โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาสมุทรแปซิฟิก

ดัชนี มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

866 ความสัมพันธ์: บรอบ์ดิงแนกบริสเบนบลุปบลูมเบิร์กเทเลวิชันบอราบอราบักส์ บันนีบัลปาราอิโซบิกีนีอะทอลล์ชิงาซากิช่องแคบบุงโงะช่องแคบมาเจลลันช่องแคบสึงะรุช่องแคบเบริงช่องแคบเกาหลีช่องแคบเดรกฟรานซิส เดรกฟาการาวาฟาร์คราย 3ฟืร์นังดู ปือไรราฟุตบอลทีมชาติตาฮีตีฟีนิกซ์ อิคคิพ.ศ. 1799พ.ศ. 2223พ.ศ. 2413พ.ศ. 2414พ.ศ. 2457พ.ศ. 2502พ.ศ. 2533พ.ศ. 2544พ.ศ. 2549พ.ศ. 2554พ.ศ. 2561พ.ศ. 2565พ.ศ. 2566พ.ศ. 2567พ.ศ. 2568พริกขี้หนูกับหมูแฮมพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พฤษภาคม พ.ศ. 2549พอลินีเชียพายุหมุนเขตร้อนพายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547)พายุไต้ฝุ่นนีนาพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกังพืดหินปะการังกรอซากระรอกบินไซบีเรียกระปรอดเล็กกระแสน้ำกินี...กระแสน้ำญี่ปุ่นกระแสน้ำศูนย์สูตรเหนือกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลางกลุ่มภาษาปาปัวกลุ่มเกาะบิสมาร์กกลุ่มเกาะมลายูกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์กวมกองทัพเรือสหรัฐกะตังใบกัวยากิลกัวดัลคะแนลการสลับขั้วแม่เหล็กโลกการทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488การทัพหมู่เกาะโซโลมอนการทารุณเด็กทางเพศการทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกาการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนการตีโฉบฉวยดูลิตเติลการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคการเดินทางของพาย พาเทลกิ่งจังหวัดอิบุริกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551กุหลาบโตเกียวกุ้งมังกรเจ็ดสีก่อนฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลกฝันอเมริกันฝ่ายอักษะภาษาฝรั่งเศสภาษาสเปนภูมิศาสตร์ไต้หวันภูมิศาสตร์เอเชียภูมิอากาศไทยภูเขาใต้ทะเลภูเขาไฟเมานาเคอามรสุมมรดกโลกมหาสมุทรมหาสมุทรอินเดียมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรใต้มะยมมะสึซะกะมิดเวย์อะทอลล์มินะมิโบโซมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ม้าน้ำหนามขอม้าน้ำแคระยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ยุทธนาวีที่มิดเวย์ยุคน้ำแข็งยุคแห่งการสำรวจยุคโจมงยูโรยูเอสเอส อินเดียแนโพลิสรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์รัฐวอชิงตันรัฐวาฮาการัฐออริกอนรัฐอะแลสการัฐฮาลิสโกรัฐฮาวายรัฐนายาริตรัฐเชียปัสรัฐเกร์เรโรราชวงศ์รายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์รายชื่อสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโตเกียวรายชื่อทะเลรายชื่อตัวละครในเซนต์เซย์ย่ารายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทรรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรรายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่นรายการสถิติพายุหมุนเขตร้อนราอีอาเตอาริชาร์ด นิกสันริชาร์ด แบรนสันร่องลึกก้นสมุทรร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2482ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2495ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2500ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2501ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2502ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2503ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2504ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2505ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2506ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2507ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2508ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2509ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2510ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2511ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2512ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2558–2559ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559ลมฟ้าอากาศสุดโต่งลองบีช (รัฐแคลิฟอร์เนีย)ลิมาลูกบาศก์เมตรลูลูงาวัฒนธรรมวัฒนธรรมแลพีตาวาลิสและฟูตูนาวาฬสีน้ำเงินวิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561วิวัฒนาการวีตีเลวูวงศ์ย่อยงูโบอาวงศ์ปลากระเบนนกวงศ์ปลากะพงขาววงศ์ปลากะพงแดงวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวาวงศ์ปลาลิ้นเสือวงศ์ปลาวัวจมูกยาววงศ์ปลาสากวงศ์ปลาสามรสวงศ์ปลาสินสมุทรวงศ์ปลาหางแข็งวงศ์ปลาหูช้างวงศ์ปลาผีเสื้อวงศ์ปลาข้างตะเภาวงศ์ปลาดาบลาววงศ์ปลาดุกทะเลวงศ์ปลาตั๊กแตนหินวงศ์ปลาตาเหลือกวงศ์ปลาตูหนาวงศ์ปลาปักเป้ากล่องวงศ์ปลาปากแตรวงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล)วงศ์ปูว่ายน้ำวงแหวนไฟว่านพระฉิมศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมสกุลเข็ม (กล้วยไม้)สมัยไพลสโตซีนสมเด็จพระราชินีนาถโปมาเรที่ 4 แห่งตาฮีตีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสหรัฐสะพานพระราม 6สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สาธารณรัฐมิเนอร์วาสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์สาธารณรัฐเทกซัสสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสิงหาคม พ.ศ. 2548สิงคโปร์แอร์ไลน์สุริยุปราคา 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553สุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559สถาบันเอเชียโซไซตีสคัวขั้วโลกใต้สคิวล่า อิโอสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก (ค.ศ. 1879–1884)สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามแปซิฟิกสงครามแปซิฟิก (แก้ความกำกวม)สงครามโลกครั้งที่สองสเกลพายุหมุนเขตร้อนสเปรย์ละอองลอยหญ้าชะเงาหญ้าใบมะกรูดขนหญ้าใต้ใบหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวันหมากสงหมึกกล้วยหมึกหอมหมึกฮัมโบลต์หมึกแคระหมู่เกาะพิตแคร์นหมู่เกาะกาลาปาโกสหมู่เกาะกิลเบิร์ตหมู่เกาะญี่ปุ่นหมู่เกาะมาร์เคซัสหมู่เกาะมาเรียนาหมู่เกาะรีวกีวหมู่เกาะลีเวิร์ด (หมู่เกาะโซไซเอตี)หมู่เกาะวินด์เวิร์ดหมู่เกาะอะลูเชียนหมู่เกาะฮาวายหมู่เกาะดอนเตรแคสโตหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซหมู่เกาะคุกหมู่เกาะซาโลมอนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาหมู่เกาะแชทัมหมู่เกาะแปซิฟิกหมู่เกาะโซโลมอนหมู่เกาะโซไซเอตีหมู่เกาะเบาน์ตีหมู่เกาะเรบียาคีเคโดหมู่เกาะเซ็งกะกุหยีน้ำหอยกูอีดั๊กหอยสังข์หนามเล็กหอยเบี้ยจักจั่นหอดูดาวกริฟฟิทหุบผาชันใต้ทะเลออสตราเลเซียอะมีเลีย แอร์ฮาร์ตอะทอลล์อากาปุลโกอาวารัวอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าอาตาฟูอาโลฟีอาเนตยูมอิชิโนะมะกิอิกัวนาฟีจีอิกิเกอิวะกิ (เมือง)อิวะนุมะอิสราเอล คามาคาวิโวโอเลอินเตอร์สเตต 10อินเตอร์สเตต 5อินเตอร์สเตต 8อุทยานแห่งชาติเกลเชอร์อุทยานแห่งชาติเขาสกอ่าวอิเซะอ่าวซุรุงะอ่าวปานามาอ่าวไทยอเมริกันอันตรายอเลสซานโดร มาลาสปินาฮะมะมะสึฮิตะชิ (เมือง)ผักเหมียงผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจระเข้อเมริกาจอห์นสตันอะทอลล์จักรวรรดิบริติชจักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิตูอีโตงาจักรวรรดินิยมในเอเชียจังหวัดบาเยเดลเกากาจังหวัดชิบะจังหวัดชิซูโอกะจังหวัดลิมาจังหวัดอาโอโมริจังหวัดอิวาเตะจังหวัดซีลางังดาเบาจังหวัดปาปัวจังหวัดเฮียวโงะจังหวัดเซลันด์จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561จิกเลจูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลายธรณีวิทยาทางทะเลธงชาติชิลีธงชาติกัวเตมาลาธงชาติวานูอาตูธงชาติหมู่เกาะคุกธงชาติคิริบาสธงชาติปาเลาธงชาตินาอูรูธงชาติไมโครนีเซียธงหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาธนาคารพัฒนาเอเชียถั่วผีทะเลทรายดำทวีปอเมริกาทวีปอเมริกาใต้ทวีปซีแลนเดียทวีปเอเชียทะเลทะเลบาหลีทะเลบิสมาร์กทะเลฟิลิปปินทะเลญี่ปุ่นทะเลสาบคะซุมิงะอุระทะเลสาบโทะวะดะทะเลจีนใต้ทะเลทรายอาตากามาทะเลคอรัลทะเลแทสมันทะเลโอค็อตสค์ทะเลเบริงทะเลเซโตะในทะเลเซเลบีสทะเตะยะมะทากิฟูงุทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียทางหลวงทางหลวงสหรัฐหมายเลข 20ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554ทุเรียนที่สุดในโลกขยุ้มตีนหมาขอบแปซิฟิกดักลาส แมกอาเธอร์ดาวทะเลดาวทะเลพระราชาดาวซิริอุสดิอะเมซิ่งเรซ 12ดิอะเมซิ่งเรซ 13ดิอะเมซิ่งเรซ 14ดินแดนของสหรัฐอเมริกาดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนดินแดนเสรีตรีเยสเตคริสต์ทศวรรษ 2020คลองสำโรงคลองปานามาคลองเดินเรือสมุทรคลื่นสึนามิความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ความตกลงฉันทไมตรีความแพร่หลายของภาษาสเปนคอสไรคอคอดคอคอดปานามาคะมิกะเซะคันไซคาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียคาบสมุทรอะแลสกาคาบสมุทรอิซุคาบสมุทรคัมชัตคาคาบสมุทรคิอิคาบสมุทรโบโซคาบสมุทรโอชิกะคาบสมุทรเกาหลีคาร์ลสแบด (รัฐแคลิฟอร์เนีย)คาวาคิริสมาสคธูลูงูทะเลงูทะเลเอราบุงูแสมรังตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีตราแผ่นดินของคอสตาริกาตะวันออกไกลตัลกาอัวโนตาราวาตาฮีตีตุลาคม พ.ศ. 2548ตูอาโมตัสซาคาจาเวียซานฟรานซิสโกซาไวอีซีกโลกเหนือซีฮอร์ส ไบอันซีแอตเทิลปฏิบัติการเท็งโงประวัติการบินไทยประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์สเปนประดู่บ้านประเทศชิลีประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟีจีประเทศกัวเตมาลาประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศรัสเซียประเทศวานูอาตูประเทศสเปนประเทศออสเตรเลียประเทศอินโดนีเซียประเทศฮอนดูรัสประเทศจีนประเทศคอสตาริกาประเทศคิริบาสประเทศตองงาประเทศตูวาลูประเทศซามัวประเทศปาปัวนิวกินีประเทศปานามาประเทศปาเลาประเทศนอร์เวย์ประเทศนาอูรูประเทศนิการากัวประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแคนาดาประเทศโคลอมเบียประเทศไมโครนีเซียประเทศไต้หวันประเทศเม็กซิโกประเทศเอกวาดอร์ประเทศเปรูปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬปริศนามหาขุมทรัพย์โจรสลัดปรงปรงไข่ปลาบู่ยามปลาบู่เกาะสุรินทร์ปลากบปลากระบอกเทาปลากระโทงร่มปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิกปลากระเบนหัวแหลมปลากระเบนหางแส้ปลากระเบนจุดฟ้าปลากระเบนค้างคาวปลากระเบนไฟฟ้าปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิกปลากะพงข้างปานปลากะพงดำปลากะมงพร้าวปลาการ์ตูนมะเขือเทศปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำปลาการ์ตูนลายปล้องปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพูปลาการ์ตูนเพอร์คูล่าปลากุแลปลากดหัวกบปลาย่าดุกปลาสละปลาสากใหญ่ปลาสินสมุทรจักรพรรดิปลาสีขนปลาหมอทะเลปลาหมอทะเล (สกุล)ปลาหางแข็งปลาออร์ปลาอินทรีทะเลสาบเขมรปลาผีเสื้อนกกระจิบปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ปลาจิ้มฟันจระเข้เขียวปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือปลาทูน่าเขี้ยวหมาปลาตะกรับห้าแถบปลาตะคองปลาตาเหลือกปลาฉลามหลังหนามหนามสั้นปลาฉลามครีบขาวปลาฉลามครีบเงินปลาฉลามแซลมอนปลาฉลามเสือปลาฉลามเสือดาวปลาฉนากฟันเล็กปลาฉนากเขียวปลาปักเป้าหน้าหมาปลาปากแตรปลานโปเลียนปลาแพะเหลืองปลาแซลมอนชินูกปลาแซลมอนซ็อกอายปลาแซลมอนแปซิฟิกปลาโรนันหัวเสียมปลาโรนันจุดขาวปลาโนรีครีบสั้นปลาไหลญี่ปุ่นปลาไหลมอเรย์ตาขาวปลาไหลริบบิ้นปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์ปลาเรนโบว์เทราต์ปลาเขี้ยวก้างปลาเฉลียบปาตาโกเนียปานามาซิตีปาเปเอเตปูก้ามดาบปูมะพร้าวปูอัดนกร่อนทะเลหางแดงนกอัญชันคิ้วขาวนกอัลบาทรอสคิ้วดำนกจมูกหลอดลายนกนางนวลแกลบหงอนใหญ่นกแก้วคาคาโปนักล่า-เก็บของป่านากทะเลนาริตะนาโงยะนิกกีและเปาลูนิวแคลิโดเนียนีวเวน้ำตาลปี๊บน้ำแม่กกน้ำแม่ลาวแบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยนแพลไมราอะทอลล์แพขยะใหญ่แปซิฟิกแมวน้ำมีหูแมงกะพรุนแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิกแมงดาญี่ปุ่นแมงดาจานแม่น้ำอิชิกะริแม่น้ำงาวแม่น้ำโทะเนะแม่น้ำโคลัมเบียแยปแอ่งพายุหมุนเขตร้อนแฮ็กฟิชแผนที่โลกแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในอิยาเปล พ.ศ. 2558แผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557แผ่นดินไหวในจังหวัดมิยะงิ พ.ศ. 2554แผ่นแปซิฟิกแคว้นอังกัชแคว้นอาเรกีปาแคว้นโกกิมโบแคสเซิลบราโวแซนตามอนิกา (รัฐแคลิฟอร์เนีย)แปซิฟิก-เทนแปซิฟิค ริม สงครามอสูรเหล็กโบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์โกกิมโบโมะบะระโมโอเรอาโยฮันน์ ไรน์โฮลด์ ฟอร์สเตอร์โยโกซูกะโรบินสัน ครูโซโรงเรียนอัสสัมชัญโรเบิร์ต หลุยส์ สตีเวนสันโลก (ดาวเคราะห์)โลกาภิวัตน์โลมาอิรวดีโสร่งโอะมะเอะซะกิโอดาวาระโอเชียเนียโจรสลัดโทโฮกุโทไกโทเคอเลาโดราเอมอนโตเกียวโซโลมอน (แก้ความกำกวม)ไฮดาไกวไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ไข้ซิกาไต้ฝุ่นไซบีเรียเบนจามิน แฮร์ริสันเฟรนช์พอลินีเชียเฟอร์ดินานด์ มาเจลลันเพบเบิลบีชเพนกวินฮัมโบลต์เกาะบอลส์พีระมิดเกาะชัวเซิลเกาะบานาบาเกาะชิโกกุเกาะบูเกนวิลล์เกาะกลีแปร์ตอนเกาะอีสเตอร์เกาะอีซาเบลา (กาลาปาโกส)เกาะฮาวแลนด์เกาะจาร์วิสเกาะซาฮาลินเกาะปริ่มน้ำเกาะนอร์ฟอล์กเกาะแคโรไลน์เกาะโอกินาวะเกาะไซปันเกาะเบเกอร์เกาะเลย์เตเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกาเกาะเวกเมลานีเซียเม็กกาโลดอนเรือหลวงวอร์สไปท์ (03)เรือดำน้ำในอาเซียนเรือประจัญบานชั้นยะมะโตะเรือประจัญบานมุซาชิเวลาในประเทศชิลีเสียงเรียกของคธูลูเส้นขนานที่ 10 องศาใต้เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือเส้นขนานที่ 15 องศาใต้เส้นขนานที่ 15 องศาเหนือเส้นขนานที่ 20 องศาใต้เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นขนานที่ 25 องศาใต้เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือเส้นขนานที่ 30 องศาใต้เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือเส้นขนานที่ 31 องศาเหนือเส้นขนานที่ 35 องศาใต้เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือเส้นขนานที่ 40 องศาใต้เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือเส้นขนานที่ 43 องศาใต้เส้นขนานที่ 44 องศาใต้เส้นขนานที่ 45 องศาใต้เส้นขนานที่ 46 องศาใต้เส้นขนานที่ 47 องศาใต้เส้นขนานที่ 48 องศาใต้เส้นขนานที่ 49 องศาใต้เส้นขนานที่ 5 องศาใต้เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือเส้นขนานที่ 50 องศาใต้เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือเส้นขนานที่ 55 องศาใต้เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือเส้นขนานที่ 56 องศาใต้เส้นขนานที่ 57 องศาใต้เส้นขนานที่ 58 องศาใต้เส้นขนานที่ 59 องศาใต้เส้นขนานที่ 60 องศาใต้เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 61 องศาใต้เส้นขนานที่ 62 องศาใต้เส้นขนานที่ 63 องศาใต้เส้นขนานที่ 64 องศาใต้เส้นขนานที่ 65 องศาใต้เส้นขนานที่ 66 องศาใต้เส้นขนานที่ 70 องศาใต้เส้นนัซกาเส้นแบ่งเขตวันสากลเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 106 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 94 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันตกเหยี่ยวออสเปรเอมีลีโอ อากีนัลโดเอลนีโญเอลเซท 127 กรัฟ เซพเพลินเออัวเอปตาเซียเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียแปซิฟิกเผือกเจมส์ คุกเจงกีส ข่านเทพลิขิตเทาเทาโมนาเทือกเขาเกรตดิไวดิงเทียนจินเท้ายายม่อม (พืช)เขายอดราบใต้สมุทรเขตอิทธิพลเขตคารากาเขตเบอไลต์เข็มขัดไทเฮโยเดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตายเตยทะเลเต่ายักษ์กาลาปาโกสเต่าหญ้าเต่าหัวค้อนเต่าตนุเฉลิมเกียรติ วัฒนางกูรเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)เซอร์ไวเวอร์ มาร์เคซัสเซอร์ไวเวอร์ คุกไอส์แลนด์สเซ็นไดKola Superdeep BoreholeTabernaemontana1 พฤศจิกายน1 มีนาคม1 E+14 m²15 สิงหาคม2 กรกฎาคม2 เมษายน2012 วันสิ้นโลก23 มีนาคม26 มกราคม28 มกราคม3 ตุลาคม4 มิถุนายน ขยายดัชนี (816 มากกว่า) »

บรอบ์ดิงแนก

รอบ์ดิงแนก (อังกฤษ: Brobdingnag) เป็นดินแดนสมมติของ กัลลิเวอร์ผจญภัย แต่งโดย โจนาธาน สวิฟต์ ประเทศของยักษ์ เลอมูเอล กัลลิเวอร์ ค้นพบมัน หลังจากที่เรือของเขาพลิกคว่ำลง และได้ผจญภัยในดินแดนประหลาดแห่งนี้ คำว่า บรอบ์ดิงแนกเกียน (ชาวบรอบ์ดิงแนก) มีความหมายที่บรรยายถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มาก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบรอบ์ดิงแนก · ดูเพิ่มเติม »

บริสเบน

ริสเบน (Brisbane) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดของรัฐควีนส์แลนด์ประเทศออสเตรเลีย อีกทั้งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 3 ของประเทศออสเตรเลีย มีจำนวนประชากรเกือบ 2.2 ล้านคน โดยถ้ารวมทั้งรัฐควีนสแลนด์แล้วจะมีมากกว่า 4.5 ล้านคน บริสเบนเป็นเมืองที่อยู่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก และมีแม่น้ำบริสเบน (Brisbane River) ไหลผ่านบนที่ราบระหว่างมอร์ทันเบย์ (Moreton Bay) กับเทือกเขาเกรตดิไวดิง (Great Dividing Range) ส่วนชื่อเมืองตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์โทมัส บริสเบน (Sir Thomas Brisbane).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบริสเบน · ดูเพิ่มเติม »

บลุป

กราฟเสียงของบลุป บลุป (Bloop) เป็นชื่อเรียกของเสียงความถี่ต่ำมากใต้มหาสมุทรซึ่ง องค์การสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration หรือ NOAA) ของสหรัฐอเมริกาสามารถตรวจจับได้ในช่วงฤดูร้อนของ พ.ศ. 2540 ต้นกำเนิดของบลุปยังเป็นปริศน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบลุป · ดูเพิ่มเติม »

บลูมเบิร์กเทเลวิชัน

ลูมเบิร์ก เทเลวิชัน (Bloomberg Television) เป็นช่องรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในหลายประเทศทั่วโลก โดยช่องรายการนี้ออกอากาศรายการเกี่ยวกับธุรกิจและการเงินตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน โดยช่องข่าวนี้เป็นที่รู้จักกันในรูปแบบของการจัดข้อมูลทางหน้าจอโทรทัศน์ ที่ข้อมูลด้านการตลาดมีสัดส่วนมากกว่าวิดีโอ ช่องรายการนี้ยังเป็นช่องรายการแรกที่ออกอากาศผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการรับชม โดยผู้ที่เป็นเจ้าของช่องรายการนี้ คือ Bloomberg L.P. มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ นิวยอร์ก ซิตี้ โดยในประเทศไทย สามารถรับชมได้ผ่านทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 783 เฉพาะแพ็กเกจแพลทินัม เอชดี โกลด์ เอชดี ซูเปอร์แฟมิลี่ เอชดี และสมาร์ท แฟมิลี่ เอชดีเท่านั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบลูมเบิร์กเทเลวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

