณฐ์ใช้ให้ออกรบพร้อมกับท้าวสัตลุง หลังจากท้าวสัตลุงถูกพระรามฆ่าตาย ตรีเมฆได้หนีไปแอบอยู่ในเม็ดทราย หนุมานตามมาพบและฆ่าตรีเมฆตาย ตรีเมฆ เป็นยักษ์สีหงดินแก่ ปากขบตาจระเข้ บางแห่งว่าตาโพลง สวมมงกุฎหางไหล กายสีหงดิน มี 1 พักตร์ 2 กร หมวดหมู่:ตัวละครที่เป็นยักษ์ หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และตรีเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเศียร

ตรีเศียร เป็นโอรสองค์ที่ ๖ ของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎา น้องชายร่วมบิดามารดาของทศกัณฐ์ กุมภกรรณ พิเภก ขร ทูษณ์ และพี่ชายของนางสำมนักขา พญาตรีเศียรเป็นกษัตริย์เมืองมัชวารีองค์ที่ ๑.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และตรีเศียร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบันทายสำเหร่

ปราสาทบันทายสำเหร่ ปราสาทบันทายสำเหร่ (ប្រាសាទបន្ទាយសំរែ บอนตีย์สำแร) ปราสาทนี้ได้รับการบูรณะโดยช่างชาวฝรั่งเศสด้วยวิธี Anastylose เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 69 ซึ่งเป็นวิธีซ่อมแซมโดยคงสภาพเดิมของปราสาทไว้ให้มากที่สุด จะไม่มีการต่อเติมหรือเพิ่มลวดลายขึ้นมาใหม่ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ช่างจะทำแผนผังส่วนประกอบต่าง ๆ ของปราสาทไว้ทั้งหมด จากนั้นก็ค่อยๆ รื้อชิ้นส่วนต่าง ๆ ลงมา โดยจะทำเครื่องหมายและถ่ายภาพชิ้นส่วนทุกชิ้น จากนั้นก็ทำการปรับพื้นฐานล่างของปราสาทให้มั่นคงแข็งแรง แล้วสุดท้ายจึงประกอบชิ้นส่วนทั้งหมดกลับเข้าไปเหมือนเดิม การบูรณะปราสาทด้วยวิธีนี้ช่างฮอลันดาเป็นผู้คิดค้นขึ้นและใช้ครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยเคยใช้กับการบูรณะปราสาทหินพิมายและปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทบันทายสำเหร่ตั้งอยู่นอกเมืองพระนครไปทางตะวันออก นักวิชาการสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 หรืออาจจะเป็นสมัยพระเจ้ายโศวรมันที่ 2 เป็นเทวสถานฮินดู ศิลปะแบบนครวัด ภาพสลักส่วนใหญ่แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์ มีการแกะลายที่ชัดเจน ลึกและหนักแน่น.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และปราสาทบันทายสำเหร่ · ดูเพิ่มเติม »

ปักหลั่น

ปักหลั่น เป็นชื่อของยักษ์ตนหนึ่งในตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีหน้าที่เฝ้าสระโบกขรณีชื่อ "พันตา" ตั้งอยู่ระหว่างทางที่ทัพพระรามจะเคลื่อนทัพไปกรุงลงกา ปักหลั่นคอยดักสัตว์กินเป็นอาหาร เมื่อพบกับ หนุมาน องคต และชมพูพาน ที่มานอนหลับริมสระ จึงคิดจะกินลิงทั้สาม แต่ต่อสู้กันปักหลั่นก็แพ้ และบอกที่มาว่าของตนเดิมว่าเป็น เทวดาแต่ลักลอบเป็นชู้กับนางเกสรมาลา จึงถูกสาปมาเป็นยักษ์เฝ้าสระ แต่ถ้าได้พบกับทหารขององค์พระนารายณ์เข้าลูบกายก็จะพ้นคำสาป องคตจึงเข้าลูบหลังทำให้ พ้นคำสาปกลับไปเป็นเทวดา ปักหลั่น อยู่ในสำนวนไทยที่ใช้เปรียบเทียบคนตัวใหญ่ว่า ใหญ่โตราวกับยักษ์ปักหลั่น.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และปักหลั่น · ดูเพิ่มเติม »

ปังปอนด์

ปังปอนด์ เป็นชื่อชุดการ์ตูนไทยซึ่งเป็นผลงานของ ภักดี แสนทวีสุข (ต่าย ขายหัวเราะ) เดิมใช้ชื่อการ์ตูนชุดนี้ว่า ไอ้ตัวเล็กแสตมป์น่าสนใจในอดีต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และปังปอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นักสิทธิ์

นักสิทธิ์ หมายถึง ผู้สำเร็จด้านจิตวิญญาณ เพราะมีศรัทธาแรงกล้าและคุณธรรมสูงราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 236-7 มาจากคำว่า สิทฺธ ในภาษาสันสกฤต ซึ่งแปลว่าผู้สำเร็.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนักสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นาฏศิลป์ในประเทศลาว

หัวโขนสำหรับแสดงเรื่องพระลักพระลาม นาฏศิลป์ในประเทศลาว (ນາດຕະກັມລາວ; "นาฏกรรมลาว") เป็นนาฏศิลป์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวซึ่งพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วย และการแสดงพื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ มีทั้งนาฏศิลป์ในราชสำนัก และนาฏศิลป์พื้นบ้าน เช่น หมอลำ หนังตะลุง หลวงพระบางและเวียงจันทน์เป็นแหล่งของนาฏศิลป์คลาสสิกในราชสำนัก และนาฏศิลป์ที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนาฏศิลป์ในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

นางกวัก (เทพปกรณัม)

นางกวัก เป็นเทพีแห่งโชคลาภตามคติไทย มีลักษณะเป็นรูปศักดิ์สิทธิ์ทำเป็นรูปหญิงสวมเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับอย่างธรรมเนียมไทย นั่งพับเพียบ มือซ้ายวางลงแตะข้างลำตัวหรือวางบนตัก ส่วนมือขวายกขึ้นระดับไหล่ทำท่ากวักมือหรือเรียกเข้ามาหาทิพยประติมา, หน้า 201 เชื่อว่าเทพีองค์นี้จะกวักมือเรียกทรัพย์ เป็นที่นับถืออย่างยิ่งในหมู่พ่อค้าแม่ขายชาวไทยเพราะถือว่าเทพีองค์นี้จะเรียกลูกค้าเข้ามาอุดหนุนสินค้าในร้านทิพยประติมา, หน้า 203.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางกวัก (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

นางกาลอัคคีนาคราช

นางกาลอัคคี (Kanavki) เป็นตัวละครใน มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทยและรามายณะต้นฉบับของอินเดียและศรีลังกา ในรามเกียรติ์ของไทยเป็นธิดาพญากาลนาคกับนางนาคประภา เป็นนาคกับพระมเหสีองค์แรกของทศกัณฐ์แห่งกรุงลงกา มีบุตรชื่อบรรลัยกัลป์ ในรามายณะต้นฉบับ ปารากฎชื่อเป็น ธัญญามาลินี(Dhanyamalini) ส่วนในเรียมเกร์ของประเทศกัมพูชาและยามะซะตอของพม่าไม่ปารากฎ(เพราะเนื้อเรื่องของเนื้อหาสั้นกว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทย).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางกาลอัคคีนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

นางมณโฑ

นางมณโฑ ในมหากาพย์รามายณะเรียกว่า มนโททรี (मंदोदरी มํโททรี) เป็นชายาของพาลี ทศกัณฐ์ หนุมาน และพิเภก โดยระหว่างเป็นมเหสีของทศกัณฐ์ นางได้ให้กำเนิดนางสี.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางมณโฑ · ดูเพิ่มเติม »

นางลังกากินี

ผีเสือสมุทร หรือ ผีเสื้อเมืองลงกาหรือ นางลังกินี (Lankini) เป็นชื่อตัวละครในเรื่องรามายณะของอินเดียและรามเกียรติ์ของไทย ในเรื่องรามายณะของอินเดียเป็นดูแลมหาสมุทรก่อนถึงกรุงลงกาและเป็นสตรีหนึ่งในสามคนที่รักษากรุงลงกาได้แก่ นางผีเสื้อสมุทร(ลังกากินี) นางสิมหิกา และนางสุรสา ในรามเกียรติ์ของไทย เป็นยักษิณีซึ่งเป็นเสื้อเมืองกรุงลงกา รักษาด่านทางอากาศ และเป็นผู้รกษากรุงลงกา เมื่อหนุมานมาถวายแหวนให้แก่นางสีดาที่สวนขวัญในกรุงลงกา นางได้ได้รบกับหนุมาน และพ่ายแพ้ถูกหนุมานสังหารถึงแก่ความต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางลังกากินี · ดูเพิ่มเติม »

นางสำมนักขา

นางสำมนักขา (शूर्पणखा ศูรฺปณขา) เป็นตัวละครหนึ่งในมหากาพย์รามายณ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางสำมนักขา · ดูเพิ่มเติม »