บอราบอรา

right โบราโบร่า (Bora Bora); โบรา-โบร่า (Bora-Bora) หรือ ปอราปอรา (ตาฮีตี: Porapora) เป็นเกาะแห่งหนึ่งของหมู่เกาะโซไซเอตีในเฟรนช์โปลินีเซีย ดินแดนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ลักษณะเป็นเกาะที่ปกคลุมไปด้วยป่าเขตร้อน มีซากภูเขาไฟหลายลูก พื้นทะเลนิ่งเพราะมีเทือกปะการังล้อมรอบเกาะ และมีหาดทรายที่สวยงาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบอราบอรา · ดูเพิ่มเติม »

บักส์ บันนี

ักส์ บันนี ของ ลูนีทูนส์ ในตอน "แรบบิต ทรานซิต" บักส์ บันนี บนแสตมป์ของสหรัฐอเมริกา บักส์ บันนี (Bugs Bunny) เป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ และเดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ ซึ่งการ์ตูนซีรีส์เป็นตอน ๆ และเป็นตัวการ์ตูนที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก บักส์บอกว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ที่ย่านบรูกลิน ในนครนิวยอร์ก แต่เสียงของ เมล แบลงก์ ซึ่งพากย์เสียงของ บักส์ บันนี เป็นสำเนียงลูกผสมระหว่างคนย่านบรองซ์กับบรูกลิน บักส์เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นคู่แค้นกับ เอลเมอร์ ฟัดด์ โยเซมิตี แซม มาร์วิน มาร์เชียนแม้กระทั่ง ไวลี อี. ไคโยตี (ซึ่งโดยปกติแล้วจะไล่ล่า โรด รันเนอร์) (แต่ใน เดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ พวกเขาเป็นเพื่อนของบักส์) ทุกครั้งที่มีเรื่องมีราวกัน บักส์จะลงเอยเป็นผู้ชนะเสมอ โดยเฉพาะตอนที่กำกับโดย ชัคก์ โจนส์ ผู้ซึ่งชอบจับคู่ชน ระหว่าง "ผู้ชนะ" กับ "ผู้แพ้" เนื่องจากโจนส์เป็นห่วงว่า ในที่สุดผู้ชมจะหมดความเห็นอกเห็นใจให้กับ บักส์ ซึ่งเป็นผู้ชนะตลอด (โดยปกติ ผู้ชนะมักจะเป็นฝ่ายที่ก้าวร้าวกว่า) โจนส์จึงได้วางเนื้อเรื่องให้บักส์นั้นถูกรังแก ถูกล่อลวง และถูกข่มขู่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากอีกฝ่ายที่มีเรื่องกันเสมอ หลังจากถูกหาเรื่อง (ปกติแล้วจะเกิดขึ้น 3 ครั้ง) บักส์ก็จะพูดว่า "Of course, you realize this means war" (แน่นอน คุณก็เห็นว่านี่คือสงคราม) เป็นคำพูดที่โจนส์เอามาจาก เกราโช มาร์กซ และผู้ชมก็จะไม่ว่าอะไร ในลักษณะเป็นเชิงให้อนุญาตให้บักส์นั้น เริ่มใช้ความรุนแรงตอบโต้ได้ แต่ในตอนที่บักส์ พบกับตัวการ์ตูนที่เป็น "ผู้ชนะ" เหมือนกัน เช่น ซิซิล เดอะ เทอเทิล ใน Tortoise Beats Hare (กระต่ายกับเต่า) หรือใน WWII (สงครามโลกครั้งที่สอง) the Gremlin of Falling Hare บักส์มักจะเสียสถิติในการเป็นผู้ชนะ เนื่องจากความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบักส์ บันนี · ดูเพิ่มเติม »

บัลปาราอิโซ

ัลปาราอิโซ (Valparaíso, "หุบเขาสวรรค์") เป็นหนึ่งในเมืองท่าที่สำคัญที่สุดและศูนย์กลางวัฒนธรรมที่เริ่มมีชีวิตชีวาขึ้นเรื่อย ๆ ของประเทศชิลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ เป็นเมืองหลักของแคว้นบัลปาราอิโซ โดยในขณะที่ซานเตียโกเป็นเมืองหลวงของประเทศนั้น บัลปาราอิโซก็มีความสำคัญในฐานะเป็นที่ตั้งรัฐสภา ซึ่งเมืองนี้ก็เช่นเดียวกับเมืองอื่น ๆ ในชิลีที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวครั้งใหญ่เกิดขึ้นล่าสุดในปี ค.ศ. 1906 ได้ทำลายตัวเมืองและคร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 20,000 ราย ในปี ค.ศ. 2003 รัฐสภาชิลีได้มีมติประกาศให้บัลปาราอิโซเป็น "เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของชิลี" และเป็นที่ตั้งของสำนักงานกระทรวงวัฒนธรรมแห่งใหม่ของประเทศ แม้ว่าจริง ๆ แล้วเมืองนี้จะเป็นเพียงเมืองใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของประเทศ โดยมีจำนวนประชากร 263,499 คน แต่เมื่อรวมกับพื้นที่ปริมณฑล (เช่นเมืองพักตากอากาศบิญญาเดลมาร์) แล้ว เขตมหานครกรันบัลปาราอิโซ (Gran Valparaíso) จะใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ (จำนวนประชากร 803,683 คน) บัลปาราอิโซตั้งอยู่ทางตอนกลางของชิลี ห่างจากกรุงซานเตียโกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 120 กิโลเมตร การเดินทางระหว่างสองเมืองนี้ใช้เวลาประมาณ 70 นาที เมืองนี้ยังเป็นศูนย์กลางการศึกษาของประเทศอีกด้วย เนื่องจากมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึง 9 แห่ง รายได้หลักของเมืองมาจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว วัฒนธรรม และการขนส่ง ท่าเรือของเมืองยังเป็นศูนย์กลางการเดินเรือบรรทุกขนส่งสินค้า และส่งออกไวน์ ทองแดง และผลไม้สด บัลปาราอิโซมีบทบาทสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมืองในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเป็นที่พักกลางทางของเรือที่เดินทางระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกผ่านทางช่องแคบมาเจลลัน ชาวยุโรปได้อพยพเข้ามาอย่างมาก บัลปาราอิโซในขณะนั้นได้รับการขนานนามจากกะลาสีจากชาติต่าง ๆ ว่าเป็น "แซนแฟรนซิสโกน้อย" หรือ "อัญมณีแห่งแปซิฟิก" ซึ่งช่วงนี้เองที่ถือเป็นยุคทองของเมือง โดยตัวอย่างที่แสดงถึงความรุ่งเรืองของเมืองนี้ ได้แก่ ตลาดหุ้นที่เก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคลาตินอเมริกา ห้องสมุดประชาชนแห่งแรกของชิลี และหนังสือพิมพ์ภาษาสเปน (ซึ่งพิมพ์ต่อเนื่องกัน) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เป็นต้น จนกระทั่งการเปิดใช้คลองปานามาและความซบเซาของการเดินเรือได้ทำให้ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชะงักลง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบัลปาราอิโซ · ดูเพิ่มเติม »

บิกีนีอะทอลล์

กีนีอะทอลล์ (Bikini Atoll) เป็นอะทอลล์ที่อยู่ในรายชื่อมรดกโลก ตั้งอยู่ในเขตไมโครนีเซียของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ ประกอบด้วยเกาะ 23 เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 229.4 ตร.ไมล์ (594.1 ตร.กม.) เคยมีการโยกย้ายประชากรออกจากเกาะหลายครั้งเนื่องจากการทดลองระเบิดปรมาณู หมวดหมู่:เกาะในหมู่เกาะมาร์แชลล์.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและบิกีนีอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงาซากิ

งาซากิ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 35.71 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและชิงาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบบุงโงะ

300px ช่องแคบบุงโงะ เป็นช่องแคบที่อยู่ระหว่างเกาะคีวชูกับเกาะชิโกะกุ เชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลเซะโตะใน ส่วนที่แคบที่สุดของช่องแคบนี้เรียกว่าช่องแ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบบุงโงะ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบมาเจลลัน

วเทียมบริเวณช่องแคบมาเจลลัน ช่องแคบมาเจลลัน (Strait of Magellan, Magellanic Strait; Estrecho de Magallanes) เป็นทางเดินเรือที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนใต้ของแผ่นดินใหญ่ทวีปอเมริกาใต้กับกลุ่มเกาะเตียร์ราเดลฟวยโก ตั้งชื่อตามชื่อของเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส ช่องแคบนี้เป็นทางเชื่อมสำคัญระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีความยาวประมาณ 570 กิโลเมตร ส่วนที่แคบที่สุดอยู่บริเวณเกาะการ์โลสที่ 3 ทางด้านตะวันตกของช่องแคบ ซึ่งกว้างเพียง 2 กิโลเมตร เนื่องจากมาเจลลันเดินเรือมาถึงที่นี่ในวันที่ 1 พฤศจิกายน ซึ่งตรงกับวันสมโภชนักบุญทั้งหลายพอดี ในตอนแรกเขาจึงตั้งชื่อว่า "ช่องแคบแห่งเหล่านักบุญ" (Strait of All Saints) แต่ต่อมาพระมหากษัตริย์แห่งสเปนที่มาเจลลันถวายงานทรงเปลี่ยนชื่อมาเป็น "ช่องแคบมาเจลลัน" เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา ปัจจุบันตลอดช่องแคบมาเจลลันถือเป็นน่านน้ำของชิลี แต่ปากทางด้านแอตแลนติกบางจุดเป็นอาณาเขตของอาร์เจนตินา อย่างไรก็ตาม เรือชาติต่าง ๆ ยังสามารถเดินทางผ่านช่องแคบนี้ได้อย่างเสรี ก่อนที่จะมีการเปิดใช้คลองปานามาซึ่งสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1914 ช่องแคบนี้เป็นเส้นทางข้ามมหาสมุทรที่สำคัญและปลอดภัยสำหรับเรือกลจักรไอน้ำ แต่ถ้าเป็นเรือใบ เช่น เรือแบบคลิปเปอร์ จะนิยมใช้ช่องแคบเดรกซึ่งอยู่ใต้ลงไปอีก เพราะมีเนื้อที่ให้กลับลำเรือได้กว้างกว่า แต่ก็ต้องเสี่ยงกับสภาพอากาศที่ปั่นป่วนและคาดคะเนได้ยาก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบมาเจลลัน · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบสึงะรุ

องแคบสึงะรุ เป็นช่องแคบระหว่างเกาะฮนชูและเกาะฮกไกโด ทางตอนเหนือของประเทศญี่ปุ่น เชื่อมต่อกับทะเลญี่ปุ่นและมหาสมุทรแปซิฟิก เกาะใหญ่ทั้งสองแห่งเชื่อมต่อกันด้วยอุโมงค์เซกังที่ลอดอยู่ใต้ช่องแคบแห่งนี้ ซึ่งสร้างขึ้นในช่วงที่แคบที่สุดของช่องแคบซึ่งมีระยะทาง 19.5 กิโลเมตร โดยจุดที่ลุกที่สุดของช่องแคบนี้มีความลึก 200 เมตร และความลึกโดยทั่วไปของช่องแคบนี้คือ 140 เมตร ในอดีตก่อนที่จะมีอุโมงค์เซกัง ผู้คนต้องอาศัยเรือเฟอร์รี่ในการข้ามช่องแคบแห่งนี้ และอุบัติเหตุครั้งร้ายแรงที่สุดก็คือการอัปปางของเรือเฟอร์รี่ โทยะ มะรุ ในวันที่ 26 กันยายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบสึงะรุ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบเบริง

ทางอากาศของช่องแคบเบริง ช่องแคบเบริง (Bering Strait; Берингов пролив Beringov proliv) เป็นช่องทะเลเล็ก ๆ ระหว่างแหลมเดจเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' ตะวันตก) กับแหลมพรินซ์ออฟเวลส์ รัฐอะแลสกา จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' ตะวันตก) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่าไวทัส เบริง นักสำรวจชาวเดนมาร์กในกองทัพเรือรัสเซีย ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบเบริง · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบเกาหลี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบเดรก

ช่องแคบเดรก ช่องแคบเดรก (Drake Passage) หรือบางครั้งเรียกว่า ทะเลโอเซส (Mar de Hoces) เป็นน่านน้ำที่อยู่ระหว่างทวีปอเมริกาใต้ (ที่แหลมฮอร์น) กับทวีปแอนตาร์กติกา (ที่หมู่เกาะเซาท์เชตแลนด์) ช่องแคบเดรกเชื่อมต่อระหว่างส่วนตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติกเข้ากับส่วนตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ดเดรก หมวดหมู่:มหาสมุทรใต้ หมวดหมู่:ช่องแคบในทวีปแอนตาร์กติกา หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและช่องแคบเดรก · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เดรก

ซอร์ฟรานซิส เดรก) เซอร์ฟรานซิส เดรก (Sir Francis Drake, พ.ศ. 2083 - 2139) นักสำรวจและนักเดินเรือชาวอังกฤษที่เคยเป็นโจรสลัดปล้นเรือสเปนมาก่อน ในปี พ.ศ. 2110 (ก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่หนึ่ง 2 ปี) ได้เป็นผู้บัญชาการเรือ จูดิท ในเที่ยวการเดินทางสำรวจอินเดียตะวันตก (อเมริกากลาง) ที่ล้มเหลวของผู้เป็นญาติคือ จอน ฮอว์กินส์ และได้เดินทางกลับไปที่นั่นอีกหลายครั้งเพื่อไปเก็บรวบรวมทรัพย์สินที่เสียหายจากพวกสเปน การกระทำของเดรกในงานนี้ทำให้เขาได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2120 เดรกได้ออกเดินทางพร้อมกับเรือ 5 ลำสู่มหาสมุทรแปซิฟิกผ่านทางช่องแคบมาเจลลัน แต่หลังจากที่เรือหลายลำได้รับความเสียหายอย่างหนักจากพายุและไฟที่ใหม้เรือ เดรกได้เดินทางเพียงลำพังด้วยเรือชื่อ โกลเดนไฮนด์ แล่นข้ามหาสมุทรแปซิฟิกจนถึงเกาะเปลิวแล้วจึงเดินทางกลับอังกฤษผ่านแหลมกู๊ดโฮปเมื่อ พ.ศ. 2123 นับเป็นการเดินทางรอบโลกได้สำเร็จเป็นครั้งแรกของชาวอังกฤษ ในปีต่อมา สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ได้เสด็จเยี่ยมเรือของเดรกและทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นอัศวิน (เซอร์) ในปี พ.ศ. 2128 เซอร์ฟรานซิส เดรก ได้นำขบวนเรือจำนวน 25 ลำรบกับพวกอินเดียนแดงที่เป็นฝ่ายสเปนและขนยาสูบ มันฝรั่ง และชาวอาณานิคมเวอร์จิเนียที่ท้อแท้กลับบ้าน ในสงครามที่รบกับกองเรืออาร์มาดา (Spanish Armada) ที่ยิ่งใหญ่และไม่มีใครเคยเอาชนะได้ของสเปนที่ประกอบด้วยเรือถึง 130 ลำ (พ.ศ. 2131) ได้สู้รบกันนานถึงหนึ่งสัปดาห์ในช่องแคบอังกฤษที่อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ความกล้าหาญและความเชี่ยวชาญในการรบทางเรือยิ่งทำให้เซอร์ฟรานซิสที่ตำแหน่งหน้าที่เป็นรองผู้บัญชาการกองเรือยิ่งโดดเด่นมากขึ้น การได้ชัยชนะครั้งสำคัญนี้ ทำให้อังกฤษมีแสนยานุภาพทางทะเลมากที่สุด ปี พ.ศ. 2138 เซอร์ฟรานซิสได้ออกเดินทางอีกครั้งหนึ่งเพื่อไปยังอินเดียตะวันตกแต่ก็ได้เสียชีวิตด้วยโรคบิดที่นอกชายฝั่งเมืองปอร์โตเบโล (ในประเทศปานามาปัจจุบัน) ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟรานซิส เดรก · ดูเพิ่มเติม »

ฟาการาวา

ฟาการาวา (Fakarava, Havaiki-te-araro, Havai'i หรือ Farea) เป็นเกาะปะการังวงแหวน ในกลุ่มเกาะตูอาโมตูของดินแดนเฟรนช์โปลินีเซีย เป็นเกาะปะการังวงแหวนที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะตูอาโมตู ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เกาะมีรูปร่างคล้ายรูปสามเหลี่ยม ยาว 60 กิโลเมตร กว้าง 21 กิโลเมตร เกาะมีลากูนพื้นที่ 1,112 กม² มีผู้คนอาศัย 701 คน มีหมู่บ้านสำคัญคือ โรโตอาวา หมวดหมู่:เฟรนช์โปลินีเซีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟาการาวา · ดูเพิ่มเติม »

ฟาร์คราย 3

น้ำลาย 3 (Far Cry 3) เป็นวิดีโอเกมโอเพนเวิลด์ แอ็กชันผจญภัย และเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ที่พัฒนาโดย ยูบิซอฟต์มอนทรีออล ร่วมกับ ยูบิซอฟต์แมสสีป, ยูบิซอฟต์ชางไฮ และยูบิซอฟต์เรดสตอร์ม จัดจำหน่ายโดยยูบิซอฟต์สำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์,เพลย์สเตชัน 3 และเอกซ์บอกซ์ 360 เกมวางจำหน่ายในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ในทวีปออสเตรเลีย วันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ในทวีปยุโรป และวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 2012 ในทวีปอเมริกาเหนือ มีภาคเสริมที่แยกออกต่างหากคือ ฟาร์คราย 3: บลัดดรากอน ออกจำหน่ายวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟาร์คราย 3 · ดูเพิ่มเติม »

ฟืร์นังดู ปือไรรา

ฟืร์นังดู ปือไรรา (Fernando Pereira; 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1950 - 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1985) เป็นช่างภาพอิสระชาวดัตช์เชื้อสายโปรตุเกสที่เสียชีวิตไปพร้อมกับการอัปปางของเรือเรนโบว์วอร์เรียร์ ที่เมืองออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เนื่องจากถูกสายลับหน่วยอำนวยการความมั่นคงภายนอก (Direction Générale de la Sécurité Extérieure) ของฝรั่งเศส ลอบวางระเบิด เมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟืร์นังดู ปือไรรา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี

ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี เป็นทีมฟุตบอลสัญชาติฝรั่งเศส และเป็นทีมตัวแทนของเฟรนช์พอลินีเชีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลตาฮีเตียน ทีมประกอบด้วยผู้เล่นจากเฟรนช์พอลินีเชีย และได้เข้าร่วมสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (OFC) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีนิกซ์ อิคคิ

ฟีนิกซ์ อิคคิ ตัวละครหลักจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นพี่ชายของอันโดรเมด้า ชุน ซึ่งมีจิตใจเข้มแข็ง คอยปกป้องและให้ความช่วยเหลือน้องชายอยู่เสมอ ถึงภายนอกจะดูเหมือนคนดุดัน ใจร้อน แต่แท้จริงแล้วเขาก็เป็นคนที่มีคุณธรรมในจิตใจมากทีเดียว อิคคิยอมถูกส่งไปยังเกาะเดธควีน หรือ "ราชินีมรณะ" แทนชุน ซึ่งเกาะนี้อยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร กลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีสภาพอากาศร้อนระอุเหมือนเป็นขุมนรก มีฝนลูกไฟตกอยู่ตลอดทั้งปี ผู้คนที่ถูกส่งมายังเกาะนี้ไม่เคยมีใครกลับมาอย่างสมประกอบเลยแม้แต่คนเดียว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฟีนิกซ์ อิคคิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1799

ทธศักราช 1799 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 1799 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2223

ทธศักราช 2223 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1680 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2223 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2565

ทธศักราช 2565 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2022 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2565 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2566

ทธศักราช 2566 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2023 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2566 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2567

ทธศักราช 2567 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2024 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2567 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพ.ศ. 2568 · ดูเพิ่มเติม »

พริกขี้หนูกับหมูแฮม

ริกขี้หนูกับหมูแฮม เป็นภาพยนตร์ไทยโดยไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2532 กำกับโดยสมจริง ศรีสุภาพ นำแสดงโดยขจรศักดิ์ รัตนนิสัย และจันทร์จิรา จูแจ้ง ภาพยนตร์ทำรายได้ 6 ล้านบาท"10 ปี ไท เอนเตอร์เทนเม้นท์", นิตยสารอานนท์ ฉบับธันวาคม 2536-มกราคม 2537 หน้า 152-157 ได้รับรางวัลเกียรติยศในงานมหกรรมภาพยนตร์เอเซียนแปซิฟิก ได้รับรางวัลแต่งผมและแต่งหน้ายอดเยี่ยม รางวัลพระสุรัสวดี ปี 2532 และมีเพลงประกอบภาพยนตร์คือเพลง "เติมใจให้กัน" แต่งโดย ศุ บุญเลี้ยง ทำนอง-เรียบเรียงโดย สินนภา สารสาส และขับร้องโดย มัม ลาโคนิค ภาพยนตร์ถ่ายทำที่เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยเป็นเรื่องการใช้ชีวิตของคนไทยในสหรัฐอเมริกา สมจริงได้ร่วมเขียนบทกับชนินทรซึ่งเคยร่วมงานในภาพยนตร์ รักแรกอุ้ม โดยอาศัยการหาข้อมูลจากเรื่องสั้น นิยายและบันทึกต่าง ๆ ที่มีเรื่องราวของโรบินฮูด สมจริงได้มาถึงสหรัฐอเมริกาก่อนนาน 2 เดือนก่อนถ่ายทำ จึงได้เพิ่มเติมเนื้อหาบทเพิ่มขึ้น เช่นไปเจอเด็กผู้หญิงที่ชอบมายืนที่ทะเลแห่งหนึ่งที่ซานฟรานซิสโกเพราะเป็นมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งเชื่อมถึงประเทศไทยได้ โดยจะมาทุกครั้งที่คิดถึงประเทศไทย แต่จากการที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในลอสแอนเจลิสย้ายที่ทำการทำให้วีซ่าของทีมงานหาย จำเป็นต้องเลื่อนกำหนดถ่ายทำไปอีกหนึ่งเดือน จากนั้นใช้เวลาถ่ายทำในซานฟรานซิสโกนานหนึ่งเดือน โดยก่อนหน้าเปิดกล้อง ยุทธนา มุกดาสนิทได้มาฝึกสอนการแสดงให้กับ จันจิรา จูแจ้ง ส่วนการใช้เสียงเล่าเหตุการณ์ที่นางเอกเขียนจดหมายไปถึงเพื่อนที่เมืองไทยอ่านนั้น ไม่ได้ใช้นักพากษ์เสียง แต่ใช้เสียงของจันจิรา เป็นสิ่งที่คนทำหนังรายอื่นไม่ทำกันในยุคนั้น เพราะกลัวพากษ์ไม่ดี และที่พิเศษคือ ได้อัดบรรยากาศเสียงกลับมาด้วย นอกจากนั้นยังถ่ายทำที่โรงถ่ายอัศวิน ซึ่งเป็นฉากภายในบ้านที่ถูกจัดแต่งขึ้นมาจากที่กำหนดไว้ว่าจะเสร็จภายใน 7 วันแต่เป็นว่าต้องถ่ายทั้งหมด 17 วัน ต่อมาสมจริง ศรีสุภาพ นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกด้วย นำแสดงโดยลลิตา ปัญโญภาส และสหรัถ สังคปรีชา ออกอากาศทาง ช่อง 3 เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพริกขี้หนูกับหมูแฮม · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พอลินีเชีย