นางสุพรรณมัจฉา

นางสุพรรณมัจฉา (ความหมาย: "ปลาทอง") เป็นตัวละครจากวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ อันเป็นธิดาของทศกัณฑ์ ที่ต่อมาได้ตกเป็นภรรยาคนหนึ่งของหนุมาน ทหารเอกของพระราม อันเป็นตัวเอกของวรรณคดีเรื่องดังกล่าว นางปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อครั้งที่พระรามให้หนุมานถมมหาสมุทรข้ามไปยังกรุงลงกา ทศกัณฑ์จึงให้นางสุพรรณมัจฉาและบริวารที่เป็นปลาลอบขนหินถมทะเลดังกล่าวไปทิ้ง หนุมานสงสัยจึงดำลงไปใต้ท้องทะเลจึงพบนางสุพรรณมัจฉา ภายหลังทั้งสองได้ร่วมรักกันและมีบุตรคือ มัจฉานุ ที่ตัวเป็นลิงมีหางเป็นปลา เช่นเดียวกับนางสีดา ที่มีบิดาเป็นยักษ์ แต่ก็มีรูปโฉมที่สวยงาม แม้นางสุพรรณมัจฉาจะเป็นตัวละครที่มีบทบาทไม่มากนัก แต่ก็เป็นที่กล่าวขานถึงรูปลักษณ์ที่งดงามที่ปรากฏตามจิตรกรรมฝาผนัง จนเป็นหนึ่งในนางในวรรณคดีที่มีชื่อเสียงนางหนึ่ง ทั้งนี้นางสุพรรณมัจฉาปรากฏอยู่ในรามายณะของภูมิภาคอุษาคเนย์บางประเทศเท่านั้น.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางสุพรรณมัจฉา · ดูเพิ่มเติม »

นางสีดา

นางสีดา จากการแสดง รามายณะ ที่ยอกจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งสีดาในรามายณะฉบับอินโดนีเซีย แต่งตัวด้วยการนำเอาใบหญ้ามาคลุมตัวหน้า 13 ประชาชื่น, ''''เยี่ยมบ้าน ส.พลายน้อย 88 ปี วันนี้...สบายดี "สนุกกับการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ในทะเลหนังสือ"'' โดย พนิดา สงวนเสรีวานิช. '''มติชน'''ปีที่ 40 ฉบับที่ 14318: วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 นางสีดา (Sita) เป็นตัวละครเอกจากเรื่องรามเกียรติ์ โดยเป็นบุตรสาวของทศกัณฐ์กับนางมณโฑ และเป็นอัครมเหสีของพระราม แต่ในรามายณะของอินเดียหลายฉบับบอกว่านางสีดาเป็นธิดาของพระภูมิเทวีหรือพระแม่ธรณี.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางสีดา · ดูเพิ่มเติม »

นางอากาศตะไล

อากาศตะไล หรือ นางสุรสา (Surasa) เป็นชื่อตัวละครในเรื่องรามายณะของอินเดียและรามเกียรติ์ของไทย ในเรื่องรามายณะของอินเดียเป็นเทวีซึ่งเป็นมารดาของเหล่านาคและดูแลมหาสมุทรก่อนถึงกรุงลงกาและเป็นสตรีหนึ่งในสามคนที่รักษากรุงลงกาได้แก่ นางสุรสา นางสิมหิกา และผีเสื้อสมุทร ในรามเกียรติ์ของไทย เป็นยักษิณีซึ่งเป็นเสื้อเมืองกรุงลงกา รักษาด่านทางอากาศ และเป็นหนึ่งในเจ็ดกองลาดตระเวนตรวจการกรุงลงกา เมื่อหนุมานมาถวายแหวนให้แก่นางสีดาที่สวนขวัญในกรุงลงกา อากาศตะไลได้รบกับหนุมาน และพ่ายแพ้ถูกหนุมานสังหารถึงแก่ความตาย (ชื่ออากาศตะไล เขียนตามบทพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑, ชื่ออังกาศตะไล เขียนตามบทพระราชนิพนธ์ เรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๒).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางอากาศตะไล · ดูเพิ่มเติม »

นางตรีชฎา

นางตรีชฎา เป็นตัวละครในวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นมารดาของนางเบญกาย และ เป็นภรรยาของพิเภก เมื่อพิเภกถูกทศกัณฐ์ขับออกจากเมือง นางตรีชฎาและนางเบญกายก็ถูกถอดยศ ไปเป็นข้ารับใช้ของนางสีดา ลักษณะของนางตรีชฎา กายและสีหน้าเป็นสีขาวนวล มี 1 พักตร์ 2 กร ทรงรัดเกล้ายอด หมวดหมู่:ตัวละครในรามเกียรติ์.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางตรีชฎา · ดูเพิ่มเติม »

นางโมหิณี

นางโมหิณี (मोहिनी) เป็นอวตารที่เป็นสตรีปางเดียวของพระวิษณุ นางโมหิณีได้รับการกล่าวถึงในระบบความเชื่อของฮินดูในมหากาพย์มหาภารตะซึ่งไปแย่งเอาน้ำอัมฤทธิ์กลับคืนจากพวกอสุราเพื่อคืนแก่เทพเทวา นอกจากนี้ยังมีตำนานเล่าขานอื่นอีก อาทิเช่น การแต่งงานกับพระศิวะและมีบุตรเป็นศัตรา (IAST Śāstā) รวมถึงการทำลายนนทกและกำเนิดหนุมานในเรื่องรามเกียรต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางโมหิณี · ดูเพิ่มเติม »

นางเบญกาย

นางเบญกาย เป็นตัวละครในวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นธิดาของพิเภก และเป็นหลานของทศกัณฐ์ ที่ต่อมาได้ตกเป็นภรรยาคนหนึ่งของหนุมาน (ตอนนี้ไม่ปรากฏในรามายณะ) นางปรากฏตัวในตอนนางลอย ที่ทศกัณฐ์ผู้เป็นลุงได้สั่งให้เธอแปลงกายนางสีดาแสร้งเป็นศพลอยน้ำไปยังค่ายของพระราม หวังที่จะทำให้พระรามหมดกำลังใจและถอนทัพกลับ แต่หนุมานได้เห็นพิรุธบางประการจึงทูลพระรามก่อนนำไปสู่การเปิดเผ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนางเบญกาย · ดูเพิ่มเติม »

นิราศ

นิราศ หมายถึง งานประพันธ์ประเภทหนึ่ง ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้น ได้แก่ โคลงหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยอยุธยา นิราศนั้น มักมีเนื้อหาในเชิงพรรณนาถึงการเดินทางเป็นหลัก มักจะเล่าถึงเส้นทาง การเดินทาง และบอกเล่าถึงสิ่งที่พบเห็นระหว่างการเดินทาง ขณะเดียวกัน มักจะสอดแทรกความคิด ความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางนั้น โดยมักจะเชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นกับความรู้สึกภายใน ผู้แต่งนิราศ มักจะใช้คำประพันธ์แบบร้อยกรองเป็นหลัก แต่นิราศที่แต่งด้วยร้อยแก้วก็มีอยู่บ้างเช่นกัน อนึ่ง คำว่า นิราศ มีความหมายตามตัวอักษรว่า จาก พราก ไปจาก ฯลฯ แต่นิราศอาจหมายถึงงานประพันธ์ที่พรรณนาถึงเหตุการณ์ตามลำดับ พร้อมทั้งแสดงอารมณ์ความรู้สึกที่เชื่อมโยงกับเหตุการณ์นั้นๆ โดยมิได้มีการเดินทาง หรือการพลัดพรากก็ได้ วรรณกรรมประเภทนิราศมักจะมีความยาวไม่มาก พรรณนาถึงสิ่งสวยงาม และความรู้สึกผูกพันที่มีต่อบุคคลที่ตนรัก และเนื่องจากกวีส่วนใหญ่เป็นชาย เนื้อหาในนิราศจึงมักจะพรรณนาถึงหญิงที่ตนรัก กระทั่งกลายเป็นขนบของการแต่งนิราศมาจวบจนปัจจุบัน ที่ผู้แต่งนิราศ มักจะผูกเรื่องราวของการคร่ำครวญถึงหญิงที่รัก ขณะที่เล่าถึงสิ่งที่ได้พบเห็นระหว่างการเดินทางด้ว.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนิราศ · ดูเพิ่มเติม »

นนทก

นนทก ในรามเกียรติ์ หรือ (Bhasmasura Praveen, Bhasmasur Praveen หรือ भस्मासुर) ในตำนานฮินดู เป็นตัวละครที่ได้รับพรจากพระศิวะมีนิ้ววิเศษชี้ไปที่ผู้ใดผู้นั้นต้องตาย สร้างความเดือนร้อนแก่เหล่าเทวดา พระวิษณุจำต้องแปลงเป็นนางโมหิณีมาล่อหลอกให้นนทกร่ายรำชี้นิ้วไปที่ตนเองจนถึงแก่ความตาย นนทกเป็นต้นกำเนิดของทศกัณฐ์ในรามเกียรต.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนนทก · ดูเพิ่มเติม »

นนทสูร

นนทสูร เป็นยักษ์ใน "รามเกียรติ์".