นแดนพอลินีเชีย พอลินีเชีย หรือ พอลินีเซีย (Polynesia) คือภูมิภาคที่อยู่ในเขตโอเชียเนีย มหาสมุทรแปซิฟิก เมื่อมองจากแผนที่จะเห็นพื้นที่เป็นรูปสามเหลี่ยมหรือที่เรียกกันว่าสามเหลี่ยมโพลินีเซียน สำหรับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของภูมิภาคนี้ มีความเจริญสูงสุดในบรรดาภูมิภาคในโอเชียเนียทั้งหมด ซึ่งมีจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่หลายจักรวรรดิ มีวัฒนธรรมต่าง ๆ เช่นการเต้นรำเป็นต้น ภูมิภาคนี้ประกอบด้วยดินแดนและประเทศทั้งหมด 4 ประเทศ 8 ดินแดน คือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพอลินีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547)

ต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (Typhoon Muifa) เป็นชื่อพายุที่ตั้งขึ้นโดยมาเก๊า มีความหมายว่า ดอกพลับบาน เป็นพายุหมุนเขตร้อนลูกที่ 2 ที่พัดเข้าสู่ประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพายุไต้ฝุ่นหมุ่ยฟ้า (พ.ศ. 2547) · ดูเพิ่มเติม »

พายุไต้ฝุ่นนีนา

ต้ฝุ่นนีนาหรือพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นนีนา (ชื่อสากล: 8722, JTWCตั้งชื่อ: 22W) เป็นพายุไต้ฝุ่นลูกที่ 4 ที่ก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อปี..1987 เป็นพายุที่ทำให้มีประชาชนเสียชีวิตมากที่สุดและเป็นพายุที่สร้างความเสียหายมากที่สุดลูกหนึ่ง พายุไต้ฝุ่นนีนาหรือพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น Sisang เป็นพายุที่สร้างความเสียหายรุนแรงที่สุดลูกหนึ่งของฟิลิปปินส์ต่อจากพายุแพทซี่ย์เมื่อ 17 ปีก่อน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพายุไต้ฝุ่นนีนา · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์

ัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์ ตั้งอยู่ที่บริเวณที่เคยเป็นโรงงานผลิตปลาซาร์ดีนกระป๋องบนแคนเนอร์รีโรว์ (Cannery Row) แนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกในเมืองมอนเทอเรย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย มีผู้เข้าชมปีละ 1.8 ล้านคน จัดแสดงพืชและสัตว์รวม 35,000 ตัวอย่าง จาก 623 ชนิด มีการหมุนเวียนน้ำทะเลในพิพิธภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพโดยสูบน้ำจากอ่าวมอนเทอเรย์เข้ามาตามท่อเข้าสู่พิพิธภัณฑ์ ภายในพิพิธภัณฑ์มีตู้จัดแสดงสิ่งมีชีวิตมากมาย แต่มีอยู่สองตู้ที่มีชื่อเสียงเป็นพิเศษ คือ ตู้สูง 10 เมตร ปริมาตร 1.3 ล้านลิตรที่ตั้งอยู่กลาง Ocean's Edge Wing สำหรับจัดแสดงสิ่งมีชีวิตตามชายฝั่งแคลิฟอร์เนีย ในตู้นี้มีเคลพยักษ์ ซึ่งพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นแห่งแรกที่สามารถเพาะเลี้ยงเคลพยักษ์ได้ โดยใช้เครื่องกำเนิดคลื่นที่อยู่ด้านบนสุดของตู้ (การเคลื่อนไหวของน้ำเป็นปัจจัยสำคัญในการเพาะเลี้ยงเคลพยักษ์ ที่จะดึงสารอาหารจากน้ำโดยรอบและน้ำต้องขุ่น) ด้านบนตู้เปิดรับแสงอาทิตย์ และหมุนเวียนน้ำทะเลจากอ่าวเข้ามา อีกตู้หนึ่งคือ ตู้ปริมาตร 4.5 ล้านลิตรในปีกอาคารนอกอ่าว (Outer Bay Wing) ที่มีกระจกแผ่นเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดแผ่นหนึ่งในโลก (ความจริงแล้วเป็นกระจกห้าแผ่นต่อเข้าด้วยกันอย่างแนบเนียน ผลิตโดยบริษัทญี่ปุ่น) ตู้แสดงป่าเครพความสูง 10 เมตร ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในทะเลที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ เช่น กระเบน แมงกะพรุน นากทะเล กุ้งมังกร อายุกว่า 50 ปี และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่พบในท้องถิ่น ซึ่งสามารถชมได้ทั้งจากด้านบนหรือใต้ระดับน้ำ ในการจัดแสดงแมงกะพรุนนั้น พิพิธภัณฑ์ได้ใช้ตู้ที่เรียกว่า Kreisel tank ที่สร้างกระแสน้ำไหลเวียนเพื่อให้แมงกะพรุนสามารถลอยตัวอยู่ได้ ผู้เข้าชมสามารถชมสิ่งมีชีวิตในป่าเครพได้จากชั้นต่าง ๆ ของอาคาร และในพิพิธภัณฑ์ไม่จัดแสดงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ นอกจากนาก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง

ูกัง (海遊館) เป็นพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศญี่ปุ่นและทวีปเอเชีย ตั้งอยู่ที่เท็มโปซังฮาเบอวิลเลจ (Tempozan Harbor Village) ในเมืองโอซากา มีทั้งหมด 8 ชั้น เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 ด้านหน้าทางเข้าพิพิธภัณฑ์มีโครงเหล็กดัดรูปปลาฉลามวาฬตัวใหญ่ ที่รายล้อมด้วยโลมาหลายตัวเป็นจุดเด่น ซึ่งไฮไลต์ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง · ดูเพิ่มเติม »

พืดหินปะการัง

แผนที่แสดงการกระจายตัวของแนวปะการังทั่วโลก แนวปะการัง หรือ พืดหินปะการัง เป็นระบบนิเวศที่ซับซ้อน และมีความหลากหลายมากที่สุดในทะเล แนวปะการังจัดเป็นสิ่งก่อสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นหินปูนที่มีความแข็ง โดยสัตว์ทะเลขนาดเล็กคือ ปะการัง รวมถึงซากของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในทะเลอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น สาหร่ายหินปูน, หอยที่มีเปลือกแข็ง เป็นต้น ทั้งปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่สร้างหินปูนได้ เมื่อตายไปแล้วจะยังคงเหลือซากหินปูนทับถมพอกพูน ซึ่งถือว่าเป็นขบวนการสร้างแนวปะการัง ซากหินปูนเหล่านั้นค่อย ๆ ผุกร่อนเป็นผงตะกอน ซึ่งส่วนหนึ่งก็ยังคงสะสมพอกพูนในแนวปะการัง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจถูกพัดพาล่องลอยไปตามกระแสน้ำไปทับถมพอกพูนเป็นชายหาด การเจริญเติบโตของแนวปะการังเป็นไปอย่างช้า ๆ ในแต่ละปี ปะการังบางชนิดอาจเพิ่มขนาดของตนเองขึ้นมาได้เพียง 2-5 เซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งกว่าที่ปะการังจะสร้างตนเองจนแข็งแรงเป็นแนวพืดได้ต้องใช้เวลานับหมื่น ๆ ปี โดยแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เกรตแบร์ริเออร์รีฟ ทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ที่มีเนื้อที่กว้างขวางกว่า 1,562 ไมล์ (2,500 กิโลเมตร) มีแนวปะการังมากกว่า 2,900 แนว ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรกดกโลกทางธรรมชาติ และแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งของโลก คือ สามเหลี่ยมปะการัง ที่ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างน่านน้ำของฟิลิปปินส์ เช่น อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะโซโลมอน และติมอร์เลสเต คิดเป็น 1 ใน 3 ของแนวปะการังที่มีอยู่ในโลก และมีความหลากหลายของชนิดปลาที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังคิดเป็นร้อยละ 35 ของปลาที่อาศัยในแนวปะการังทั้งหมดทั่วโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและพืดหินปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

กรอซา

ทางอากาศของพายุ กรอซา (Krosa) เป็นชื่อพายุไต้ฝุ่นที่ก่อตัวเมื่อต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 ที่พัดจากมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ เข้าสู่เกาะไต้หวันและจีน กรอซาเป็นชื่อเป็นภาษาเขมร แปลว่า นกกร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกรอซา · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกบินไซบีเรีย

กระรอกบินไซบีเรีย (Siberian flying squirrel) คือ กระรอกบินสายพันธุ์เก่าแก่สายพันธุ์หนึ่งของโลก อาศัยอยู่ในแนวทะเลบอลติกทางตะวันตก ไปจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออก กระรอกบินไซบีเรียเป็นกระรอกบินสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในยุโรป และถูกพิจารณาให้อยู่ในสถานะที่สิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์ในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกระรอกบินไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กระปรอดเล็ก

กระปรอดเล็ก (basket fern) เป็นเฟินอิงอาศัยในสกุลกระแตไต่ไม้ (Drynaria) กระจายพันธุ์ในประเทศพม่า ไทย อินโดจีน มาเลเซีย จีน โพลีนีเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงใต้ พบตามคาคบไม้สูง ในป่าดิบชื้น หรืออยู่ตามโขดหินที่เปียกชื้น ในป่าเปิดตามแนวลำธารน้ำตก มักพบเจริญเติบโตอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ขนาดรัศมีใหญ่ได้มากกว่า 1 เมตร ในประเทศไทยมีชื่อพื้นเมืองอื่นดังนี้ กระปรอกหัวหิน (จันทบุรี) กูดตั่ง (เชียงใหม่) กูดเฟือย (เหนือ) กูดไม้ (เหนือ) กูดหางม้า (แม่ฮ่องสอน) กูดอ้อม (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกระปรอดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กระแสน้ำกินี

กระแสน้ำมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ กระแสน้ำกินี (Guinea Current) เป็นกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก ไหลเลียบฝั่งของกินี ในแอฟริกาตะวันตก จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มีความคล้ายกับกระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตรในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกระแสน้ำกินี · ดูเพิ่มเติม »

กระแสน้ำญี่ปุ่น

กระแสน้ำญี่ปุ่น หมุนตามเข็มนาฬิกา บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ กระแสน้ำญี่ปุ่น หรือ กระแสน้ำคุโระชิโอะ (黒潮 "กระแสน้ำสีดำ"; Kuroshio Current) เป็นกระแสน้ำที่เป็นส่วนหนึ่งของกระแสน้ำศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิก สามารถเห็นได้ชัดเพราะน้ำทะเลมีสีน้ำเงินเข้ม ไหลตามชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของไต้หวัน และตามแนวชายฝั่งตะวันออกของเกาะฮนชูในประเทศญี่ปุ่น ไปรวมกับกระแสน้ำมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ทางใต้ของหมู่เกาะอะลูเชียน หมวดหมู่:กระแสน้ำมหาสมุทร หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกระแสน้ำญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กระแสน้ำศูนย์สูตรเหนือ

แผนที่แสดงกระแสน้ำทั่วโลก กระแสน้ำศูนย์สูตรเหนือ (North Equatorial Current) เป็นกระแสน้ำสำคัญบริเวณเส้นศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติกซึ่งไหลจากตะวันออกไปยังตะวันตกระหว่างประมาณ10 เหนือ กับ 20 เหนือ ในแปซิฟิกและแอตแลนติกกระแสน้ำมีทิศทางการไหลตามเข็มครึ่งล่างของนาฬิกา แต่ในมหาสมุทรอินเดียมีทิศทางการไหลทวนเข็มครึ่งบนของนาฬิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกระแสน้ำศูนย์สูตรเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง

กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือ กลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เกาะซูลาเวซี แยกเป็น 2 สาขาคือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาปาปัว

การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาปาปวนแสดงด้วยสีแดง, สีน้ำตาลเป็นตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน สีเทาเป็นบริเวณที่เคยเป็นเขตของผู้พูดกลุ่มภาษา กลุ่มภาษาปาปัว (Papuan languanes)เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกที่ไม่ใช่ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและกลุ่มภาษาออสเตรเลียซึ่งเป็นการจัดกลุ่มที่ไม่ได้เน้นถึงความสัมพันธ์ทางด้านพันธุกรรมหรือภาษาศาสตร์ การรวมกลุ่มนี้ถูกตั้งขึ้นครั้งแรกโดย Sidney Herbert เมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มภาษาปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะบิสมาร์ก

กลุ่มเกาะบิสมาร์ก (Bismarck Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะรูปโค้งอยู่เหนือปลายด้านตะวันออกของเกาะนิวกินี ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของประเทศปาปัวนิวกินี มีเนื้อที่ 49,700 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มเกาะบิสมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะมลายู

กลุ่มเกาะมลายู (Malay Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะขนาดใหญ่ที่อยู่ระหว่างแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อินโดจีน) กับออสเตรเลีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก มีเกาะอยู่ราว 25,000 เกาะ จัดว่าเป็นกลุ่มเกาะที่มีพื้นที่มากที่สุดในโลก เป็นที่ตั้งของประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน รัฐซาราวะก์และซาบะฮ์ของมาเลเซีย ติมอร์-เลสเต และพื้นที่ส่วนใหญ่ของปาปัวนิวกินี แผนที่โลกเน้นกลุ่มเกาะมลายู หมวดหมู่:เกาะในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรอินเดีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มเกาะมลายู · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์

กลุ่มเกาะอเล็กซานเดอร์ กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์ (Alexander Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะของสหรัฐอเมริกา ที่มีความยาวราว 300 ไมล์ (500 กม.) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา มีเกาะทั้งสิ้นประมาณ 1,100 เกาะ ซึ่งกลุ่มเกาะนี้เกิดจากการยุบตัวของชายฝั่งเหลือเฉพาะยอดเขาที่โผล่พ้นน้ำ ทำให้มีร่องน้ำลึกและชายฝั่งมีลักษณะเว้าแหว่ง เกาะที่สำคัญได้แก่ เกาะชิชากอฟ แอดมิรัลตี บารานอฟ คูพรีนอฟ พรินซ์ออฟเวลส์ และริวิลลากิกีโด เมืองที่ใหญ่ที่สุดได้แก่เมืองเคตซิแกนบนเกาะริวิลลากิกีโด และเมืองซิตกาบนเกาะบารานอฟ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกวม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือสหรัฐ

ระวังสับสนกับ กระทรวงทหารเรือสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ (อังกฤษ: United States Navy, USN) เป็นกองกำลังทางทะเลในสังกัดกองทัพสหรัฐ และหนึ่งในเจ็ดองค์กรในเครื่องแบบของสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐเป็นกองทัพเรือที่ใหญ่ และมีความสามารถมากที่สุดในโลก โดยมีขนาดกองเรือตามน้ำหนักที่มากที่สุด กองทัพเรือสหรัฐมีกองเรือบรรทุกอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีเรือบรรทุกอากาศยาน 10 ลำในสถานะประจำการ อีก 2 ลำในสถานะกองเรือสำรอง และกำลังก่อสร้างเรือบรรทุกอากาศยานใหม่อีก 3 ลำ กองทัพเรือสหรัฐมีกำลัง 323,792 นายในสถานะประจำการ และอีก 108,515 นายในกองทัพเรือสำรอง มีเรือรบพร้อมประจำการ 274 ลำ และมีอากาศยานที่ใช้การได้มากกว่า 3,700 ลำ ตามข้อมูลในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกองทัพเรือสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กะตังใบ

กะตังใบ อยู่ในวงศ์ Vitaceae กระจายพันธุ์ในเขตอินโดมลายู, อินโดจีน, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และในเทือกเขาฆาตตะวันตกในอินเดีย http://www.biotik.org/india/species/l/leeaindi/leeaindi_en.html เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตั้ง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมแป้น เนื้อนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแดงเข้มถึงม่วงดำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกะตังใบ · ดูเพิ่มเติม »

กัวยากิล

กัวยากิล (Guayaquil) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ซานเตียโกเดกัวยากิล (Santiago de Guayaquil) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของประเทศเอกวาดอร์ มีประชากรราว 3.8 ล้านคน และเกือบ 4.1 ล้านคนในเขตมหานคร เป็นเมืองหลักของจังหวัดกัวยัส ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ กัวยากิลตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำกัวยัสที่ไหลลงมหาสมุทรแปซิฟิกที่อ่าวกัวยากิล อันเนื่องจากสถานที่ตั้งทำให้เมืองเป็นศูนย์กลางธุรกิจและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศเอกวาดอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกัวยากิล · ดูเพิ่มเติม »

กัวดัลคะแนล

กัวดัลคะแนล (Guadalcanal) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะโซโลมอน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก นักเดินเรือชาวสเปนชื่อ อัลบาโร เด เมนดาญา เดินเรือมาพบเกาะนี้ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกัวดัลคะแนล · ดูเพิ่มเติม »

การสลับขั้วแม่เหล็กโลก

การสลับขั้วแม่เหล็กโลกในปัจจุบัน การสลับขั้วแม่เหล็กโลก (geomagnetic reversal) เป็นการเปลี่ยนแปลงทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกโดยที่มีการสลับขั้วกันระหว่างขั้วแม่เหล็กเหนือกับขั้วแม่เหล็กใต้ ปรกติเหตุการณ์นี้จะเกี่ยวข้องกับการที่สนามแม่เหล็กโลกมีความเข้มข้นลดลง ตามด้วยการกลับคืนมาอย่างรวดเร็วหลังจากการสลับขั้วเกิดขึ้น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่หลายหมื่นปีไปจนหลายล้านปี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการสลับขั้วแม่เหล็กโลก · ดูเพิ่มเติม »

การทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488

การทัพบอร์เนียว..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

การทัพหมู่เกาะโซโลมอน

การทัพหมู่เกาะโซโลมอน เป็นการทัพหลักของสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นขึ้นเมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตนและเกาะบัวเกนวิลล์ (Bougainville) ในดินแดนแห่งนิวกินีระหว่าง 6 เดือนแรกของปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการทัพหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา

Philip II (1598). Territorial evolution of North America of non-native nation states from 1750 to 2008. การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา เกิดจากยุคแห่งการสำรวจโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนจะได้รับการตั้งชื่อโดยศูนย์เตือนภัยต่าง ๆ เพื่อความสะดวกระหว่างนักพยากรณ์อากาศกับประชาชนทั่วไปในการคาดการณ์, ผู้สังเกตการณ์, และการเตือนภัย เนื่องจากระบบของพายุนั้น สามารถมีอายุนานกว่าสัปดาห์หรือมากกว่านั้น และในเวลาเดียวกัน ก็อาจมีพายุเกิดขึ้นได้มากกว่าหนึ่งลูกภายในแอ่งเดียวกัน การตั้งชื่อพายุจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการสับสนเกี่ยวกับพายุแต่ละลูก การใช้ชื่อที่ระบุเฉพาะตัวของพายุหมุนเขตร้อนแต่ละลูกต้องย้อนกลับไปหลายปี พร้อมกับระบบการตั้งชื่อตามชื่อสถานที่หรือสิ่งต่าง ๆ ก่อนจะมีการเริ่มต้นการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ โดยการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการมีใช้กับพายุที่ก่อตัวในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกเหนือ, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันออก, กลาง, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันตก, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกใต้ ซึ่งรู้จักกันดีในชื่อพายุหมุนเขตร้อนในภูมิภาคออสเตรเลีย และพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดีย โดยชื่อต่าง ๆ จะได้รับการกำหนดไว้ล่วงหน้า โดยเมื่อมีพายุหมุนเขตร้อนมีความเร็วลมเฉลี่ยในหนึ่ง, สาม หรือ สิบนาที มากกว่า 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งขึ้นอยู่กับแอ่งนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