ใหม่!!: รามเกียรติ์และนนทสูร · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ 2001

แฟนพันธุ์แท้ 2001 เป็นรายการโทรทัศน์ไทย ผลิตโดย เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศ ทุกวันศุกร์ เวลา 22:20–23:30 นาฬิกา ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และแฟนพันธุ์แท้ 2001 · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ 2002

รายการแฟนพันธุ์แท้ในปี 2002 ได้มีการปรับเปลี่ยนโลโก้ของรายการใหม่ และปรับเปลี่ยนฉากใหม่ โดยเป็นธีมสีทองและสีเขียว ให้รู้สึกถึงความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น และได้ปรับเปลี่ยนกติกาให้เป็นต้นแบบของกติกาในปัจจุบัน คือ ได้ปรับเปลี่ยนเกมในรอบแรก จากเกมตีไฟตอบคำถาม เป็นเกม 3 วินาที โดยในปี 2002 นี้ มีรายการแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 35 เรื่อง เป็นเรื่องใหม่ 29 เรื่อง เรื่องเก่าที่นำมาจัดแข่งขันใหม่ 6 เรื่อง มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 31 ท่าน ตอบคำถามสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ผิด 5 ท่าน โดยในการชิงชัยสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2002 ได้มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ร่วมเข้าชิงชัยทั้งหมด 30 ท่าน และสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2002 ก็คือ สมมาตร ศรีสมาจารย์ สุดยอดแฟนพันธุ์แท้มอเตอร์ไซค์ นั่นเอง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และแฟนพันธุ์แท้ 2002 · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน (Fan Pan Tae Superfan) รายการเกมโชว์ของไทยจากเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดยกันต์ กันตถาวร ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 21.00 - 22.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ออกอากาศเทปแรกเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน · ดูเพิ่มเติม »

แสงอาทิตย์ (รามเกียรติ์)

แสงอาทิตย์ เป็นตัวละครฝ่ายอธรรมจากเรื่องรามเกียรติ์ โอรสองค์ที่สองของพญาขร เป็นน้องของมังกรกัณฐ์ มีแว่นแก้วสุรกานต์ที่พระพรหมประทานให้เป็นอาวุธ และได้ฝากเก็บไว้ที่พระพรหม หากใช้ส่องไปที่ใครจะทำให้ผู้นั้นถึงแก่ความตาย ทศกัณฐ์ใช้ให้แสงอาทิตย์ยกทัพออกไปรบกับพระราม พิเภกทูลพระรามว่าแสงอาทิตย์มีแว่นแก้วสุรกานต์เป็นอาวุธฝากไว้ที่พระพรหม พระรามจึงให้องคตแปลงกายเป็นแสงอาทิตย์ และให้พิเภกแปลงกายเป็นจิตรไพรี พี่เลี้ยงของแสงอาทิตย์ แล้วไปขอแว่นแก้วมาจากพระพรหม เมื่อแสงอาทิตย์สู้พระรามไม่ได้ จึงใช้ให้จิตรไพรีไปขอแว่นแก้วสุรกานต์จากพระพรหม พระพรหมจึงว่ามาเอาไปแล้วทำไมจึงมาขออีก จิตรไพรีรีบกลับมาบอกแสงอาทิตย์ แสงอาทิตย์รู้ตัวว่าหลงกลแล้วก็แข็งใจสู้กับพระรามและถูกศรพรหมมาศของพระรามตายกลางสนามร.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และแสงอาทิตย์ (รามเกียรติ์) · ดูเพิ่มเติม »

โมก

มก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Wrightia religiosa Benth.) เป็นดอกไม้ มีลักษณะดอกเป็นช่อสีขาว มี 3-5 กลีบ ใบมีขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เนื้อใบบางรูปรี หรือรูปหอกกว้าง 0.8-2.0 ทำการขยายพันธุ์โดยการปักชำ หรือ เพาะเมล็ด โมกยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ ปิดจงวา (เขมร สุรินทร์) โมกซ้อน (กลาง) โมกบ้าน (กลาง) และ หลักป่า (ระยอง)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโมก · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโขน · ดูเพิ่มเติม »

โขนชักรอก

โขนชักรอก เป็นวิวัฒนาการอีกขึ้นหนึ่งของการแสดงโขน ซึ่งไม่ค่อยมีผู้เขียนไว้เป็นหลักฐาน โขนชักรอกเป็นการแสดงที่ชักรอกตัวโขนให้ลอยขึ้นไปจากพื้นเวที มีทั้งแบบโขนฉากและโขนหน้าจอ ในเรื่องรามเกียรติ์มีบทบาทที่ต้องเหาะเหินเดินอากาศ โขนชักรอกที่แสดงแบบโขนฉากกำเนิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เนื่องจากมีพระราชอาคันตุกะเข้ามาเมืองไทยอยู่เป็นประจำ ทรงจัดให้มีการแสดงโขนรับรองพระราชอาคันตุกะเหล่านั้น ส่วนโขนชักรอกที่แสดงแบบโขนหน้าจอมีคณะเอกชนนำไปแสดง โขนชักรอกแบบการแสดงโขนหน้าจอไม่ค่อยเรียบร้อยและสวยงามเท่าโขนฉาก เพราะโรงโขนหน้าจอไม่มีโครงหลังคาด้านบนที่แข็งแกร่งรับสายรอก เวลาที่ชักรอกจึงเห็นลวดสลิงที่ผูกสายรอกห้อยยานลงมา หมวดหมู่:โขน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโขนชักรอก · ดูเพิ่มเติม »