การตีโฉบฉวยดูลิตเติล

ลูกเรือเครื่องบิน บี-25 #40-2344 บนดาดฟ้าของเรือบรรทุกเครื่องบิน ''ยูเอสเอส ฮอร์นเน็ท'' วันที่ 18 เมษายน 1942 การตีโฉบฉวยดูลิตเติล (Doolittle Raid) หรือ การตีโฉบฉวยกรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 18 เมษายน 1942 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นการตีโฉบฉวยทางอากาศโดยสหรัฐอเมริกา ซึ่งพุ่งเป้าไปที่เกาะใหญ่ของญี่ปุ่น (เกาะฮอนชู) เพื่อต้องการแสดงให้จักรวรรติญี่ปุ่นเห็นว่าเขาก็แพ้เป็น และเพื่อเสริมสร้างความฮึกเหิมกำลังใจของกองทัพสหรัฐ หลังจากการสูญเสียในการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1941 การตีโฉบฉวยนี้วางแผนและนำโดย เจมส์ "จิมมี่" ดูลิตเติล สังกัดของทัพบกสหรัฐ เครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดกลางบี-25บี มิทเชลของกองทัพอากาศสหรัฐ 16 ลำบินขึ้นจากดาดฟ้าเรือบรรทุกเครื่องบินยูเอสเอส ฮอร์นเน็ทของกองทัพเรือสหรัฐ บริเวณทางด้านตะวันตกไกลของมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมุ่งเป้าหมายในการโจมตีไปที่เขตอุตสาหกรรม เป้าหมายทางทหาร และท่าเรือใน 4 เมืองของญี่ปุ่น คือโตเกียว โยโกฮาม่า โกเบ โอซาก้า แม้ว่าเครื่องบินบางลำจะเผชิญกับกระสุนปืนต่อสู้อากาศยานและเครื่องบินขับไล่ของกองทัพญี่ปุ่นบ้างแต่ไม่มี บี-25 ลำใดได้รับความเสียหาย ทั้งหมดไปลงจอดที่จีน เพราะการกลับมาลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบิน ฮอร์นเน็ท นั้นเป็นไปไม่ได้ เครื่องบินทิ้งระเบิด 16 ลำนั้นพังเสียหายทั้งหมด และลูกเรือ 11 คนไม่ถูกจับก็เสียชีวิต ในจำนวนนั้นสามคนถูกประหารชีวิตโดยทหารญี่ปุ่นในประเทศจีน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการตีโฉบฉวยดูลิตเติล · ดูเพิ่มเติม »

การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก แผ่นเปลือกโลก การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics; มาจากภาษากรีก: τέκτων, "tektōn" แปลว่า "ผู้สร้าง") เป็นทฤษฎีเชิงธรณีวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายถึงหลักฐานจากการสังเกตการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎีนี้ได้พัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปเดิมที่ถูกเสนอขึ้นมาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการกระจายของพื้นทะเลในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 (ช่วงต้น พ.ศ. 2500) โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อคลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น ชั้นที่อยู่นอกสุดคือชั้นธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้อโลก (mantle) ชั้นบนซึ่งมีอุณหภูมิต่ำและแข็งเกร็ง ชั้นล่างลงไปคือชั้นฐานธรณีภาคชั้นดินอ่อน (asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่ำและขาดความแข็งแรง อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเมื่อพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิลที่อยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกล่าวไม่ได้มาจากการเย็นลงของอุณหภูมิ แต่เนื่องมาจากความดันที่มีอยู่สูง ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็นแผ่นขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผ่นขนาดเล็กอีกจำนวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่านี้เคลื่อนที่สัมพันธ์กับแผ่นเปลือกโลกอื่นๆ ขอบของเปลือกโลกสามารถแบ่งได้เป็นสามประเภทตามลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชนกันหรือบรรจบกัน, ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มีการแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่แผ่นดินไหว, ภูเขาไฟปะทุ, การก่อตัวของภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวสมุทรนั้นจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน การเคลื่อนตัวด้านข้างของแผ่นดินนั้นมีอัตราเร็วอยู่ระหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนติเมตรต่อปี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของพาย พาเทล

การเดินทางของพาย พาเทล (Life of Pi) เป็นนวนิยายผจญภัยแนวแฟนตาซีของ ยานน์ มาร์เทล ผู้เขียนได้รับแรงบันดาลใจจากเพื่อนในวัยเด็กคนหนึ่งซึ่งเคยเดินทางผจญภัยในอินเดีย ตัวเอกของเรื่องนี้ พิสซีน "พาย" โมลิตอร์ พาเทล เด็กชายชาวอินเดียจากเมืองพอนดิเชอร์รี ได้สำรวจประเด็นทางจิตวิญญาณตั้งแต่ในวัยเยาว์ เขามีชีวิตรอดจากเหตุการณ์เรือล่ม โดยอยู่ในเรือชูชีพเป็นเวลา 227 วัน กับเสือโคร่งเบงกอลชื่อ ริชาร์ด พาร์เกอร์ ในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก นวนิยายตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในแคนาดาในปีเดือนกันยายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและการเดินทางของพาย พาเทล · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งจังหวัดอิบุริ

กิ่งจังหวัดอิบุริ เป็น 1 ใน 14 กิ่งจังหวัดของฮกไกโด จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกิ่งจังหวัดอิบุริ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบโตเกียว

กุหลาบโตเกียว (Tokyo Rose หรือบ้างสะกดเป็น Tokio Rose) เป็นชื่อทั่วไปที่กำลังฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ใช้เรียกโฆษกหญิงโฆษณาชวนเชื่อของญี่ปุ่นที่พูดภาษาอังกฤษราวโหลหนึ่ง กุหลาบโตเกียวมีเจตนาเพื่อขัดขวางขวัญกำลังใจของกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรที่ฟังการแพร่สัญญาณ ทหารอเมริกันในแปซิฟิกมักฟังการแพร่สัญญาณโฆษณาชวนเชื่อเพื่อรับทราบถึงผลของการปฏิบัติทางทหารของพวกตน โดยจับความหมายโดยนัย นอกเหนือจากการปฏิบัติแล้ว ยังมีนิยายว่ากุหลาบโตเกียวมีความแม่นตรงอย่างน่ากลัว กล่าวถึงหน่วยและกระทั่งชื่อของทหารปัจเจก แม้นิยายเหล่านี้ไม่เคยมีเอกสารพิสูจน์ เช่น บทและการแพร่สัญญาณที่บันทึกไว้ กุหลาบโตเกียวมักสะท้อนในหนังสือและภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมอย่างสมรภูมิศักดิ์ศรี ปฐพีวีรบุรุษ (Flags of Our Fathers) ข่าวลือเกี่ยวกับผู้ประกาศโฆษณาชวนเชื่อที่คล้ายกันมีลอร์ดฮอ-ฮอ (Lord Haw-Haw) และแอ็กซิสแซลลี (Axis Sally).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกุหลาบโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งมังกรเจ็ดสี

กุ้งมังกรเจ็ดสี หรือ กุ้งมังกรหัวเขียว หรือ กุ้งหัวโขนเขียว (Painted spiny lobster) เป็นกุ้งมังกรชนิดหนึ่ง ส่วนของกระดองมีลวดลายสีเขียว, สีขาวและสีน้ำเงิน ลำตัวเป็นสีน้ำเงินหรือสีเขียว มีแถบสีขาวและสีดำพาดขวางลำตัว ขาเดินมีเส้นสีขาวพาดตามยาว ส่วนต้นของหนวดคู่ที่ 2 เป็นสีชมพู อาศัยอยู่ตามแนวโขดหิน ที่ระดับความลึกไม่เกิน 16 เมตร ในกระแสน้ำค่อนข้างเชี่ยว ในเวลากลางวันจะหลบอยู่ตามซอกหินหรือที่กำบังโผล่มาเฉพาะส่วนหนวดและตา ในเวลากลางคืนถึงจะออกจากที่กำบังมาหากิน มีความยาวประมาณ 20–30 เซนติเมตร และพบยาวที่สุดถึง 40 เซนติเมตร กุ้งมังกรเจ็ดสี พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในกระแสน้ำอุ่นของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, แอฟริกาตะวันออก, ทะเลอาหรับ, อินเดีย, พม่า, ไทย จนถึงอินโดนีเซีย, ทะเลญี่ปุ่น, ไมโครนีเซีย, โพลีนีเซีย และออสเตรเลีย กุ้งมังกรเจ็ดสี เป็นกุ้งมังกรอีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานกัน ในประเทศไทยมีราคาซื้อขายจากชาวประมงที่ลงอวนจับกิโลกรัมละ 1,500 บาท และยังเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามได้อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและกุ้งมังกรเจ็ดสี · ดูเพิ่มเติม »

ก่อนฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก

ทความนี้กล่าวถึงช่วงก่อนฤดูพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นในช่วงก่อนหน้าศตวรรษที่ยี่สิบ มันจะไม่สมบูรณ์; ข้อมูลเกี่ยวกับช่วงก่อนฤดูพายุไต้ฝุ่นมีเป็นช่วง ๆ ต้องอาศัยการสังเกตของนักท่องเที่ยวและนักเรือ ไม่มีการเก็บข้อมูลที่ครอบคลุมโดยหน่วยงานกลางในช่วงต้นนี้ พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มักจะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน เหล่านี้จะอยู่ภายในอัตภาพขอบเขตระยะเวลาของแต่ละปี ขณะที่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่จะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ขอบเขตของบทความนี้จะถูกจำกัดอยู่ภายในมหาสมุทรแปซิฟิก, ทางเหนือของเส้นศูนย์สูตร และทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล โดยพายุที่ก่อตัวทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากลและทางเหนือของเส้นศูนย์สูตรจะถูกเรียกว่า "เฮอร์ริเคน" ส่วนพายุที่ก่อตัวทางใต้ของเส้นศูนย์สูตรจะเรียกว่า "ไซโคลน".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและก่อนฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก

ก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง Godzilla นำแสดงโดย แมทธิว บรอดเดอริค, ฌอง เรโน, เวอร์จิเนีย แมดเซ่น, แฮงค์ อซาเรีย, แฮร์รี่ เชียเรียร์ กำกับการแสดงโดย โรแลนด์ เอมเมอริช อำนวยการสร้างโดย โรแลนด์ เอมเมอริช และ ดีน เดฟลิน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L. "Black Protest: A Rejection of the American Dream".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฝันอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไต้หวัน

กาะไต้หวัน เกาะไต้หวัน (ไถวาน; ภาษาไต้หวัน: Tâi-oân) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาธารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไต้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา (Formosa) หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอามาเป็นอาณานิคม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภูมิศาสตร์ไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์เอเชีย

แผนที่ภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชียในปี 1730 ของ Johan Christoph Homann โดยแบ่งภูมิภาคเอเชียเป็นสีต่างๆ ภาพรวมของทวีปเอเชีย ภาพทวีปเอเชีย ภูมิศาสตร์เอเชีย (Geography of Asia) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่างๆของทวีปเอเชียซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปของโลก ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาด 44,579,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 8.7 ของผิวโลก (ร้อยละ 30 ของส่วนที่เป็นพื้นดิน) และมีประชากรราว 3,900 ล้านคน หรือร้อยละ 60 ของประชากรมนุษย์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภูมิศาสตร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิอากาศไทย

ประเทศไทยจากทางอากาศ แผนที่ประเทศไทยแสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน:(Aw) ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา(Am) ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน(Af) ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น ประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ทำให้ ภูมิอากาศ ของประเทศมีลักษณะเป็นแบบร้อนชื้นหรือภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Aw) ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ในขณะที่ภาคใต้และทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเป็นเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Am) ทั่วประเทศมีอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่าง 19-38 องศาเซลเซียส อากาศจะร้อนที่สุดช่วงกลางเดือนเมษายน หลังจากนั้น ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือทำให้ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝนและฤดูหนาวตามลำดับ พื้นที่ทั้งประเทศได้รับปริมาณฝนอย่างเพียงพอ ยกเว้นบางพื้นที่เท่านั้น แต่ระยะเวลาของฤดูฝนและปริมาณฝนมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาคและระดับความสูง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภูมิอากาศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาใต้ทะเล

ูเขาใต้ทะเล คือภูเขาที่อยู่บนพื้นทะเลและมีความสูงต่ำกว่าระดับน้ำทะเลซึ่งไม่ใช้เกาะ, เกาะเล็กและหน้าผา ภูเขาใต้ทะเลมักเกิดจากภูเขาไฟที่ดับแล้วที่ปะทุขึ้นอย่างกระทันหันซึ่งปกติแล้วจะตั้งสูงขึ้นมาประมาณ 1,000-4,000 เมตรเหนือพื้นทะเล นักสมุทรศาสตร์กำหนดได้กำหนดลักษณะคร่าว ๆ คือสูงเหนือพื้นทะเลอย่างน้อย 1,000 เมตรและมีลักษณะเป็นรูปทรงกรวยIHO, 2008.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภูเขาใต้ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเมานาเคอา

มานาเคอา เมื่อมองจาก โคฮาลา แผนที่ของเกาะฮาวาย กล้องโทรทรรศน์ Subaru, Keck I, II และกล้องอินฟราเรดของนาซา ภูเขาไฟเมานาเคอา (Mauna Kea) เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ตั้งอยู่ในรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา เป็นภูเขาหนึ่งในห้าลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย โดยภูเขาอีกสี่ลูก คือ ภูเขาไฟโคฮาลา ภูเขาไฟฮูอาลาไล ภูเขาไฟเมานาโลอา ภูเขาไฟคีเลาเวอา เมานาเคอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 13,796 ฟุต หรือ 4,205 เมตร สูงที่สุดในเกาะฮาวาย โดยสูงกว่ายอดเขาเมานาโลอาประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) เมานาเคอามีความสูงวัดจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้มหาสมุทรแปซิฟิกอีกประมาณ 19,000 ฟุต (5,800 เมตร) เมื่อรวมกันแล้วเมานาเคอามีความสูงมากกว่า 33,000 ฟุต (10,000 เมตร) ซึ่งสูงที่สุดในโลก และสูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ เมานาเคอาเป็นภาษาฮาวาย แปลว่า ภูเขาสีขาว เนื่องจากมีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี บนยอดเขามีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะสำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ โดยมีกล้องดูดาวอยู่บนยอดเขาถึง 13 กล้องจากหลายประเทศ รวมทั้งหอดูดาวเคก 1 และ 2 (W.M.Keck Observatory) และกล้องวิทยุโทรทรรศน์หนึ่งในสิบกล้อง ที่ประกอบกันเป็น Very Long Baseline Array (VLBA) ของหอดูดาววิทยุแห่งชาติ (National Radio Astronomy Observatory - NRAO) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เกิดแผ่นดินไหววัดความสั่นสะเทือนได้ 6.7 มาตราริกเตอร์ ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้องดูดาวจำนวนหนึ่งบนยอ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและภูเขาไฟเมานาเคอา · ดูเพิ่มเติม »

มรสุม

กลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม ภาพแสดงกลุ่มเมฆมรสุม มรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในชั้นบรรยากาศ และวัฎจักรของฝน เนื่องจากความไม่เท่ากันของการรับและคายความร้อนของพื้นดินและน้ำ โดยทั่วไปแล้วเป็นคำที่ใช้บรรยายช่วงฤดูกาลเปลี่ยนแปลงที่มีฝนตก ในระดับโลกสามารถที่จะจำแนกมรสุมได้เป็น มรสุมแอฟริกันตะวันตก และ มรสุมเอเชียออสเตรเลีย คำว่า “มรสุม” ถูกใช้เป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ในอินเดียของบริเตน (ปัจจุบันคือ อินเดีย บังกลาเทศ และ ปากีสถาน) เพื่อสื่อถึงลมประจำฤดูกาลที่พัดจากอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับนำพาฝนคะนองเข้าไปสู่บริเวณอินเดียของบริเตน คำว่า "มรสุม" หรือ monsoon ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า موسم ในภาษาอารบิก แปลว่า ฤดูกาล.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมรสุม · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทร

การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ แผ่นที่กายภาพก้นทะเล มหาสมุทร (ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71% มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์) มีความลึกเฉลี่ยที่ เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรอินเดีย

มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำบนโลก ทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย (อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและทวีปแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แถบทะเลอันดามัน และประเทศออสเตรเลีย ทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียน 147° ตะวันออก ตอนเหนือสุดของมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30° เหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยู่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริกาและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นน้ำ 70,560,000 ตารางกิโลเมตร รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย แต่ไม่รวมมหาสมุทรใต้หรือ 19.5% ของมหาสมุทรโลก มหาสมุทรอินเดียมีปริมาตรประมาณ 264,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 19.8% ของปริมาณมหาสมุทรโลก มีความลึกเฉลี่ย 3,741 เมตร และมีความลึกสูงสุด 7,906 เมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรใต้

มหาสมุทรใต้(2002). มหาสมุทรใต้ (Southern Ocean) หรือที่รู้จักกันในชื่อ มหาสมุทรแอนตาร์กติก (Antarctic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่อยู่ล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และเป็นที่สุดท้ายที่องค์การอุทกศาสตร์สากล (International Hydrographic Organization) นิยามให้เป็นมหาสมุทรเมื่อปี พ.ศ. 2543 แม้ว่าจะเป็นที่ยอมรับกันมาก่อนหน้านั้นในหมู่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงการสมุทรศาสตร์นานแล้ว โดยในอดีต มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีขอบเขตไกลลงไปถึงทวีปแอนตาร์กติกา มหาสมุทรใต้มีรูปร่างเป็นวงกลมล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา นับจากละติจูด 60° ใต้ ลงไปถึงชายฝั่งแอนตาร์กติกา อย่างไรก็ตาม นิยามนี้ไม่ได้ใช้ตรงกันทั่วโลก ในประเทศออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ยังรวมถึงพื้นที่ที่เป็นผืนน้ำระหว่างชายฝั่งทางใต้ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์กับทวีปแอนตาร์กติกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแผนที่ชายฝั่งของเกาะทัสมาเนียและออสเตรเลียใต้ ที่ระบุพื้นที่นั้นว่าเป็น มหาสมุทรใต้ แทนที่จะเป็น มหาสมุทรอินเดีย ปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับกันของคนทั่วไป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรใต้ · ดูเพิ่มเติม »

มะยม

มะยม ภาคอีสานเรียกว่า หมากยม ภาคใต้เรียกว่า ยม เป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล แตกกิ่งที่ปลายยอด กิ่งก้านจะเปราะและแตกง่าย ใบประกอบ มีใบย่อยออกเรียงแบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้านมีใบย่อย 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลมหรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ ติดผลเป็นพวง ผลมีสามพูชัดเจน เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปร่างกลม แข็ง สีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด มีทั้งพันธุ์เปรี้ยวและพันธุ์หวาน ซึ่งมีรสหวานอมฝาดนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมะยม · ดูเพิ่มเติม »

มะสึซะกะ

มืองมะสึซะกะ เป็นเมืองในจังหวัดมิเอะ ประเทศญี่ปุ่น สินค้าขึ้นชื่อของเมืองนี้คือ เนื้อมะสึซะกะ เมืองมะสึซะกะตั้งอยู่บนคาบสมุทรคิอิทางตะวันออก บริเวณตรงกลางของเขตจังหวัดมิเอะ เมืองมะสึซะกะนั้นมีอาณาเขตเป็นแนวยาว ทำให้มันแบ่งจังหวัดมิเอะออกเป็นสองส่วน ทางตะวันออกของมะสึซะกะนั้นคืออ่าวอิเซะ ซึ่งเชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก มะสึซะกะเคยเป็นศูนย์กลางด้านการค้าในยุคเซ็งโงะกุ ซึ่งโอะดะ โนะบุกะสึ บุตรของโอะดะ โนะบุนะงะ ได้มาสร้างปราสาทไว้ที่บริเวณนี้ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมะสึซะกะ · ดูเพิ่มเติม »

มิดเวย์อะทอลล์

แผนที่มิดเวย์อะทอลล์ มิดเวย์อะทอลล์ (Midway Atoll) ตั้งอยู่มหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโก ทางตะวันตก ราว 2,800 ไมล์ทะเล(5,200 กม./3,200 ไมล์) และ ห่างจากโตเกียวทางตะวันออก ราว 2,200ไมล์ทะเล(4,100 กม./2,500 ไมล์) มีพื้นที่ 6.2 ตารางกิโลเมตร มีสภาพเป็นหมู่เกาะปะการัง มีแนวปะการังล้อมรอบ จุดสูงสุดอยู่ที่ 13 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีประชากรทั้งหมด 40 คน เป็นเจ้าหน้าที่ปลาของสหรัฐอเมริกา มีท่าเรือที่สำคัญอยู่บนเกาะแซนด์ มีสนามบินอยู่ 3 แห่ง มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจจากองค์กรของสหรัฐที่อยู่บนหมู่เกาะ การทหารนั้นก็ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ มิดเวย์อะทอลล์ตกเป็นเมืองขึ้นของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2410 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มิดเวย์อะทอลล์ถูกใช้เป็นยุทธภูมิที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ในภาคพื้นแปซิฟิก ในปี พ.ศ. 2553 ไม่มีประชากรอาศัยแล้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมิดเวย์อะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มินะมิโบโซ

มินะมิโบโซ เป็นเมืองในจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 230.22 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมินะมิโบโซ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำหนามขอ

ม้าน้ำหนามขอ หรือ ม้าน้ำหนามยาว (Thorny seahorse, Spiny seahorse) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ มีปากที่ยาวกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ มีส่วนของหนามยาว ปลายแหลมและคมกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ ปลายหนามโค้งเล็กน้อยและมักจะมีสีเข้มหรือดำ มีสีผิวลำตัวแตกต่างกันไป เช่น สีเหลือง, สีเขียว, สีส้ม, สีชมพู มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7.9-13.5 เซนติเมตร มีรายงานความยาวสูงสุด 17 เซนติเมตร พบในเขตร้อน แถบทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและตะวันตก สำหรับในน่านน้ำไทยพบทั้งในฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ในแนวปะการัง หรือซากเรือจม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและม้าน้ำหนามขอ · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำแคระ

ม้าน้ำแคระ (Pygmy seahorse, Bargibant's seahorse) เป็นปลากระดูกแข็งในวงศ์ Syngnathidae เป็นม้าน้ำชนิดหนึ่ง พบได้ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ตอนล่างของทะเลญี่ปุ่นจนถึงอินโดนีเซีย และออสเตรเลีย ในระดับความลึกตั้งแต่ 16-40 เมตร เป็นม้าน้ำที่มีขนาดเล็ก มีความยาวไม่เกิน 2.4 เซนติเมตร ภาพนี้เพื่อค้นหาม้าน้ำแคระ ม้าน้ำแคระเป็นม้าน้ำที่ปรับตัวให้มีสีตามลำตัวเหมือนกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ได้ดีมาก โดยจะเกาะอาศัยอยู่กับกัลปังหาสกุล Muricella เท่านั้น เท่าที่ทราบกันมีอยู่ 2 สี คือ สีเทามีตุ่มสีแดง (บนกัลปังหาชนิด Muricella plectana) และสีเหลืองมีตุ่มสีแสด (บนกัลปังหาชนิด M. papraplectana) และค่อย ๆ ปรับตัวจนมีลักษณะคล้ายกับหมู่กัลปังหาที่อาศัยอยู่ โดยตุ่มอยู่รอบ ๆ ตัวและส่วนปากของม้าน้ำชนิดนี้มีสีและรูปร่างที่กลมกลืนกับโพลิปของกัลปังหา ส่วนลำตัวจะมีรูปร่างคล้ายกิ่งก้านของกัลปังหา การพรางตัวเช่นนี้ได้ผลดีมากในการพรางตัวเพื่อหลบซ่อนจากสัตว์ผู้ล่า โดยกินสัตว์ทะเลขนาดเล็ก เช่น แพลงก์ตอน หรือครัสเตเชียนต่าง ๆ เป็นอาหาร Smith, Richard E. ม้าน้ำแคระถูกค้นพบครั้งแรกจากนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษากัลปังหา โดยได้ตัวอย่างต้นแบบแรกจากกัลปังหาที่เก็บขึ้นมาจากทะเล และมีรายงานว่าม้าน้ำแคระจะตายถ้าถูกจับแยกออกจากกัลปังห.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและม้าน้ำแคระ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่

ปสเตอร์ตอน 20 ปริศนารัตติกาลทมิฬ เป็นภาพยนตร์ชุดโคนันที่มีรายได้มากที่สุด ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ เป็นภาพยนตร์ตอนพิเศษของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน โดยภาพยนตร์ชุดนี้จะออกฉายในโรงภาพยนตร์ในช่วงโกลเดน วีคในประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบันมีทั้งหมด 22 ภาคในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งฉายไปแล้ว 21 ภาค และทางไทก้าซึ่งเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์นำมาจำหน่ายครบ 21 ภาค แต่เริ่มนำมาฉายในโรงภาพยนตร์ครั้งแรกในภาคที่ 8 มนตราแห่งรัตติกาลสีเงิน นอกจากนี้บางตอนยังมีการนำไปออกอากาศทาง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในช่วง โมเดิร์นไนน์การ์ตูนสเปเชียล และทางช่อง 7, CH7 (เรียกข้อมูลวันที่ 18 ต.ค. 2552), Modernine Cartoon, 18 ต..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่มิดเวย์

ทธนาวีมิดเวย์ (Battle of Midway, ミッドウェー海戦) เป็นยุทธนาวีที่สำคัญที่สุดในแนวรบด้านมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 4 - 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยุทธนาวีที่มิดเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคน้ำแข็ง

แผ่นน้ำแข็งที่ขยายระหว่างยุคน้ำแข็ง ภาพนี้เป็นแผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย (Ice Age)เป็นช่วงเวลาที่มีการลดลงของอุณหภูมิอย่างยาวนานบนพิ้นผิวและชั้นบรรยากาศโลกและโลกเกือบถึงจุดจบ ทำให้เกิดการขยายตัวของแผ่นน้ำแข็งในผืนทวีป แผ่นน้ำแข็งขั้วโลก และธารน้ำแข็งอัลไพน์ เมื่อเริ่มเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย จะมีหิมะตกลงมาอย่างหนักทั่วผืนผิวโลก ทั้งพื้นดิน และพื้นน้ำ เช่น มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นต้น เมื่อพื้นผิวมหาสมุทรถูกปกคลุมด้วยหิมะ ทำให้ใต้ท้องมหาสมุทรไม่ได้รับแสงอาทิตย์ หรือได้รับน้อยมาก และหลังจากนั้นได้มีการระเบิดของภูเขาไฟครั้งใหญ่ขึ้น และพ่นเถ้าถ่านออกมาจากปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ทำให้โลกเกิดปรากฏการณ์โลกร้อน(Green House Effect)แล้วน้ำแข็ง และหิมะที่ปกคลุมทั่วโลกนั้นได้ละลายกลายเป็นน้ำ เมื่อน้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำ ทำให้น้ำที่ละลายไปนั้นไหลย้อนกลับขึ้นมาสู่พื้นดินดังเดิม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยุคน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคแห่งการสำรวจ

แห่งการสำรวจ หรือ ยุคแห่งการค้นพบ (Age of Exploration หรือ Age of Discovery) เป็นช่วงระยะเวลาในประวัติศาสตร์โลกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่ชาวยุโรปออกเดินทางไปสำรวจทางทะเลในโลกที่กว้างออกไปจากตัวทวีปยุโรปเองโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ สินค้าที่เป็นที่ต้องการกันมากในยุโรปในขณะนั้นคือทอง เงิน และ เครื่องเทศ ยุคแห่งการสำรวจประจวบกับช่วงที่ชาวยุโรปตะวันตกเริ่มใช้เข็มทิศในการกำหนดและระบุเส้นทาง, การใช้วิธีการเดินเรือเดินทะเลแบบใหม่, การมีแผนที่ใหม่ และความก้าวหน้าทางดาราศาสตร์ ความก้าวหน้าเหล่านี้ช่วยในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายใหม่ไปยังเอเชียโดยเลี่ยงอุปสรรคถ้าการใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมหาอำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่วิวัฒนาการขึ้นสำหรับการเดินทางทางทะเลคือเรือชนิดใหม่สองแบบที่ออกแบบโดยโปรตุเกส--เรือคาร์แร็ค (Carrack) และ เรือคาราเวล (Caravel) ที่วิวัฒนาการมาจากการออกแบบเรือในยุคกลางที่ใช้ในการเดินเรือในทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรือสองชนิดนี้เป็นเรือสองชนิดแรกที่ให้ความปลอดภัยพอที่จะฝ่าคลื่นฝ่าลมในมหาสมุทรแอตแลนติกได้เมื่อเทียบกับเรือรุ่นก่อนหน้านั้นที่ใช้กันเฉพาะในบริเวณที่คลื่นลมไม่รุนแรงเทียบเท่ากับการเดินทางกลางมหาสมุทร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยุคแห่งการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโจมง

มง หมายถึงคาบเวลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า เมื่อประมาณ 40,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ระหว่างหมู่เกาะญี่ปุ่นกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียยังคงเชื่อมต่อกันด้วยแผ่นน้ำแข็ง โดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี นักวิชาการสันนิษฐานว่ามนุษย์ Homo sapiens ได้อพยพจากทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียมาอาศัยบนหมู่เกาะญี่ปุ่นในช่วง 35,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และดำรงชีวิตแบบนักล่า-เก็บของป่าและใช้เครื่องมือหิน นักโบราณคดีได้ค้นพบเครื่องมือหิน ที่อยู่อาศัย และซากดึกดำบรรพ์ของมนุษย์ในยุคนั้นทั่วหมู่เกาะญี่ปุ่น นอกจากนี้ การศึกษาใน พ.ศ. 2531 ยังชี้ว่าชาวญี่ปุ่นมีพื้นฐานทางพันธุกรรมร่วมกับชาวเอเชียตะวันออก คำว่า โจมง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ลายเชือก ซึ่งสื่อถึงลวดลายบนภาชนะหรือตุ๊กตาดินเผาในยุคนั้นซึ่งทำโดยใช้เชือกพันรอบกิ่งไม้แล้วกดทาบลงบนวั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยุคโจมง · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส อินเดียแนโพลิส

ร์ลฮาเบอร์ ค.ศ. 1937 ยูเอสเอส อินเดียแนโพลิส (USS Indianapolis (CA-35)) คือ เรือลาดตระเวนหนักชั้นพอร์ตแลนด์ของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่เมืองอินเดียแนโพลิส รัฐอินดีแอนา ใช้งานวันแรกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและยูเอสเอส อินเดียแนโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย (Baja California) เป็นรัฐเหนือสุดและตะวันตกสุดของประเทศเม็กซิโก ก่อนที่เป็นรัฐในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ (Baja California Sur) เป็น 1 ใน 31 รัฐของประเทศเม็กซิโก ก่อนที่เป็นรัฐเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวอชิงตัน

รัฐวอชิงตัน (Washington) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในวอชิงตันมีธุรกิจชั้นนำของโลกหลายบริษัทได้แก่ โบอิง (ปัจจุบันย้ายไปที่ รัฐอิลลินอยส์) ไมโครซอฟท์ แอมะซอน.คอม นินเทนโดอเมริกา และเศรษฐกิจอื่นได้แก่ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ การทำเหมืองแร่ ป่าไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน วอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งเป็นเมืองหลวงของสหรัฐฯ อยู่ทางตะวันออกของประเทศ และไม่ได้อยู่ในรัฐวอชิงตัน ในภาพยนตร์เรื่อง Sleepless in seattle ก็สร้างในเมือง ซีแอตเติล รัฐวอชิงตัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวาฮากา

วาฮากา (Oaxaca) เป็น 1 ใน 31 รัฐของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางตะวันตกของคอคอดเตวานเตเปก (คอคอดเตวานเตเปกรวมตอนใต้ของรัฐเวรากรูซและรัฐวาฮากา) รัฐวาฮากาติดกับรัฐอื่นคือ ติดกับรัฐเกร์เรโรทางทิศตะวันตก, ติดกับรัฐปวยบลาทางทิศเหนือ, ติดกับรัฐเชียปัสทางทิศตะวันออก และติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศใต้ รัฐวาฮากาเป็นพื้นถิ่นทางประวัติศาสตร์ของชาวซาโปเทกและชาวมิกซ์เทก ยังมีคนพูดภาษาพื้นเมืองมากที่สุดกว่ารัฐใดในเม็กซิโก เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของรัฐคือเมือง วาฮากา รัฐมีพื้นที่ 95,364 กม² (36,820.2 ตร.ไมล์) รัฐวาฮากามีพื้นที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 5 ของประเทศ จากข้อมูลปี 2005 มีประชากร 3,506,821 คน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐวาฮากา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐออริกอน

รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐออริกอน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฮาลิสโก

รัฐฮาลิสโก (Jalisco) เป็น 1 ใน 31 รัฐของประเทศเม็กซิโก เป็นรัฐที่ 9 ที่ร่วมเข้ากับสหพันธรัฐ รัฐอาลิสโกตั้งอยู่ทางตอนกลาง ทิศตะวันตกของประเทศ ติดกับรัฐนายาริตและรัฐซากาเตกัสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับรัฐอากวัสกาเลียนเตสและรัฐซันลุยส์โปโตซีทางทิศเหนือ ติดกับรัฐกวานาวาโตทางทิศตะวันออก และติดกับรัฐโกลีมาและรัฐมิโชอากังทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกเป็นแนวชายหาดติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก รัฐฮาลิสโกเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 4 ถือเป็นหนึ่งในรัฐที่มีความพัฒนาทางด้านวัฒนธรรม การค้า ระดับการศึกษาที่สุดรัฐหนึ่งของประเทศ ในบางเมืองใหญ่ ๆ ของรัฐมีมาตรฐานการใช้ชีวิตเปรียบเทียบได้อย่างประเทศในสเปนหรืออิตาลี แต่ก็เหมือนในส่วนอื่นของประเทศ ที่มาตรฐานการใช้ชีวิตไม่ได้เป็นตัวแสดงถึงเมืองใหญ่เมืองอื่นของประเทศ เพราะความแตกต่างเรื่องเศรษฐกิจ เมืองหลวงของรัฐฮาลิสโกคือเมือง กวาดาลาฮาร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐฮาลิสโก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฮาวาย

รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) โดยฮาวายตั้งห่างจากชายฝั่งสหรัฐอเมริกาประมาณ 3,700 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนายาริต

รัฐนายาริต (Nayarit) เป็นรัฐในประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ช่วงกลางฝั่งตะวันตกของหาด ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก รัฐนายาริตติดกับรัฐซีนาโลอาทางตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับรัฐดูรังโกทางทิศเหนือ, ติดกับรัฐซากาเตกัสทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และติดกับรัฐฮาลิสโกทางทิศใต้ โดยติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก เมืองหลวงของรัฐนายาริตคือเมือง เตปิก ที่ตั้งอยู่ทางใต้ของแม่น้ำเตปิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐนายาริต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเชียปัส

รัฐเชียปัส (Chiapas หรือ Chiapaz) เป็นรัฐทางตอนใต้สุดของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือเมือง ตุซตลากูตีเอร์เรซ รัฐเชียปัสติดกับรัฐตาบัสโก ทางทิศเหนือ, ติดกับรัฐเวรากรูซทางตะวันตกเฉียงเหนือ และรัฐวาฮากาทางตะวันตก ทางตะวันออกของรัฐเชียปัสติดกับประเทศกัวเตมาลา และทางทิศใต้ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก รัฐเชียปัสมีพื้นที่ประมาณ 74,211 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐเชียปัส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกร์เรโร

รัฐเกร์เรโร (Guerrero) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเม็กซิโก มีพื้นที่ 64,282 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรัฐเกร์เรโร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์

ื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์สำหรับการเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อพายุถูกปลดของฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโตเกียว

ตเกียวเป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในญี่ปุ่น มีอาคารและสิ่งก่อสร้างที่สูงกว่า 180 เมตรอยู่ 39 แห่ง สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโตเกียวคือ โตเกียวทาวเวอร์ หอคอยโครงเหล็กที่สูง 333 เมตร สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2501 เป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในนญี่ปุ่น และเป็นสิ่งก่อสร้างเหล็กกล้าแบบลอยตัวที่สูงที่สุดในโลก อาคารที่สูงที่สุดและเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงเป็นอันดับสองในโตเกียวคือ มิดทาวน์ทาวเวอร์ สูง 248 เมตร สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2550 ขณะที่อาคารที่สูงเป็นอันดับสองในโตเกียวคือ อาคารสำนักงานบริหารมหานครโตเกียว มี 48 ชั้น สูง 243 เมตร นอกจากนี้ ในบรรดาอาคารและสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในญี่ปุ่น 25 อันดับแรกนั้น ตั้งอยู่ในโตเกียว 17 แห่ง อาคารระฟ้าถือเป็นปรากฏการณ์ที่ค่อนข้างใหม่สำหรับญี่ปุ่น เนื่องจากในอดีตกฎหมายมาตรฐานอาคารของญี่ปุ่นได้จำกัดความสูงของอาคารไว้สูงสุดที่ 31 เมตรด้วยเหตุผลด้านความสวยงามของเมืองและความกังวลด้านวิศวกรรม จนกระทั่ง พ.ศ. 2506 กฎหมายได้ยกเลิกการจำกัดความสูงเพื่อลดพื้นที่สำหรับสร้างอาคารแต่ละหลัง หลังจากระเบียบอาคารเปลี่ยนแปลงไป ได้มีการสร้างอาคารคะสุมิงะเซะกิซึ่งแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2511 อาคารนี้จัดว่าเป็นอาคารสูงสมัยใหม่แห่งแรกของญี่ปุ่น ด้วยจำนวนชั้น 36 ชั้น และความสูง 156 เมตร ซึ่งสูงเป็นสองเท่าของโรงแรมนิวโอทะนิ โตเกียว ขนาด 17 ชั้น ที่เคยเป็นอาคารที่สูงที่สุดในญี่ปุ่นมาก่อนหน้า เศรษฐกิจของญี่ปุ่นที่ขยายตัวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ทำให้มีการสร้างอาคารในโตเกียวเพิ่มขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1960-1970 (พ.ศ. 2503-2513) และยังคงเพิ่มขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1980-1990 (พ.ศ. 2523-2533) แม้จะเกิดเศรษฐกิจแตกฟองสบู่ก็ตาม พื้นที่ในโตเกียวถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ โตเกียวตะวันตก และเขตพิเศษ อาคารที่สูงติดอันดับในโตเกียวล้วนอยู่ภายในเขตพิเศษ 23 เขตทั้งสิ้น พื้นที่ดังกล่าวถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นเทศบาลนครโตเกียว ย่านนิชิชินจุกุในเขตชินจุกุเป็นย่านหลักของอาคารระฟ้าย่านแรกในโตเกียว โดยโรงแรมเคโอพลาซ่าซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2514 เป็นอาคารระฟ้าหลังแรกในย่านนี้ ปัจจุบันนิชิชินจุกุเป็นที่ตั้งของอาคารระฟ้า 12 หลังในบรรดาอาคารที่สูงที่สุดโตเกียว 37 อันดับแรก ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีโครงการก่อสร้างอาคารระฟ้าในโตเกียวหลายโครงการ โดยตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา มีอาคารสูงกว่า 180 เมตรสร้างแล้วเสร็จ 22 หลัง และในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 มีอาคารระฟ้าเจ็ดหลังในโตเกียวที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง อีกทั้งยังมีอีกหลายโครงการสำหรับก่อสร้างอาคารสูงกว่า 180 เมตรที่วางแผนไว้สำหรับอนาคตอันใกล้ ตัวอย่างของอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างคือ โตเกียวสกายทรี ความสูง 634 เมตร เมื่อแล้วเสร็จจะสูงกว่าโตเกียวทาวเวอร์อยู่ 277 เมตร ทำให้เป็นสิ่งก่อสร้างแบบลอยตัวที่สูงที่สุดในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทะเล

ทะเลคือพื้นที่น้ำเกลือที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร หรือทะเลขนาดใหญ่ที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล (เช่น ทะเลแคสเปียน และทะเลเดดซี) .

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อทะเล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเซนต์เซย์ย่า

รายละเอียดของตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อตัวละครในเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร ซึ่งรวมถึงรัฐเอกราชและดินแดนในภาวะพึ่งพิง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2529 ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น

รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น เริ่มจากเกาะหลักทั้งสี่เกาะ ลักษณะทั่วไปของเกาะดูเหมือนร่างกายของมังกรImperial Japanese Commission to the Louisiana Purchase Exposition.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายการสถิติพายุหมุนเขตร้อน

นี่คือรายการบันทึกสถิติของพายุหมุนเขตร้อน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและรายการสถิติพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ราอีอาเตอา

กาะบอราบอรา (บน) เกาะตาฮาอา (กลาง) และราอีอาเตอา (ล่าง) ราอีอาเตอา (ตาฮีตี: Ra’iātea) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สอง (รองจากเกาะตาฮีตี) ของหมู่เกาะโซไซตี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเฟรนช์โปลินีเซียในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ มีเมืองหลักคืออูตูโรอ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและราอีอาเตอา · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด แบรนสัน

ริชาร์ด แบรนสัน เซอร์ ริชาร์ด ชาร์ลส นิโคลาส แบรนสัน หรือ ริชาร์ด แบรนสัน (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1950 -) นักธุรกิจชาวอังกฤษ เป็นเจ้าของธุรกิจกว่า 360 บริษัท ที่ใช้ชื่อการค้า "เวอร์จิ้น" ริชาร์ด แบรนสัน เริ่มทำธุรกิจตั้งแต่อายุ 15 ปี โดยเริ่มทำนิตยสารรายเดือนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย ชื่อว่า Student และเริ่มขยายธุรกิจจัดจำหน่ายแผ่นเสียงทางไปรษณีย์ ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและริชาร์ด แบรนสัน · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทร

ปลือกโลกใต้มหาสมุทรจะเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทรขณะที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจะถูกมุดกลับเข้าไปในชั้นฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร ร่องลึกก้นสมุทร (oceanic trench) เป็นร่องหลุมลึกของพื้นผิวท้องทะเลที่มีลักษณะภูมิประเทศยาว แคบ และโค้ง และถือว่าเป็นส่วนของมหาสมุทรที่ลึกที่สุด ร่องลึกก้นสมุทรถือเป็นหนึ่งในขอบเขตทางธรรมชาติที่สำคัญที่สุดบนพื้นผิวในส่วนที่เป็นของแข็งของโลกระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ขอบเขตระหว่างแผ่นธรณีภาคชั้นนอกมี 3 ประเภท คือ ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (divergent boundary) (เป็นขอบเขตที่เกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร) ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (convergent boundary) (เป็นขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจมลงไปใต้อีกแผ่นหนึ่งกลับลงไปสู่ชั้นเนื้อโลก) และขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกัน (transform boundary) ร่องลึกก้นสมุทรเป็นลักษณะของขอบเขตระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่โดดเด่นชัดเจน โดยเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราการลู่เข้าหากันที่แปรผันจากปีละไม่กี่มิลลิเมตรจนไปถึงสิบเซนติเมตรหรือมากกว่า ร่องลึกก้นสมุทรหนึ่งๆเป็นตำแหน่งที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกหนึ่งมีการโค้งมุดลงไปใต้แผ่นธรณีภาคชั้นนอกอีกแผ่นหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วร่องลึกก้นสมุทรจะขนานไปกับแนวหมู่เกาะรูปโค้ง (volcanic arc) และอยู่ห่างจากแนวหมู่เกาะรูปโค้งออกไปประมาณ 200 กิโลเมตร โดยทั่วไปร่องลึกก้นสมุทรจะมีความลึกประมาณ 3 ถึง 4 กิโลเมตรลงไปจากพื้นมหาสมุทรรอบข้าง ส่วนที่ลึกที่สุดอยู่ที่ร่องลึกชาลเลนเจอร์ของร่องลึกก้นสมุทรมาเรียน่าซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรใต้ระดับทะเล แผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรจะเคลื่อนที่หายเข้าไปในร่องลึกก้นสมุทรด้วยอัตราประมาณ 10 ตารางเมตรต่อวินาที.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและร่องลึกก้นสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา

ตำแหน่งของร่องลึกบาดาลมาเรียนา ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา (Mariana Trench, Marianas Trench) เป็นชื่อธรณีวิทยาทางทะเลของร่องลึกก้นสมุทรที่ลึกที่สุดในโลก และเป็นจุดที่ต่ำที่สุดของเปลือกโลกเท่าที่ทราบกันในปัจจุบัน ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนามีตำแหน่งอยู่ที่ก้นมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือ และอยู่ในแนวตะวันออกและแนวใต้ของหมู่เกาะมาเรียนา ณ พิกัด 11° 21’ เหนือ และ 142° 12’ ตะวันออก ใกล้เกาะกวม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2482

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2495

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2500

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2501

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2502

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2503

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2504

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2505

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2506

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2507

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2508

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2509

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2510

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2511

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2512

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2558–2559

ูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2558–2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง

แนวโน้มการเกิดอุบัติภัยธรรมชาติ http://www.grid.unep.ch/product/publication/download/article_climate_change_hazards.pdf Pascal Peduzzi (2004) "Is climate change increasing the frequency of hazardous events?" ''Environment Times'' UNEP/GRID-Arendal ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (Extreme weather) หมายถึงปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีความสุดโต่งเทียบกับอุบัติภัยธรรมชาติที่มีบันทึกไว้โดยรวม โดยเฉพาะลมฟ้าอากาศที่มีความรุนแรงมาก หรือลมฟ้าอากาศที่ผิดไปจากปกต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและลมฟ้าอากาศสุดโต่ง · ดูเพิ่มเติม »

ลองบีช (รัฐแคลิฟอร์เนีย)

ลองบีช (อังกฤษ: Long Beach) เป็นเมืองตั้งอยู่ทางทิศใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนีย บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ในเขตลอสแอนเจลิสเคาน์ตี้ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองลอสแอนเจลิส 32 กิโลเมตร ในปี 2552 มีจำนวนประชากรประมาณ 492,682 คน ท่าเรือลองบีช เป็นหนึ่งในท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก อุตสาหกรรมที่สำคัญของเมือง คือ อุตสาหกรรมน้ำมันซึ่งพบมากทั้งบนบกและในน้ำ อากาศยาน และชิ้นส่วนรถยนต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและลองบีช (รัฐแคลิฟอร์เนีย) · ดูเพิ่มเติม »

ลิมา

จัตุรัสกลางเมืองลิมา ลิมา เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเปรู รวมทั้งของจังหวัดลิมา และยังเป็นศูนย์กลางการขนส่ง การเงิน อุตสาหกรรม และวัฒนธรรมของประเทศอีกด้วย ตั้งอยู่บริเวณที่ห้อมล้อมด้วยหุบเขาชียอง แม่น้ำรีมัก และแม่น้ำลูริง ริมชายฝั่งแห้งแล้งซึ่งอยู่ติดกับอ่าวในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีท่าเรือที่สร้างขึ้นและตั้งชื่อว่า กายาโอ (Callao) ลิมาตั้งขึ้นโดยฟรันซิสโก ปีซาร์โร ผู้พิชิตชาวสเปน เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2078 โดยให้ชื่อว่า นครแห่งเหล่ากษัตริย์ (City of Kings) ลิมาเป็นเมืองและเขตนครหลวงสำคัญที่สุดในทวีปอเมริกาใต้มานานกว่าสามศตวรรษ ปัจจุบันจำนวนประชากรเกือบหนึ่งในสามของทั้งประเทศอาศัยในเขตนครหลวงของเมืองนี้ เนื่องจากไม่มีการกำหนดเขตบริหารของเมืองนี้อย่างเป็นทางการ โดยทั่วไปจึงจัดว่ากรุงลิมาประกอบด้วย 30 เขตจาก 43 เขตของจังหวัดลิมา และเป็นแก่นของเขตนครหลวงลิมา หนึ่งในสิบเขตนครหลวงที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกา หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศเปรู หมวดหมู่:เมืองในประเทศเปรู หมวดหมู่:แคว้นลิมา.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและลิมา · ดูเพิ่มเติม »

ลูกบาศก์เมตร

ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 1มิลลิลิตร ลูกบาศก์เมตร คือ หน่วยอนุพันธ์ของหน่วยพื้นฐานในระบบ หน่วยเอสไอ คือ หน่วยความยาวมาคูณกัน ใช้สำหรับวัดปริมาตร เทียบได้กับลูกบาศก์ที่มีความกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร สูง 1 เมตร ตัวย่อของหน่วยวัดคือ ม³ (m³) หรือ ล.ม. 1 ลูกบาศก์เมตร มีค่าเท่ากั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและลูกบาศก์เมตร · ดูเพิ่มเติม »

ลูลูงา

ลูลูงา เป็นอำเภอและหมู่เกาะในเขตการปกครองฮาอะไป ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรตองงา ลูลูงาเป็นหมู่เกาะที่ประกอบไปด้วยเกาะทั้งสิ้น 17 เกาะแต่มีเพียง 5 เกาะเท่านั้นที่มีประชากรอยู่อาศัย อันได้แก่ ฮาอะเฟวา มาตูกู โกตู โออัว และตูงูอา ลูลูงามีประชากรทั้งสิ้น 1055 คน โดยส่วนใหญ่แล้วอาศัยอยู่ในฮาอะเฟว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและลูลูงา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมแลพีตา

ริเวณที่มีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาของวัฒนธรรมแลพีตา วัฒนธรรมแลพีตา (Lapita Culture) เป็นกลุ่มบุคคลหรือวัฒนธรรมในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งดำรงอยู่ในช่วงระยะเวลาประมาณ 1600 ปีก่อนคริสตกาลถึง 500 ปีก่อนคริสตกาล นักโบราณคดีเชื่อว่าชาวแลพีตาเป็นบรรพบุรุษและเป็นจุดกำเนิดของวัฒนธรรมทั้งในภูมิภาคพอลินีเซีย ไมโครนีเซีย และบางพื้นที่ของเมลานีเซีย ลักษณะของวัฒนธรรมแลพีตาเป็นการขยายพื้นที่อยู่อาศัยในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่ไม่เคยมีใครอยู่อาศัยมาก่อน ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายการอยู่อาศัยอย่างกว้างขวาง การปั้นเครื่องปั้นดินเผา การแพร่กระจายของการใช้หินออปซีเดียน รวมไปถึงการแพร่กระจายของกลุ่มภาษาโอเชียเนีย ชาวแลพีตาอาจเป็นกลุ่มคนที่มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในการนำทางและการเดินเรือในสมัยนั้น จากการเดินทางหาเกาะสำหรับการอยู่อาศัยในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่กว้างใหญ่ ทายาทของชาวแลพีตาคือคนในกลุ่มพอลินีเซียในปัจจุบันที่ลงหลักปักฐานตั้งแต่ฮาวายจนถึงเกาะอีสเตอร์ นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ว่าผู้คนในวัฒนธรรมแลพีตาอาจเคยเดินทางถึงทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวัฒนธรรมแลพีตา · ดูเพิ่มเติม »

วาลิสและฟูตูนา

วาลิสและฟูตูนา (Wallis and Futuna; Wallis et Futuna; ภาษาฟากาอูเวอาและภาษาฟูตูนา: Uvea mo Futuna) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา (Territory of the Wallis and Futuna Islands; Territoire des îles Wallis-et-Futuna) เป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 264 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 2 หมู่เกาะคือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวาลิสและฟูตูนา · ดูเพิ่มเติม »

วาฬสีน้ำเงิน

วาฬสีน้ำเงิน (Blue whale; ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera musculus) เป็นวาฬบาลีน (Balaenopteridae) และถือเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก วาฬสีน้ำเงินในขนาดปกติโดยทั่วไปจะยาวประมาณ 26-29 เมตร แต่ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมีความยาว 31.2 เมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 100-200 ตัน เฉพาะลิ้นก็มีน้ำหนักเกือบเท่าช้างหนึ่งตัว หัวใจมีขนาดเท่ารถยนต์คันหนึ่ง และเส้นเลือดบางเส้นกว้างขนาดที่มนุษย์พอจะลงไปว่ายน้ำได้ และครีบหางก็มีขนาดกว้างกว่าปีกของเครื่องบินโดยสารขนาดเล็ก จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเท่าที่เคยมีมา มีขนาดใหญ่กว่าไดโนเสาร์ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาศัยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้, แอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย รวมถึงในมหาสมุทรแอนตาร์กติกด้วย และแม้จะมีขนาดร่างกายใหญ่โต แต่วาฬสีน้ำเงินก็มีรูปร่างเพรียวยาวเหมาะแก่การว่ายน้ำ จึงสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 20 นอตต่อชั่วโมง ลูกวาฬจะกินเฉพาะนมแม่ที่มีไขมันสูงถึงร้อยละ 40 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นชั่วโมงละ 4 กิโลกรัม กินเคยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แต่ก็อาจจะกินสัตว์น้ำขนาดเล็กเช่น ปลาขนาดเล็กเข้าไปด้วย สามารถดำน้ำลงไปหาอาหารได้ลึกถึง 100 เมตร และปกติจะดำน้ำนาน 20 นาที แต่มีบันทึกสูงสุดว่าดำได้นานถึง 40 นาที และพ่นน้ำได้สูงถึง 9 เมตร ทั้งนี้ วาฬสีน้ำเงินที่โตเต็มวัยกินเคยวันหนึ่งได้มากถึง 4 ตัน วาฬสีน้ำเงินถูกล่าอย่างหนักเพื่อต้องการไขมันและน้ำมัน โดยเฉพาะในช่วง 70 ปีแรกของศตวรรษที่ 20 คาดว่ามีวาฬสีน้ำเงินราว 500,000 ตัวถูกฆ่าตาย ประชากรวาฬรอบเกาะเซาท์จอร์เจียในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ถูกฆ่าแบบล้างบาง รวมทั้งพวกที่เคยหากินอยู่นอกชายฝั่งญี่ปุ่นด้วย ประชากรวาฬสีน้ำเงินบางกลุ่มลดจำนวนลงถึงร้อยละ 93 จนเข้าสู่สภาพของการเป็นสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ กระทั่งถึงช่วงกลางทศวรรษ 1950 จึงได้มีการอนุรักษ์ขึ้นมาอย่างจริงจัง นอกจากนี้แล้ว วาฬสีน้ำเงินยังเป็นสัตว์ที่ส่งเสียงร้องได้กว้างไกลที่สุดในโลกอีกด้วย โดยสามารถส่งได้ได้ดังถึง 1,500 กิโลเมตร ในลักษณะของคลื่นเสียงที่มีความหลากหลาย ซึ่งเชื่อกันว่าไม่ได้เป็นไปในการสื่อสารเพียงอย่างเดียว หากแต่ยังใช้การนำทางอีกด้วย ปัจจุบัน มีปริมาณวาฬสีน้ำเงินในซีกโลกใต้อยู่ประมาณ 1,350 ตัว อีกทั้งมีหลักฐานว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี แต่ยังไม่มีการประมาณจำนวนวาฬชนิดนี้ที่ดีพอในบริเวณอื่นของโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวาฬสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561

ในปี 2560 ประเทศเกาหลีเหนือดำเนินการทดสอบขีปนาวุธและนิวเคลียร์ซึ่งแสดงความสามารถของประเทศในการปล่อยขีปนาวุธทิ้งตัวไกลเกินภูมิภาคประชิดและแนะว่าขีดความสามารถอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือกำลังพัฒนาในอัตราเร็วกว่าที่ประชาคมข่าวกรองสหรัฐเคยประเมินไว้เดิม เหตุนี้ ร่วมกับการซ้อมรบร่วมสหรัฐ–เกาหลีใต้ที่จัดเป็นประจำในเดือนสิงหาคม 2560 เช่นเดียวกับการขู่ของสหรัฐ เพิ่มความตึงเครียดระหว่างประเทศทั้งในและนอกภูมิภาค NYT, August 9, 2017.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561 · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการ

ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ. 2402 ชาร์ล ดาวิน ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดสปีชีส์ ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการโดยกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

วีตีเลวู

วีตีเลวู (Viti Levu) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟีจี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ภูมิประเทศเกือบทั้งหมดเป็นภูเขา มีแม่น้ำสายใหญ่ที่สุดชื่อ แม่น้ำเรวา มีกรุงซูวาซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศตั้งอยู่บนเกาะนี้ หมวดหมู่:เกาะในประเทศฟีจี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวีตีเลวู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยงูโบอา

วงศ์ย่อยงูโบอา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Boinae; Boa, Anaconda) เป็นวงศ์ย่อยของงูไม่มีพิษในวงศ์ Boidae มีลักษณะโดยรวม คือ กระดูกพรีฟรอนทัลชิ้นซ้ายและขวามีขอบด้านในอยู่ชิดกันหรือแตะกัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนอินฟราเรดกระจายอยู่รอบขอบปากบนและล่าง เป็นงูที่มีขนาดใหญ่ ขนาดเล็กที่สุด คือ ชนิด Candoia aspera ที่มีขนาดความยาว 60-90 เซนติเมตร และใหญ่ที่สุด คือ Eunectes murinus หรืองูอนาคอนดาเขียว ที่ยาวได้ถึง 11.5 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม แต่ว่าในยุคก่อนประวัติศาสตร์มีงูในวงศ์ย่อยนี้อยู่ชนิดหนึ่ง คือ ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส (Titanoboa cerrejonensis) ซึ่งได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว มีความยาวได้ถึง 13 หรือ 15 เมตร และอาจมีน้ำหนักได้มากถึง 2 ตัน ซึ่งนับว่าใหญ่และหนักกว่างูอนาคอนดาที่พบได้ในยุคปัจจุบันนี้มาก ค้นพบครั้งแรกเป็นซากดึกดำบรรพ์ในประเทศโคลอมเบีย เมื่อปี ค.ศ. 2007 มีทั้งหมด 28 ชนิด 5 สกุล โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัวทั้งสิ้น จำนวนลูกที่คลอดแต่ละครั้งจะแตกต่างออกไปตามแต่ละสกุลและชนิด โดยสกุล Cadoia ซึ่งเป็นสกุลที่มีขนาดเล็กจะตกลูกครั้งละ 5-6 ตัว แต่ในขณะที่สกุล Eunectes หรือที่รู้จักดีในชื่อ งูอนาคอนดา ซึ่งมีขนาดใหญ่จะตกลูกได้ถึงครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น หรือสกุล Boa ที่ตกลูกได้ถึงครั้งละ 60-70 ตัว เป็นงูที่ล่าเหยื่อได้แก่ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วยการใช้การรับรู้จากอินฟราเรดจากตัวเหยื่อด้วยการเข้ารัดเหมือนงูในวงศ์ Pythonidae พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาใต้, เกาะมาดากัสการ์ และหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ย่อยงูโบอา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระเบนนก

วงศ์ปลากระเบนนก (วงศ์: Myliobatidae, Eagle ray) เป็นวงศ์ของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Myliobatidae จัดเป็นวงศ์ใหญ่มีวงศ์ย่อยแยกออกไปจำนวนหนึ่ง ทั้งหมดเป็นปลาที่อาศัยและหากินอยู่ในทะเล โดยมักจะพบรวมตัวกันเป็นฝูง ในบางครั้งอาจเป็นถึงร้อยตัว มีจุดเด่นคือ มีหัวโหนก ครีบด้านข้างแยกออกจากส่วนหัวเห็นได้ชัดเจน และครีบขยายออกด้านข้างเสมือนกับปีกของสัตว์ปีก ปลายแหลม มีซี่กรองเหงือกทั้งหมด 5 ซี่ อยู่ด้านล่างของลำตัว ด้านท้องสีขาว มีส่วนหางเรียวกว่าและเล็กกว่าปลากระเบนในวงศ์ Dasyatidae ด้วยความที่มีครีบแยกออกจากส่วนหัวชัดเจน ทำให้ปลากระเบนในวงศ์นี้สามารถว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนการบินของนก จึงทำให้เป็นที่มาของชื่อเรียก ซึ่งในบางชนิดอาจกระโดดขึ้นเหนือน้ำได้ด้วย โดยมากแล้วมักจะว่ายในระดับผิวน้ำหรือตามแนวปะการัง มีฟันที่หยาบในปาก หากินอาหารได้แก่ ครัสเตเชียน, หอย, หมึก, ปลาขนาดเล็ก รวมทั้งแพลงก์ตอนด้วยในบางสกุล ซึ่งเวลาหากินสัตว์ที่อยู่ตามหน้าดิน จะใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายเอา บางชนิดอาจว่ายเข้ามาหากินในแหล่งน้ำกร่อยแถบปากแม่น้ำหรือท่าเรือต่าง ๆ ได้ด้วย พบกระจายพันธุ์ในน่านน้ำเขตอบอุ่นทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นปลากระเบนขนาดใหญ่ มีขนาดความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร ซึ่ง ปลากระเบนแมนตา (Manta spp.) ซึ่งเป็นปลากระเบนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ก็อยู่ในวงศ์นี้ด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลากระเบนนก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงขาว

วงศ์ปลากะพงขาว (Perch) วงศ์ปลาวงศ์หนึ่ง เป็นปลากินเนื้อในอันดับ Perciformes พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล พบกระจายในภูมิภาคเขตร้อนตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงทวีปเอเชีย ทั้งในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Latidae (/เลท-ที-เด-อา/) มีทั้งหมด 11 ชนิด ใน 3 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลากะพงขาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงแดง

วงศ์ปลากะพงแดง หรือ วงศ์ปลากะพงข้างปาน (วงศ์: Lutjanidae, Snapper) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะคือ มีครีบหลังยาวต่อเนื่องไปจนถึงโคนหาง แบ่งเป็นครีบแข็ง 10-12 ซี่ ครีบอ่อน 10-17 ซี่ ครีบก้นที่เป็นครีบอ่อน 7-11 ซี่ ส่วนหัวใหญ่ ปากมีลักษณะกว้างยาว ยืดหดได้ ฟันมีลักษณะเล็กแหลมคมและมีหลายแถวในขากรรไกร ซึ่งบางชนิดอาจมีฟันเขี้ยวได้เมื่อโตเต็มที่ ริมฝีปากหนา พบทั้งหมด 17 สกุล มีมากกว่า 160 ชนิด โดยมีสกุลใหญ่คือ Lutjanus โดยพบในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถปรับตัวให้อาศัยและหากินในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ เช่น ปลากะพงแดง (Lutjanus argentimaculatus) หรือ ปลากะพงข้างปาน (L. russellii) เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เนื่องด้วยเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญจำพวกหนึ่ง และนิยมตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย ในน่านน้ำไทยพบประมาณ 25 ชนิด สำหรับชื่อสามัญในภาษาแต้จิ๋วจะเรียกว่า "อังเกย" (紅鱷龜).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลากะพงแดง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา หรือ วงศ์ปลาแฮลิบัต (Righteye flounder, Halibut, Dab) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pleuronectidae ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทะเล มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำกร่อย และชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดจะหาได้ยากมาก แพร่กระจายในมหาสมุทรอาร์กติก, แอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ตาทั้งสองข้างโดยปกติอยู่ด้านขวา ครีบไม่มีก้านครีบ ครีบหลังและครีบทวารยาวและต่อเนื่องกัน โดยที่ครีบหลังจะยาวเลยส่วนหัวไป ถุงลมที่ช่วยในการว่ายน้ำจะหายไปเมื่อปลาโตขึ้น เม็ดสีด้านที่หงายขึ้นจะสามารถปรับเปลี่ยนผิวหนังให้เข้ากับสภาพพื้นใต้น้ำได้ดี ปลาในวงศ์นี้จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ เป็นปลาที่มักพบอาศัยในน้ำลึก อาจจะพบได้ลึกถึง 2,000 เมตร (6,600 ฟุต) พบทั้งหมดประมาณ 101 ชนิด ใน 41 สกุล 8 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง-ขณะที่บางข้อมูลจะแบ่งเพียงแค่ 5) โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาแอตแลนติกแฮลิบัต (Hippoglossus hippoglossus) ที่ใหญ่ได้กว่าถึง 2-4.7 เมตร โดยคำว่า Pleuronectidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก คำว่า πλευρά (pleura) หมายถึง "ด้านข้าง" และ νηκτόν (nekton) หมายถึง "ว่ายน้ำ".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นเสือ

วงศ์ปลาลิ้นเสือ หรือ วงศ์ปลาลิ้นหมาฟันใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralichthyidae) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในทะเล ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหาได้ยากมาก ลำตัวด้านขวาจะราบไปกับพื้นน้ำ ตาทั้งสองข้างอยู่ด้านซ้ายของลำตัวบริเวณส่วนหัวเหมือนกับวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Bothidae) ลักษณะเด่น คือ ไม่มีก้านครีบบริเวณครีบอกและครีบเชิงกราน ฐานครีบเชิงกรานจะสั้นและเกือบจะสมมาตร โดยมากจะพบได้ในเขตอบอุ่นหรือเขตร้อน มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและตกปลาในเชิงการกีฬา อาทิ ปลาแฮลิบัตญี่ปุ่น (Paralichthys olivaceus) ขณะที่ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ปลาลิ้นเสือ (Pseudorhombus arsius) ปัจจุบัน มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 14 สกุล (ดูในตาราง) 115 ชนิด โดยที่คำว่า Paralichthyidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก paralia หมายถึง "ด้านข้างทะเล", coast บวกกับภาษากรีกคำว่า ichthys หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาลิ้นเสือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว หรือ วงศ์ปลาตะไบ (วงศ์: Monacanthidae, เกาหลี: 쥐치) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) วงศ์หนึ่ง มีรูปร่างโดยรวม คือ มีผิวหนังที่หยาบ มีเกล็ดเล็กละเอียดปกคลุมทั้งตัว ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน มีก้านครีบหลังก้านแรกเป็นแท่งกระดูกใหญ่ ซึ่งแหลมและแข็งแรงคล้ายเขาสัตว์ ซึ่งสามารถใช้ยกขึ้นเพื่อป้องกันตัวเองได้ ครีบหลังตอนที่ 2 เป็นครีบที่อ่อนนุ่ม ครีบท้องลดรูปไปโดยที่ก้านครีบก้านแรกเป็นเงี่ยงแข็ง ครีบก้นยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีฟันในขากรรไกรด้านนอก 3 ชุด และด้านใน 2 ชุด มีจุดเด่น คือ ในบางสกุลมีจะงอยปากยื่นนยาวออกมาคล้ายท่อหรือหลอด ใช้สำหรับซอกซอนหาอาหารในแนวปะการัง และมีรูปร่างที่เรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวได้ถึง 110 เซนติเมตร พบทั้งหมด 26 สกุล ราว 107 ชนิด กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือตามกอสาหร่ายที่มีกระแสน้ำไหลอ่อน ๆ ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร โดยหากินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังเหมือนกับปลาในวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน โดยจะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นอาหารหลัก หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในแนวปะการังในเวลากลางคืน มีการแพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในแหล่งน้ำกร่อย มีตัวผู้เป็นผู้ดูแล เป็นปลาที่เป็นที่นิยมชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งไม่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ด้วย อีกทั้งในอาหารเกาหลี ยังสามารถทำเป็นอาหารรับประทานเล่นได้ด้วย โดยแปรรูปเป็นขนมอบแห้งเรียกว่า "จุยโป" (쥐포) และในอดีตมีการใช้หนังของปลาในวงศ์ปลาวัวจมูกยาวนี้ทำเรือไม้ด้วย โดยคำว่า Monacanthidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Monos" หมายถึง เดี่ยว หรือ อันเดียว ผสมกับคำว่า "Akantha" หมายถึง หนาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสาก

วงศ์ปลาสาก หรือ วงศ์ปลาน้ำดอกไม้ (Barracuda, Seapike) วงศ์ปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphyraenidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวค่อนข้างกลมยาว หัวแหลม ปากกว้าง กรามล่างยื่นยาวกว่ากรามบน มีฟันแหลมคมแข็งแรง ตาโต เกล็ดเล็กบางขอบเรียบ มีครีบหลัง 2 ตอน พื้นลำตัวมีสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ทั้งสีน้ำตาลอมเหลือง หรือลายบั้งขวางลำตัวเป็นท่อน ๆ หรือแต้มจุด แต่โดยมากมักเป็นสีฟ้าเทา ครีบหางเป็นแฉกรูปตัววี (V) มีขนาดความยาวตั้งแต่ 30-180 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่บางครั้งอาจถึง 1,000 ตัว เป็นปลาที่มีความว่องไวปราดเปรียว ไล่ล่าฝูงปลาชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร นับเป็นผู้ล่าอันดับต้น ๆ ของห่วงโซ่ชีวิตในทะเลจำพวกหนึ่ง เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็ก จะอาศัยอยู่รวมกับฝูงปลาอย่างอื่น อาทิ ปลากะตัก ตามกองหินหรือแนวปะการังใต้น้ำ หรือตามปากแม่น้่ำ ที่เป็นแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด ปลาสาก สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้ เช่นเดียวกับปลาฉลาม ด้วยการกัดจากกรามและฟันที่แข็งแรง สามารถงับปลาอื่นที่เป็นอาหารให้ขาดสองท่อนได้จากการงับเพียงครั้งเดียว ที่สหรัฐอเมริกามีกรณีที่ปลากระโดดขึ้นมาจากน้ำงับแขนของเด็กผู้หญิงวัย 14 ปีที่นั่งอยู่บนเรือ เป็นแผลฉกรรจ์ต้องเย็บไปทั้งสิ้น 51 เข็ม แต่ไม่เคยมีรายงานว่าทำอันตรายได้ถึงแก่ชีวิต ปลาสาก เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ด้วยนิยมบริโภคและซื้อขายกันในตลาดสด และนิยมตกเป็นเกมกีฬา สามารถแบ่งออกเป็นชนิดได้ทั้งหมด 26 ชนิด ในสกุลเดียว กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟิก ในทวีปอเมริกาพบได้ตั้งแต่บราซิลไปจนถึงฟลอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาสาก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสามรส

ำหรับปลาวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาปากแตร วงศ์ปลาสามรส หรือ วงศ์ปลาปากแตร หรือ วงศ์ปลาปากขลุ่ย (Cornetfish) วงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Fistulariidae มีลักษณะเด่น คือ หัวและลำตัวแบนลงแต่แคบและยาวมาก ตาโต ปากเป็นท่อยาว มีช่องปากขนาดเล็กอยู่ปลายสุดเชิดขึ้นดูคล้ายแตร ลำตัวไม่มีเกล็ด ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบหางเป็นแฉกมีเส้นยาวคล้ายแส้ยื่นออกจากกึ่งกลางครีบ ลำตัวทั่วไปรวมทั้งหัว และครีบสีน้ำตาลแดง ขนาดยาวได้ถึง 1 เมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร (Aulostomidae) แต่มีลำตัวเรียวยาวและผอมกว่า และไม่มีก้านครีบแข็งหน้าครีบหลัง พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง หากินในเวลากลางคืน โดยกินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาปากแตร ไม่ถือว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีการบริโภคกันในท้องถิ่น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีทั้งหมด 1 สกุล แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาสามรส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสินสมุทร

วงศ์ปลาสินสมุทร (Angelfish, Marine angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthidae (/โป-มา-แคน-ทิ-ดี้/) ปลาสินสมุทรนั้นมีรูปร่างและสีสันโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) บางสกุล เช่น Chaetodon กล่าวคือ มีรูปร่างแบนข้างเป็นทรงรีหรือรูปไข่ในแนวนอน ปากมีขนาดเล็กมีริมฝีปากหนา เกล็ดเล็กละเอียดกลม ไม่มีหนามที่ขอบตาด้านหน้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของปลาในวงศ์นี้ เส้นข้างลำตัวโค้งและสมบูรณ์ ครีบท้องและครีบทวารมนกลม ก้านครีบแข็งค่อนข้างจะยาวกว่าก้านครีบอ่อน โดยก้านครีบอันแรกของครีบเอวจะยาวมาก ครีบหางมีลักษณะเป็นหางตัดหรือมนกลม ปลาสินสมุทรจัดเป็นปลาที่พบได้ในแนวปะการังวงศ์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ คือ มีขนาดตั้งแต่ 10-40 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ตามช่วงวัย มีอาณาบริเวณหากินค่อนข้างชัดเจน อีกทั้งเป็นปลาที่ไม่เกรงกลัวมนุษย์ ซ้ำยังมักว่ายน้ำเข้าหามาเมื่อมีผู้ดำน้ำลงไปในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย โดยอาศัยและหากินในแนวปะการังเป็นหลัก แต่ก็มีบางชนิดที่หากินลึกลงไปกว่านั้นเป็นร้อยเมตร ไม่จัดว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนหรือปลาผีเสื้อ อันเนื่องจากสีสันที่สวยงาม พบทั้งหมด 9 สกุล (ดูในตาราง) มีประมาณ 74 ชนิด ในน่านน้ำไทย พบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Pomacanthus imperator), ปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) และปลาสินสมุทรลายบั้ง (P. sexstriatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาสินสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหางแข็ง

วงศ์ปลาหางแข็ง (Jacks, Pompanos, Horse mackerels, Scads, Trevallies, Crevallies, Tunas) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Carangidae มีรูปร่างลำตัวสั้นหรือค่อนข้างสั้น คอดหางเรียว มีเกล็ดขนาดเล็กแบบราบเรียบ เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ มีเกล็ดแปรรูปขนาดใหญ่ที่บริเวณเส้นข้างลำตัว โดยเฉพาะบริเวณข้อหางเสมือนเกราะ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ส่วนหน้าโค้งงอ ส่วนท้ายอาจมีหรือไม่มีสันกระดูกแข็ง ส่วนใหญ่มีซี่กรองเหงือกยาวเรียวครีบหลังมีสองตอนแยกจากกัน ครีบแรกมีเงี่ยงไม่แข็ง บริเวณหน้าครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 2 อัน แยกออกมาจากครีบก้น ซึ่งสามารถพับได้ ครีบอกยาวเรียวโค้งแบบรูปเคียว ครีบหางเว้าลึกแบบส้อม พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก และมหาสมุทรอินเดีย ปลาขนาดเล็กจะอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง หรือตามแหล่งน้ำจืดหรือน้ำกร่อยใกล้ทะเล เช่น ปากแม่น้ำ, ชะวากทะเล เป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร มีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูงขนาดใหญ่ มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 25-100 เซนติเมตร ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ 2 เมตร แบ่งออกเป็น 30 สกุล ประมาณ 151 ชนิด จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมากวงศ์หนึ่ง โดยมีการนำไปบริโภคทั้งสด และแปรรูปเป็น ปลากระป๋อง (โดยเฉพาะใช้แทนปลาในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae), ปลาเค็ม เป็นต้น ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด โดยชนิดที่สำคัญ ๆ และเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ปลาสำลี (Seriolina nigrofasciata), ปลาหางแข็ง (Megalaspis cordyla), ปลาหางแข็งบั้ง (Atule mate), ปลาข้างเหลือง (Selaroides leptolepis), ปลากะมง (Caranx sp.), ปลาโฉมงาม (Alectis sp.) และปลาจะละเม็ดดำ (Parastromateus niger) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาหางแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหูช้าง

วงศ์ปลาหูช้าง หรือ วงศ์ปลาค้างคาว หรือ วงศ์ปลาคลุด (Batfish, Spadefish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ephippidae ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไป ลำตัวแบนทรงกลมหรือเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ด้านข้างลำตัวแบนข้างมาก เกล็ดมีขนาดเล็กหรือปานกลางเป็นแบบสาก หัวมีขนาดเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ยืดหดไม่ได้ อาจมีครีบสันหลังหรือไม่มีก็ได้ ครีบหูสั้นและกลม กระดูกซับออคิวลาร์ เชลฟ์ กว้างหรือแคบ ครีบหางมีทั้งแบบกลมและแยกเป็นแฉก เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและอบอุ่น พบทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70 เซนติเมตร โดยจะอาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงหรือเป็นคู่ ลูกปลาวัยอ่อนจะเลี้ยงตัวในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำจืด เช่น ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน โดยมีสีสันแตกต่างจากปลาวัยโต และมีครีบต่าง ๆ ยาวกว่าด้วย เพื่อตบตาสัตว์นักล่าขนาดใหญ่กว่า นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาในแถบแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบ 2 ชนิด คือ ปลาหูช้างยาว (Platax teira) และปลาหูช้างกลม (P. orbicularis) โดยปกติแล้วจะไม่ถือเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่ก็ใช้รับประทานกันได้ และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานไว้ทั้งหมด 8 สกุล (ดูในตาราง) ราว 18 ชน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาผีเสื้อ

วงศ์ปลาผีเสื้อ (วงศ์: Chaetodontidae, Butterflyfish, Bannerfish, Coralfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลจำพวกหนึ่ง ในชั้นปลากระดูกแข็ง อันดับปลากะพง (Perciformes) ประกอบไปด้วยสมาชิกแบ่งออกเป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 10 สกุล พบประมาณ 114 ชนิด มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวสั้น แบนด้านข้าง ปากมีขนาดเล็กอาจยืดหดได้ ภายในปากมีฟันละเอียด ครีบหลังมีอันเดียว ประกอบด้วยก้านครีบแข็งอยู่ส่วนหน้าและก้านครีบอ่อนอยู่ถัดไป ครีบทวารมีก้านครีบแข็ง 3 อัน และแผ่นยื่นรับกับครีบหลัง มีนิสัยเฉื่อยชา ว่ายน้ำหรือเคลื่อนไหวไปอย่างช้า ๆ ไม่ว่องไว มีสีสันและลวดลายที่สดใสสวยงาม มีพฤติกรรมอาศัยเป็นฝูงหรือเป็นคู่ในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค เป็นปลาที่ออกหากินในเวลากลางวัน โดยอาศัยการแทะกินสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ตามแนวปะการัง ส่วนในเวลากลางคืนจะอาศัยหลับนอนตามโพรงหินหรือปะการัง และจะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้มขึ้นเพื่ออำพรางตัวจากศัตรู ซึ่งในหลายชนิดและบางสกุล จะมีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่คล้ายดวงตาอยู่บริเวณท้ายลำตัวเพื่อล่อหลอกให้ศัตรูสับสนได้อีกด้วยคล้ายกับผีเสื้อที่เป็นแมลง มีการสืบพันธุ์วางไข่โดยการปล่อยไข่ให้ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนจะรอวันให้ลูกปลาฟักออกมาเป็นตัวและกลับไปอาศัยในแนวปะการังต่อไป ลูกปลาผีเสื้อแทบทุกชนิดมีรูปร่างหน้าตาแทบจะเหมือนกับตัวเต็มวัย โดยมักจะมีจุดบริเวณครีบหลัง และเมื่อลูกปลาโตขึ้นจุดที่ว่านี้ก็จะหายไปเช่นเดียวกับปลาในแนวปะการังอื่น ๆ อีกหลายชนิด ด้วยความสวยงามและรูปร่างที่น่ารัก จึงทำให้นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางชนิดสามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ หลายชนิดเลี้ยงได้ไม่ยากนัก ขณะที่บางชนิดที่เลี้ยงได้ยาก สำหรับในน่านน้ำไทยพบปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนี้ไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Chelmon rostratus), ปลาผีเสื้อทอง (Chaetodon semilarvatus), ปลาผีเสื้อจมูกยาวขอบตาขาว (Forcipiger flavissimus), ปลาโนรีเกล็ด (Heniochus diphreutes) เป็นต้น โดยจะพบในด้านทะเลอันดามันมากกว่าอ่าวไทย ซึ่งปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนั้น ในอดีตเมื่อเริ่มมีการอนุกรมวิธาน ด้วยลักษณะปากที่ยื่นยาวทำให้มีความเข้าใจผิดว่า สามารถพ่นน้ำจับแมลงได้เหมือนเช่น ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) ซึ่งเป็นปลาน้ำจืด โดยความผิดพลาดเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1764 เมื่อมีการส่งตัวอย่างปลาในยังกรุงลอนดอนเพื่อลงรูปตีพิมพ์ลงในหนังสือ ปรากฏเป็นภาพของปลาผีเสื้อนกกระจิบ และถูกบรรยายว่าสามารถพ่นน้ำจับแมลงกินเป็นอาหารได้ จึงถูกกล่าวอ้างต่อมาอย่างผิด ๆ อีกนาน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาข้างตะเภา

ำหรับปลาข้างตะเภาอีกวงศ์หนึ่ง ดูที่: วงศ์ปลาครืดคราด วงศ์ปลาข้างตะเภา หรือ วงศ์ปลาข้างลาย (Tigerperch, Croaker, Grunter) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Terapontidae อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลำตัวค่อนข้างสั้นแบบรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแบนข้าง เกล็ดมีขนาดเล็ก หรือขนาดปานกลาง แบบเกล็ดสาก ปากมีขนาดเล็กเฉียงเล็กน้อย ขอบของกระดูกพรีโอเพอร์คูลัมเป็นหยัก และกระดูกโอเพอร์คูลัมมีก้านครีบแข็ง 2 อัน ครีบหลังทั้งสองติดกันแต่มีรอยเว้าให้เห็นว่าแบ่งออกจากกันได้ ครีบหลังมีก้านครีบแข็งจำนวน 11-14 อัน ครีบหางกลม ตัดตรง หรือเว้าเล็กน้อย ครีบท้องอยู่หลังฐานของครีบอกมีก้านครีบแข็งที่แข็งแรง 1 อัน และก้านครีบอ่อนที่แตกปลาย 5 ก้าน จัดเป็นปลาขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยู่แถบชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในบางชนิดจะพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดด้วย มีทั้งหมด 15 สกุล (ดูในตาราง) 50 ชนิด อาทิ ปลาข้างตะเภาลายโค้ง (Terapon jarbua), ปลาข้างตะเภาเกล็ดใหญ่ (T. theraps), ปลาข้างตะเภาเกล็ดเล็ก (T. puta), ปลาข้างลายสี่แถบ (Pelates quadrilineatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาข้างตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดาบลาว

วามหมายอื่น: สำหรับปลาชนิดอื่นที่เป็นปลาน้ำจืด ดูได้ที่ ปลาฝักพร้า วงศ์ปลาดาบลาว (Wolf herring) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหลังเขียว (Clupeiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Chirocentridae มีรูปร่างโดยรวม คือ ปากเชิดขึ้น มีฟันแหลมคมมาก ลำตัวเพรียวยาว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม แนวสันหลังและสันท้องตรงเกือบขนานกัน ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เกล็ดมีขนาดเล็กและบาง ด้านหลังลำตัวสีน้ำเงิน ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก การจำแนก มีอยู่เพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Chirocentrus มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาดาบลาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดุกทะเล

วงศ์ปลาดุกทะเล (Eeltail catfishes, Coral catfishes, Eel catfishes, Stinging catfishes) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Plotosidae (/โพล-โต-ซิ-ดี/) มีลักษณะสำคัญคือ มีหนวด 4 คู่ คือ หนวดที่บริเวณมุมปากทั้งปากบนและปากล่าง และที่คาง ครีบหลังมีเงี่ยงเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ครีบหลัง ครีบหางและครีบก้นยาวติดต่อกัน โดยที่ส่วนคอดหางเป็นต้นไปเรียวเล็กลงทำให้แลดูคล้ายปลาไหล อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ เป็นปลาทะเล ที่มักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง ตามแนวปะการังหรือกอสาหร่าย โดยมีพบเข้าไปอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดด้วย เช่น ปากแม่น้ำ หรือป่าชายเลน ในวัยเล็กมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินในเวลากลางคืน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลแถบมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ตั้งแต่ทะเลญี่ปุ่น จนถึงฟิจิ, ปาปัวนิวกินีและโอเชียเนีย มีทั้งหมด 35 ชนิด ใน 10 สกุล (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยพบเป็นชนิดที่สำคัญ 2 ชนิด คือ ปลาดุกทะเลลาย (Plotosus lineatus) และปลาดุกทะเลยักษ์ (P. canius) ซึ่งนิยมตกเป็นเกมกีฬา, เลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และบริโภคกันเป็นอาหาร ซึ่งในปลาดุกทะเลยักษ์นั้น ถือเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ โดยยาวได้ถึง 1.5 เมตร มีน้ำหนักหนักได้ถึงเกือบ 10 กิโลกรัม และในชนิดปลาดุกทะเลลายมีรายงานว่าที่เงี่ยงแข็งนั้นมีพิษร้ายแรงถึงขนาดแทงมนุษย์เสียชีวิตได้ ปลาในวงศ์นี้ นอกจากใช้ชื่อว่า "ปลาดุกทะเล" หรือ "ปลาปิ่นแก้ว" แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "สามแก้ว" หรือ "เป็ดแก้ว" เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาดุกทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน หรือ วงศ์ปลาตุ๊ดตู่ (Combtooth blennies, Scaleless blennies) เป็นวงศ์ของปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Blenniidae (/เบลน-นิ-อิ-ดี้/) จัดเป็นปลาจำพวกปลาเบลนนี่ หรือปลาตั๊กแตนหิน มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรือปลาบู่ขนาดเล็ก มีหัวทู่ขนาดใหญ่ ดวงตากลมโตอยู่ด้านหน้าของส่วนหัว เป็นปลาที่ไม่มีเกล็ด มีก้านครีบแข็งจะฝังอยู่ที่ครีบท้อง มีก้านครีบอ่อน 2-4 อัน ครีบท้องเป็นเส้นขนาดเล็ก 2 เส้นแตกต่างจากปลาบู่ อยู่ด้านหน้าครีบอกหรือครีบหู มีก้านครีบแข็งขนาดเล็กที่ครีบหลัง 3-17 อัน มีก้านครีบอ่อน 9-119 อัน มีก้านครีบแข็งที่ครีบก้น 2 อัน ครีบหางเป็นวงกลม ปากอยู่ด้านล่างของส่วนหัว จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวถึง 52 เซนติเมตร มีลักษณะเด่นอีกประการ คือ มีฟันแหลมคมคล้ายหวีติดแน่น หรือขยับกรามที่ขากรรไกรได้ บางชนิดเป็นฟันเขี้ยว สามารถที่จะกัดสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่ามากได้ เช่น ปลาอื่น หรือแม้แต่นักดำน้ำ ขณะที่บางสกุลจะมีต่อมพิษที่ฟันเขี้ยวนี้ ส่วนมากมีสีสันที่สวยงาม โดยเฉพาะในตัวผู้ เป็นปลาทะเลส่วนมาก กระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก และอินเดีย จะอาศัยอยู่ตามพื้นทะเลในระดับความลึกตั้งแต่ 2-21 เมตร โดยหลบซ่อนอยู่ในซอกรูหินใต้น้ำ เป็นปลาที่มักไม่ค่อยอยู่นิ่ง จะว่ายเข้าว่ายออกรูที่อาศัยอยู่บ่อย ๆ หรือบางครั้งโผล่มาแต่หัวเพื่อสังเกตการณ์ มีพฤติกรรมวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ในเปลือกหอยที่ว่างเปล่า ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่ มีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่พบได้ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืด หากินโดยกินตะไคร่น้ำเป็นหลัก แต่หลายชนิดก็สามารถที่จะกินเนื้อหรือสัตว์น้ำตัวเล็ก ๆ หรือแม้แต่เศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือได้ โดยหากินใกล้ ๆ รูที่อาศัยอยู่ ถือเป็นวงศ์ที่ใหญ่ ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 300 ชนิด ใน 57 สกุล นับว่ามากที่สุดในบรรดาปลาเบลนนี่ทั้งหมด ปลาในวงศ์นี้ มีความสำคัญในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักที่จะนำมาเลี้ยงเพื่อทำความสะอาดตู้เลี้ยงเพื่อให้กำจัดตะไคร่น้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเหลือก

วงศ์ปลาตาเหลือก (Tarpon, Oxeye) วงศ์ปลากระดูกแข็งในอันดับ Elopiformes ในชื่อวงศ์ว่า Megalopidae เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีรูปร่างโดยรวมป้อม ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น และมีก้านครีบหลังอันสุดท้ายยื่นยาวเป็นเส้น เกล็ดเป็นสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต และมีเยื่อไขมันคลุมตาในปลาตาเหลือก (Megalops cyprinoides) เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร แต่ไม่มีฟัน เมื่อจับเหยื่อจะใช้เพียงกรามนั้นงับ ปลาในวงศ์นี้มีอยู่เพียงแค่สองชนิดเท่านั้น จัดอยู่แค่ในสกุลเดียว คือ Megalops ได้แก่ ปลาตาเหลือก (M. cyprinoides) หรือ ปลาแปซิฟิกทาร์ปอน กระจายพันธุ์อยู่แถบมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ 1.5 เมตร และ ปลาแอตแลนติกทาร์ปอน (M. atlanticus) กระจายพันธุ์อยู่ที่มหาสมุทรแอตแลนติกตั้งแต่แอฟริกาตะวันตก, อเมริกาเหนือจนถึงอเมริกาใต้ ซึ่งทั้งหมดนิยมตกเป็นเกมกีฬา และมีการเลี้ยงเป็นปลาตู้เนื่องจากความใหญ่ในรูปร่างและความสวยงามด้านสีเงินที่แวววาวของเกล็ด อีกทั้งยังมีพฤติกรรมการกินอาหารที่ว่องไว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตูหนา

วงศ์ปลาตูหนา (True eel, Freshwater eel) เป็นวงศ์ของปลาในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Anguillidae (/แอน-กิล-ลิ-ดี้/) โดยมาจากภาษาลาตินว่า "Ae" หมายถึง ปลาไหล ซึ่งปลาวงศ์นี้มักจะถูกเรียกรวมกันว่า ปลาตูหนา มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Anguilla และมีทั้งหมด 15 ชนิด กระจายทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกจนถึงออสเตรเลีย พบในประเทศไทยประมาณ 3–4 ชนิด ปลาวงศ์นี้มีฟันคม ปากกว้าง เขี้ยวเล็กละเอียดบนขากรรไกรเป็นร้อย ๆ ซี่ จมูกมีรูเล็ก ๆ เหมือนหลอด 2 ข้าง ใช้สำหรับดมกลิ่นเพื่อนำทางและหาอาหาร ซึ่งปลาตูหนามีประสิทธิภาพในการดมกลิ่นได้ดีกว่าปลาฉลามเสียอีก ครีบอกเป็นรูปกลมรี ครีบหลังยาวติดต่อกับครีบหางที่มนและครีบก้นที่ยาว ลำตัวดูภายนอกเหมือนไม่มีเกล็ด มีเมือกลื่นปกคลุมทั้งตัว แต่แท้จริงมีเกล็ดขนาดเล็กมากเรียงซ้อนฝังอยู่ใต้ผิวหนัง โดยไม่มีเส้นข้างลำตัว เลือดและน้ำเหลืองของปลาตูหนามีพิษ ซึ่งอาจฆ่าสุนัขให้ตายได้ เป็นปลานักล่า สามารถจับกุ้ง, ปู หรือสัตว์เปลือกแข็ง รวมทั้งปลาต่าง ๆ กิน มักอาศัยในแหล่งน้ำใส มีตอไม้, โพรงไม้ หรือซอกหินอยู่มาก อาจขุดรูอยู่ก็ได้ นอกจากบริเวณปากแม่น้ำแล้ว ยังเคยพบไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาอีกด้วย เป็นปลาที่มีวงจรชีวิตแบบ ปลาสองน้ำ คือออกไปวางไข่ในทะเลลึก ปลาวัยอ่อนจึงอพยพกลับมาเลี้ยงตัวที่ชายฝั่งหรือป่าชายเลนก่อนเข้ามาเติบโตในน้ำจืดที่ไกลจากทะเลนับร้อย ๆ กิโลเมตร ลูกปลามีตัวใส เรียวยาวดูคล้ายวุ้นเส้น โดยปกติแล้วเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ แต่จะดุร้ายมากเมื่อถูกจับได้ มีรายงานว่าปลาบางตัวมีอายุมากได้ถึง 105 ปี และอาจยาวได้ถึง 8 ฟุต ในทะเลสาบน้ำจืดที่นิวซีแลนด์พบบางตัวมีน้ำหนักมากกว่า 100 ปอนด์Flesh Ripper, "River Monsters".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง หรือ วงศ์ปลาปักเป้าเหลี่ยม (วงศ์: Ostraciidae; Boxfish, Cofferfish, Trunkfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ostraciidae ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ลักษณะของปลาในวงศ์นี้ จะมีรูปทรงป้อมเป็นรูปสี่เหลี่ยม รูปทรงและการเคลื่อนไหวจะมีความคล่องแคล่วกว่าปลาปักเป้าในวงศ์อื่น และมักจะมีขนาดเล็ก มีสีสันลวดลายสวยงาม เกล็ดเป็นรูปทรงหกเหลี่ยมเรียงตัวต่อกัน อีกทั้งปลาในวงศ์นี้มีพิษที่ต่างออกไปจากปลาปักเป้าในวงศ์อื่น กล่าวคือ มีสารพิษชนิดออสทราซิท็อกซิน (Ostracitoxin) ที่ผลิตขึ้นมาจากต่อมที่ผิวหนัง และสามารถขับออกมาพร้อมกับเมือกที่หุ้มตัวอยู่ ซึ่งสามารถละลายในน้ำได้ ซึ่งพิษชนิดนี้จะเป็นพิษกับปลาด้วยกัน ทำให้ปลาอื่นที่อยู่บริเวณเดียวกันเมื่อได้รับสารพิษตายได้ ซึ่งจะขับออกมาเมื่อได้รับความเครียดหรือตื่นตกใจ อันเป็นกลไกลหนึ่งในการป้องกันตัว ปลาปักเป้ากล่อง มีการกระจายพันธุ์เฉพาะในทะเลเท่านั้น ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก พบทั้งหมด 33 ชนิด ใน 9 สกุล (ดูในตาราง) บางชนิดอาจมีระยางค์แหลม ๆ ยื่นออกมาเหนือบริเวณส่วนแลดูคล้ายเขาด้วย ในน่านน้ำไทยพบด้วยกัน 3 ชนิด อาทิ ปลาปักเป้ากล่องเหลืองลายจุดดำ (Ostracion cubicus) โดยคำว่า Ostraciidae นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "ostracum" หมายถึง "เปลือกหอย".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาปักเป้ากล่อง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปากแตร

ำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาสามรส วงศ์ปลาปากแตร (Cornetfish, Trumpetfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aulostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aulos" หมายถึง "แตร" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") ลักษณะสำคัญของปลาในวงศ์นี้ คือ ปากที่ยาวยื่นออกและโป่งออกบริเวณปลายปากเล็กน้อย คล้ายลักษณะของแตรหรือท่อ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ปลายขากรรไกรล่างมีติ่งเนื้อคล้ายหนวด ครีบหลังมี 2 ตอนตอนหน้าเป็นก้านครีบแข็ง 8-12 ชิ้น เก็บอยู่ใช้สำหรับป้องกันตัวเอง ครีบหลังอันที่ 2 และครีบก้นอยู่ค่อนไปเกือบติดครีบหาง ครีบท้องอยู่กึ่งกลางลำตัว เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า จึงมักแฝงตัวอยู่กับปลาอื่น ๆ เช่น ปลานกขุนทอง, ปลานกแก้วหรือปลาแพะ เพื่อหาโอกาสเข้าใกล้อาหาร ได้แก่ กุ้งและลูกปลา ปลาวัยอ่อนที่ป้องกันตัวเองไม่ได้ จะพรางตัวอยู่ตามแส้ทะเลหรือกัลปังหา มักพบพฤติกรรมนี้ในยามค่ำคืน วงศ์ปลาปากแตร มีเพียงสกุลเดียว คือ Aulostomus พบเพียง 3 ชนิดเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล)

วงศ์ปลาแพะ หรือ วงศ์ปลาหนวดฤๅษี (Mullidae) เป็นวงศ์ของปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยกระดูกแข็ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mullidae มีรูปร่างโดยรวม คือ มีเกล็ดขนาดใหญ่มีลักษณะเป็นแบบสากเล็กน้อย ส่วนหัวมีเกล็ด ครีบหลังมีสองตอน ตอนแรกมีก้านครีบแข็ง 6-8 ก้าน ครีบ มีครีบหางแบบเว้าลึก ใต้คางมีหนวด 1 คู่ ที่ไวต่อความรู้สึก ใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามหน้าดิน เช่น พื้นทราย ซึ่งดูแล้วเหมือนหนวดเคราของแพะ อันเป็นที่มาของชื่อ พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งและแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่น ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมหาสมุทรอินเดีย โดยอยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งออกได้เป็น 6 สกุล (ดูในตาราง) ประมาณ 55 ชนิด ในน่านน้ำไทยพบได้หลายชนิด อาทิ ปลาแพะเหลืองทอง (Parupeneus heptacanthus), ปลาแพะลาย (Upeneus tragula), ปลาแพะเหลือง (U. sulphureus), ปลาแพะขนุน (Mulloidichthys flavolineatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปลาแพะ (ปลาทะเล) · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปูว่ายน้ำ

วงศ์ปูว่ายน้ำ (Swimming crab; วงศ์: Portunidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ในไฟลัมย่อยครัสเตเชียน จำพวกปูวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Portunidae มีลักษณะสำคัญ คือ ปลายขาคู่ที่ห้ามีลักษณะเหมือนใบพาย และมีขนบาง ๆ อยู่รอบ ๆ สำหรับช่วยในการว่ายน้ำ โดยปูในวงศ์นี้จะมีลักษณะกระดองแบนราบและกว้าง จะว่ายน้ำได้เร็วและไว จัดเป็นนักล่าที่ว่องไว โดยปูที่อยู่ในวงศ์นี้ ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ ปูทะเล (Scylla serata) และปูม้า (Portunus pelagicus) โดยจัดเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีความสำคัญ หลายชนิดใช้ในการบริโภค ในประเทศไทยพบปูที่อยู่ในวงศ์นี้ 31 ชนิด จากทั้งหมด 4 วงศ์ย่อ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงศ์ปูว่ายน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านพระฉิม

ว่านพระฉิม หรือ แผ่นดินเย็น, บัวสันโดษ เป็นพืชมีดอกในวงศ์กล้วยไม้ ใบบาง เกลี้ยง เป็นรูปหัวใจหรือเกือบกลม บางชนิดมีจุดประสีม่วงเป็นแถวกลางใบ ดอกช่อ ก้านตรง ดอกในช่ออยู่ห่างกัน พบกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และ ออสเตรเลีย ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและว่านพระฉิม · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

ูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center (JTWC)) เป็นศูนย์ใน กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา - กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ทำงานที่ศูนย์พยากรณ์อากาศทางทะเลกองทัพเรือ (Naval Maritime Forecast Center) ในท่าเรือเพิร์ล, รัฐฮาวาย JTWC จะรับผิดชอบตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนและออกคำเตือนให้กับประเทศทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก, ทางใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย สำหรับกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาจะรับผิดชอบสหรัฐอเมริกาและไมโครนีเซีย ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นมีจุดประสงค์คือ ป้องกันกองทัพเรือและกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาและติดต่อกับประเทศอื่นๆทั่วโลกด้วยJoint Typhoon Warning Center.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเข็ม (กล้วยไม้)

กุลเข็ม (Ascocentrum) เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสกุลเข็ม (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสมัยไพลสโตซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถโปมาเรที่ 4 แห่งตาฮีตี

มเด็จพระราชินีนาถโปมาเรที่ 4 แห่งตาฮีตี (Queen Pōmare IV of Tahiti) หรือพระนามอย่างเป็นทางการ ไอมาตา โปมาเรที่ 4 วาฮีเน โอ ปูนูอาเตราอีตูอา (Aimata Pōmare IV Vahine-o-Punuateraʻitua) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งตาฮีตีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2360 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2410 พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรตาฮีตี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสมเด็จพระราชินีนาถโปมาเรที่ 4 แห่งตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 6

นขนานสะพานพระราม 6 สะพานพระราม 6 (Rama VI Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมระหว่างแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กับแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสะพานพระราม 6 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมิเนอร์วา

สาธารณรัฐมิเนอร์วา สร้างขึ้นโดยนำทรายที่นำมาจากประเทศออสเตรเลีย มาถมลงไปในระดับน้ำทะเล ผู้ที่มาริเริ่มโครงการคือไมเคิล โอลิเวอร์ จนทำให้ดินแดนนี้มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การค้าขายและตกปลาซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศใหม่ ประเทศนี้ แนวปะการังมิเนอร์วาอยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก โดยตัดสินใจที่จะสร้างเป็นสาธารณรัฐในปี พ.ศ. 2514 และนำเรือบรรทุกทรายจากประเทศออสเตรเลียมาถมในระดับน้ำทะเล และสร้างหอและธงชาติขึ้น สาธารณรัฐมิเนอร์วาได้ส่งประกาศความเป็นเอกราชส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆและได้คิดสกุลเงินไว้ใช้ภายในประเทศ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2515 มอริส ซี เดวิสได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีชั่วคราวของสาธารณรัฐมิเนอร์วา การประกาศความเป็นเอกราชของสาธารณรัฐมิเนอร์วา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2515 ยังผลให้เกิดความสงสัยอย่างมากของประเทศเพื่อนบ้าน การประชุมของประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ (ประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศตองงา ประเทศฟีจี ประเทศนาอูรู ประเทศซามัว หมู่เกาะคุก) ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 ซึ่งตองงาได้อ้างสิทธิเหนือดินแดนแนวปะการังมิเนอร์วา ในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลตองงา ได้ประกาศในหนังสือราชกิจจาโดยประกาศให้สาธารณรัฐมิเนอร์วาเป็นดินแดนภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรตองงา ต่อมาประเทศตองงาได้ส่งกองกำลังทหารเข้ามายึดดินแดนนี้ ธงชาติมิเนอร์วาถูกชักลงจากเสา และเกาะปะการังที่เหลือก็ถูกยึดครองโดยตองงา การยึดครองดินแดนแห่งนี้ของตองงาได้รับการรับรองจากสภาแห่งแปซิกใต้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2515 ในระหว่างนั้นประธานาธิบดีชั่วคราวมอริส ซี เดวิส ถูกไล่ออก หมวดหมู่:ประเทศตองงา หมวดหมู่:ประเทศจำลอง ja:ミネルバ共和国.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสาธารณรัฐมิเนอร์วา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์

หมู่เกาะมาร์แชลล์ (Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aelōn̄ in M̧ajeļ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ (Republic of the Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aolepān Aorōkin M̧ajeļ) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศนาอูรูและประเทศคิริบาส ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไมโครนีเซียและอยู่ทางใต้ของเกาะเวกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเทกซัส

รณรัฐเทกซัส (Republic of Texas) คือรัฐเอกราชในทวีปอเมริกาเหนือที่ดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1836 ถึง 1846 โดยมีชายแดนติดอยู่กับสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก สาธารณรัฐเทกซัสสถาปนาตนเองเป็นสาธารณรัฐโดยแยกดินแดนออกมาจากเม็กซิโกในเหตุการณ์ปฏิวัติเทกซัส โดยอ้างสิทธิ์ในดินแดนที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของรัฐเทกซัส รวมไปถึงบางส่วนของรัฐนิวเม็กซิโก, โอคลาโฮมา, แคนซัส, โคโลราโด และไวโอมิงของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน โดยยึดตามสนธิสัญญาวิลาสโกระหว่างสาธารณรัฐเทกซัสที่เพิ่งตั้งขึ้นมาใหม่กับเม็กซิโก พรมแดนทางตะวันออกกับสหรัฐอเมริกาถูกกำหนดโดยสนธิสัญญาแอดัมส์-โอนิสที่ทำขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกากับสเปนในปี ค.ศ. 1819 ส่วนพรมแดนทางตอนใต้และทางตะวันตกซึ่งติดกับเม็กซิโกนั้นตกเป็นข้อพิพาทระหว่างสองประเทศตลอดระยะเวลาที่สาธารณรัฐดำรงอยู่ โดยเทกซัสใช้สองฝั่งของแม่น้ำรีโอแกรนด์เป็นตัวขีดเส้นแบ่งพรมแดน ในขณะที่เม็กซิโกใช้แม่น้ำนูเอซิสในการปักปันเขตแดน ซึ่งข้อพิพาทดังกล่าวกลายเป็นเหตุชนวนสงครามเม็กซิโก-อเมริกา หลังจากการผนวกเทกซัสเข้ามาเป็นรัฐในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสาธารณรัฐเทกซัส · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สิงคโปร์แอร์ไลน์

อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้สร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่งในฐานะผู้สร้างปรากฏการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย และบริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมากมายและเป็นผู้นำทางอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับท่าอากาศยานชางงีในย่านชางงีในสิงคโปร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ริยุปราคาเต็มดวง 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสุริยุปราคา 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ริยุปราคาเต็มดวง จะเกิดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงในวันที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเอเชียโซไซตี

ันเอเชียโซไซตี สถาบันเอเชียโซไซตี (Asia Society) เป็นสถาบันความร่วมมือระหว่างชาติที่มีจุดหมายในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศในทวีปเอเชียรวมถึงหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2499 โดย จอห์น ร็อกกะเฟลเลอร์ ที่ 3 โดยมีสำนักงานใหญ่ที่ นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และมีสำนักงานสาขาทั่วโลกที่ ฮิวสตัน ลอสแอนเจลิส ซานฟรานซิสโก วอชิงตัน ดี.ซี. ฮ่องกง มะนิลา เมลเบิร์น เซี่ยงไฮ้ และล่าสุดที่ก่อตั้งในปี 2549 ที่มุม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสถาบันเอเชียโซไซตี · ดูเพิ่มเติม »

สคัวขั้วโลกใต้

นกสคัวขั้วโลกใต้ (Stercorarius maccormicki หรือ หรือ MacCormick’s Skua หรือ South Polar Skua) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ของนกสคัวตระกูล สคัวสปีชีส์นี้และสคัวขนาดใหญ่ทางซีกโลกใต้และนกเกรตสคัวบางครั้งก็จัดอยู่ในสกุล Catharacta นกสคัวขั้วโลกใต้มีความยาว 53 เซนติเมตร ผสมพันธุ์บนฝั่งทะเลของทวีปแอนตาร์กติกา มักจะวางไข่สองใบในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธ้นวาคม นกสคัวขั้วโลกใต้ก็เช่นเดียวกับสคัวตระกูลอื่นที่จะบินตรงไปที่หัวของมนุษย์หรือผู้ที่พยายามเข้าใกล้รัง สคัวเป็นนกประเภทย้ายถิ่นฐาน ฤูดูหนาวจะอยู่ในทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติกจะเป็นนกเกรตสคัวแทนที่ ส่วนใหญ่นกสคัวขั้วโลกใต้จะบริโภคปลาที่ได้มาจากการขโมยจากนกนางนวล, tern และแม้แต่ gannetจับได้ บางครั้งอาจจะเข้าโจมตีและสังหารนกทะเลด้วยกัน และบางครั้งก็จะกินอาหารเหลือ และ It will also directly attack and kill other seabirds.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสคัวขั้วโลกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สคิวล่า อิโอ

วล่า อิโอ ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้าสมุทรโปเซดอน เป็น 1 ใน 7 ขุนพลมารีนเนอร์ผู้พิทักษ์เสาค้ำมหาสมุทรแปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสคิวล่า อิโอ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก (ค.ศ. 1879–1884)

งครามมหาสมุทรแปซิฟิก (War of the Pacific, Guerra del Pacífico) (ค.ศ. 1879–1884) เป็นสงครามที่มีผลมาจากการเรียกร้องชายแดนของชิลีเหนือดินแดนชายฝั่งทะเลของโบลิเวียในทะเลทรายอาตากามา โบลิเวียเป็นพันธมิตรกับเปรูเพื่อต่อต้านชิลี สงครามในครั้งนี้จบลงโดยที่ชิลีเป็นผ่ายชนะซึ่งทำให้ชิลีได้ครอบครองดินแดนที่มีทรัพยากรจำนวนมากจากเปรูและโบลิเวีย กองทัพชิลีได้ครอบครองและใช้พื้นที่ชายฝั่งที่อุดมไปด้วยไนเตรตของโบลิเวีย ส่วนเปรูพ่ายแพ้ต่อกองทัพเรือของชิลี สงครามครั้งนี้เกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก, ทะเลทรายอาตากามาของเปรูและบริเวณเทือกเขาแอนดีส ช่วง 5 เดือนแรกสงครามเกิดขึ้นในรูปแบบของสงครามทางทะเลเนื่องจากทางชิลีพยายามที่จะสร้างการขนส่งทางทะเลสำหรับส่งกองทัพเข้าไปในทะเลทรายที่แห้งแล้งที่สุดในโลก ในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก (ค.ศ. 1879–1884) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก (แก้ความกำกวม)

งครามแปซิฟิก เป็นสงครามในมหาสมุทรแปซิฟิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสงครามแปซิฟิก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สเกลพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนจะถูกจัดระดับความรุนแรงอย่างเป็นทางการโดยการวัดลมที่หมุนเวียน ณ บนิเวณศูนย์กลางของระบบอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนมากการจัดระดับความรุนแรงของพายุจะกระทำโดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยา แต่บางเครื่องวัดจะมีการวัดที่แตกต่างออกไปเช่น วัดพลังงานสะสมพายุหมุนเขตร้อน (Accumulated cyclone energy), ดัชนีการสูญเสียพลังงาน, ดัชนีพลังงานแบบบูรณาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และดัชนีความรุนแรงพายุเฮอร์ริเคน (Hurricane Severity Index) พายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาค (RSMC) ในนิวเดลี, อินเดีย จะใช้สเกลที่แตกต่างออกไปเพื่อประเมินความเร็วลมสูงสุดของพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในซีกโลกใต้ ศูนย์พยากรณ์สำนักงานอุตุนิยมวิทยาฝรั่งเศส ในเรอูว์นียงจะใช้สเกลวัดครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียและ RSMC ใน นานดี, ฟิจิ จะใช้สเกลความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนของออสเตรเลีย คำนิยามของความเร็วลมตามที่องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกให้ไว้คือ คือเฉลี่ยของความเร็วลมสูงสุด 10 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) อย่างไรก็ตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน จะใช้การวัดความเร็วลมสูงสุดใน 1 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) และสเกลที่ RSMC นิวเดลี ใช้คือเวลาเฉลี่ย 3 นาที และออสเตรเลียจะใช้ค่าลมกรรโชกสูงสุดเฉลี่ยใน 10 นาที จึงทำให้การเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของแต่ละแอ่งนั้นเป็นไปโดยยาก โดยพายุหมุนเขตร้อนจะเริ่มถูกตั้งชื่อเมื่อมีความเร็วลมมากกว่า 35 นอต (40 ไมล์/ชม. หรือ 65 กม./ชม.).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสเกลพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

สเปรย์ละอองลอย

ทธิบัตร สเปรย์ละอองลอย หรือที่เรียกกันติดปากว่า กระป๋องสเปรย์ สเปรย์ละอองลอย หมายถึง กระป๋อง หรือสิ่งที่ออกมาจากกระป๋อง ซึ่งฉีดสารที่มีสภาพเป็น ละอองลอย ในภาษาพูดทั่วไป เรียกสั้นๆว่า