โขนฉาก

โขนฉาก เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อมีผู้คิดสร้างฉากประกอบเรื่องเมื่อแสดงโขนบนเวที คล้ายกับละครดึกดำบรรพ์ ส่วนวิธีแสดงดำเนินเช่นเดียวกับโขนโรงใน แต่มีการแบ่งเป็นชุดเป็นตอน เป็นฉาก และจัดฉากประกอบตามท้องเรื่อง จึงมีการตัดต่อเรื่องใหม่ไม่ให้ย้อนไปย้อนมา เพื่อสะดวกในการจัดฉาก กรมศิลปากรได้ทำบทเป็นชุดๆ ไว้หลายชุด เช่น ชุดปราบกากนาสูร ชุดมัยราพณ์สะกดทัพ ชุดชุดนางลอย ชุดนาคบาศ ชุดพรหมาสตร์ ชุดศึกวิรุญจำบัง ชุดทำลายพิธีหุงน้ำทิพย์ ชุดสีดาลุยไฟและปราบบรรลัยกัลป์ ชุดหนุมานอาสา ชุดพระรามเดินดง ชุดพระรามครองเมือง การแสดงโขน โดยทั่วไปนิยมแสดงเรื่อง "รามเกียรติ์" กรมศิลปากรเคยจัดแสดงเรื่องอุณรุฑ แต่ไม่เป็นที่นิยมเท่าเรื่องรามเกียรติ์ เรื่องรามเกียรติ์ที่นำมาแสดงโขนนั้นมีหลายสำนวน ทั้งที่ประพันธ์ขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะบทในสมัยรัตนโกสินทร์ นิยมแสดงตามสำนวนของรัชกาลที่ ๒ ที่กรมศิลปากรปรับปรุงเป็นชุดเป็นตอน เพื่อแสดงโขนฉาก ก็เดินเรื่องตามสำนวนของรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๖ ก็เคยทรงพระราชนิพนธ์บทร้องและบทพากย์ไว้ถึง ๖ ชุด คือ ชุดสีดาหาย ชุดเผาลงกา ชุดพิเภกถูกขับ ชุดจองถนน ชุดประเดิมศึกลงกา และชุดนาคบาศ ข.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโขนฉาก · ดูเพิ่มเติม »

โคราฆปุระ

ตำแหน่งที่ตั้งเมืองโคราฆปุระในประเทศอินเดีย โคราฆปุระ (Gorakhpur, เทวนาครี: गोरखपुर, อูรดู: گۋڙکھ پور) เป็นเมืองหลวงของอำเภอโคราฆปุระในภาคตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ใกล้กับพรมแดนประเทศเนปาล โคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญและมีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน หรือศาสนาสิกข์ โดยชื่อเมืองในปัจจุบันเรียกตามชื่อ โยคีโคราฆชนาถ (Gorakshanath) บริเวณแคว้นนี้เป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอารยธรรมอารยันตามคัมภีร์พระเวท ผู้ปกครองดินแดนในบริเวณนี้ในอดีต คือ กษัตริย์ราชวงศ์ สุริยวงศ์ (Solar Dynasty) โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่อโยธยา กษัตริย์สุริยวงศ์นี้ได้ปกครองติดต่อกันอย่างยาวนาน โดยเฉพาะที่รู้จักกันดี คือ พระรามในเรื่อง รามเกียรติ์เป็นหนึ่งในกษัตริย์ราชวงศ์นี้ ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีเมืองนี้ เมืองสำคัญในขณะนั้นคือ เวสาลี โกสัมพี พาราณสี และราชคฤห์ ในขณะที่อโยธยากลายเป็นเมืองเล็ก แคว้นนี้ในสมัยพุทธกาลเป็นอาณาเขตของแคว้นโกศล (Kosala) พระพุทธเจ้าทรงถือครองเพศบรรพชิตที่ริมแม่น้ำในบริเวณใกล้ที่ตั้งเมืองในปัจจุบันนี้ ก่อนที่เสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ และพระมหาวีระศาสดาของศาสนาเชนได้เดินทางผ่านบริเวณนี้เช่นเดียวกัน ปัจจุบันเมืองโคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ อุตสาหกรรม และการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งของรัฐอุตตรประเท.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโคราฆปุระ · ดูเพิ่มเติม »

โคลงหริภุญชัย

ลงหริภุญชัย เดิมแต่งเป็นโคลงไทยเหนือ ต่อมามีผู้ถอดเป็นโคลงสี่สุภาพ สันนิษฐานว่ามีผู้แต่งคนหนึ่ง อาจชื่อหนานเจา เพราะพระยาราชสัมภารากร(เลื่อน สุรนันทน์) เขียนไว่ในฉบับคัดลอกว่า "น่าต้น โคลงหริภุญชัย เปนนิราศไปไหว้พระสุเทพ หนานเจาแต่ง แปรตามโวหาร ความเหน" แต่งไว้เป็นภาษาไทยเหนือ ต่อมามีผู้ถอดความออกเป็นภาษาไทยกลางอีกต่อหนึ่ง ผู้แต่งมีความมุ่งหมายเพื่อบรรยายความรู้สึกที่ต้องจากหญิงที่รักไปนมัสการพระธาตุหริภุญชัย ส่วนผู้ถอดโคลงนี้เป็นภาษาไทยกลางแต่ไม่ปรากฏชื่อคงมีความประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญองค์ใดองค์หนึ่งอ.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และโคลงหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

ไชยามพวาน

มพวาน หรือ ไชยามพวาร เป็นหนึ่งในเทวดา 18 องค์ที่อาสาอวตารลงมาเป็นวานรสิบแปดมงกุฎทหารเอกของพระราม (หัวโขนของวานรสิบแปดมงกุฎจะมีวงกลมสีเหลือทองหรือมงกุฎครอบอยู่) เทวดาผู้อวตารลงมาเป็นไชยามพวาน คือ พระอีศาณหรือพระวิศาลเทวบุตร แบ่งภาคลงมา ในทัพเมืองขีดขินของสุครีพ ไชยามพวานได้รับพรจากพระอิศวรให้เป็นผู้ถือธงชัยนำกองทัพ เพราะมีนามเป็นมงคลข่มศัตรู เมื่อเสร็จศึกได้รับการแต่งตั้งเป็นเสนาฝ่ายขวาเมืองขีดขิน.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และไชยามพวาน · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราพ

มยราพ เป็นตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ พญายักษ์เจ้าแห่งเมืองบาดาล กายสีม่วงอ่อน มงกุฏยอดกระหนก ปากขบ นัยน์ตาจระเข้ มีเวทมนตร์สะกดทัพ และเครื่องสรรพยาเป่ากล้องล่องหนเป็นอาวุธ ในต้นฉบับภาษาสันสกฤตชื่อว่า อหิรภัณ อหิรภณะ ไมยราพเป็นยักษ์ที่มีนิสัยดุร้ายเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และไมยราพ · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราพและไมยราบ (แก้ความกำกวม)

มยราพ และ ไมยราบ หมายถึง.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และไมยราพและไมยราบ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ไยบะ เจ้าหนูซามูไร

ป็นเรื่องเกี่ยวกับการต่อสู้แนวเคนโด้และซามุไรของญี่ปุ่นที่วาดขึ้นโดย อาโอยาม่า โกโช ผู้วาดเรื่องยอดนักสืบจิ๋วโคนันมีทั้งแบบ มังงะ และ อะนิเม.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และไยบะ เจ้าหนูซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เกด

กด หรือ ราชายตนะ เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชื่อเกดปรากฏในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนและรามเกียรติ์ (เรื่องหลังเป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1) ในพุทธประวัติ ต้นราชายตนะเป็นที่ประทับในสัปดาห์ที่ 7 หลังจากการตรัสรู้.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเกด · ดูเพิ่มเติม »

เมขลา

นางมณีเมขลากับรามสูร เมขลา หรือ มณีเมขลา เป็นเทพธิดาประจำมหาสมุทร และเป็นนางผู้ถือดวงแก้วล่อให้รามสูรขว้างขวานจนทำให้เกิดฟ้าร้อง แต่นางก็โยนแก้วล่อไปล่อมาทำให้เกิดฟ้าแลบแสบตา ทั้งนี้จาตุมหาราชิกาได้มอบหมายให้คอยช่วยเหลือผู้มีบุญญาที่ตกน้ำ โดยปรากฏในชาดกเรื่อง "พระมหาชนก" ซึ่งเมขลาเข้าช่วยเหลือเจ้าชายมหาชนกจากเรืออัปปางAnne Elizabeth Monius.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเมขลา · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงมัจฉาณุ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเรือหลวงมัจฉาณุ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงวิรุณ

right เรือหลวงวิรุณ (HTMS Wirun) เป็นเรือดำน้ำประจำกองทัพเรือไทย เป็นประเภทเรือดำน้ำรักษาฝั่ง ขนาดเล็ก (ระวางขับน้ำต่ำกว่า 500 ตัน) ประกอบขึ้นที่อู่ต่อเรือบริษัทมิตซูบิชิ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกันจำนวน 4 ลำ พร้อมกับ เรือหลวงมัจฉาณุ เรือหลวงสินสมุทร และเรือหลวงพลายชุมพล ชื่อเรือหลวงวิรุณ เป็นชื่อพระราชทาน มา ณ วันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเรือหลวงวิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ศุขพิมาย

กสรรค์ ศุขพิมาย หรือ เสก โลโซ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2517 เป็นนักร้อง, นักดนตรี, นักแต่งเพลงชาวไทย จังหวัดนครราชสีมา เป็นอดีตนักร้องนำวงโลโซ ก่อนที่ต่อมาจะแยกตัวออกมาเป็นศิลปินเดี่ยว.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเสกสรรค์ ศุขพิมาย · ดูเพิ่มเติม »

เขาวงพระจันทร์

ตำนานของยักษ์ไปอย่างไรมาอย่างไรจึงเล่ากันว่า มาสถิตอยู่บนถ้ำยอดเขาวงพระจันทร์นี้ และตามตำนานว่า ยักษ์ที่ว่านี้คือ ท้าว"กกขนาก" ยักษ์ตนสุดท้ายที่ไม่ยอมแพ้พระรามที่อยู่ในเรื่องรามเกียรติ์ จึงถูกพระรามแผลงศร โดนยักษ์กระเด็นลอยละลิ่วข้ามมหาสมุทรอินเดียมาตกที่ยอดเขาลูกนี้ แล้วพระรามก็สาปให้ศรปักอกเอาไว้หากวันใดที่ศรเขยื้อนให้หนุมานลูกพระพาย(ลูกลม ถ้าตายเมื่อต้องลมพัดผ่าน จะกลับฟื้นคืนชีพ หนุมานจึงไม่รู้จักตาย) เอาค้อนมาตอกย้ำลูกศร ให้ปักอกไว้เช่นเดิม แต่ยักษ์โดนเข้าขนาดนี้ก็ยังไม่ตายนอนรอความตาย ฝ่ายนางนงประจันทร์ลูกสาวยักษ์ก็เหาะตามพ่อมา เพื่อปฏิบัติพ่อ เพราะพ่อยังไม่ตาย นอนอยู่ในถ้ำยอดเขานางพระจันทร์นี้และนางทราบว่าหากได้น้ำส้มสายชูมารดที่โคนศรแล้วศรจะเขยื้อนหลุดออกมาได้ แต่หากศรเขยื้อน ไก่แก้วก็จะขันเรียกหนุมานเอาค้อนมาตอกศร เมื่อนางนงประจันทร์ช่วยพ่อยักษ์ไม่ได้ ก็ตรอมใจตาย ฝ่ายยักษ์กกขนากเมื่อลูกสาวตายก็เลยตายตามไปด้วย จากตำนานนี้จึงเรียกเขาลูกนี้ว่า เขานงประจันต์หรือนางพระจันทร์ ตำนานนี้เป็นผลให้ลพบุรีไม่มีน้ำส้มสายชูขายมานาน ต่อมาเมื่อปี..

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเขาวงพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปาวนาสูร

ปาวนาสูร มโหทร (ซ้าย) และเปาวนาสูร (ขวา) เปาวนาสูร เป็นยักษ์สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ มีบทบาทเคียงข้างทศกัณฐ์เจ้ากรุงลงกาอยู่เสมอ เช่นเดียวกับมโหทร เป็นยักษ์ชั้นเสนาบดีแห่งลงกา มีกายสีขาว มี 1 หน้า 2 มือ และมีลักษณะหัวโขน หน้ายักษ์สีขาว ปากแสยะตาโพลง บางแห่งว่าปากขบตาจระเข้ สวมมงกุฎน้ำเต้าเฟือง หัวโขนอีกแบบหนึ่งทำเป็นหัวโล้น สวมกระบังหน้า มงกุฏน้ำเต้ากลม.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และเปาวนาสูร · ดูเพิ่มเติม »

18

18 (สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 17 (สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 19 (สิบเก้า).

ใหม่!!: รามเกียรติ์และ18 · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รามเกียรติ์และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รามเกียรติบทร้อง และบทพากย์รามเกียรติ์ในรัชกาลที่ 6

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »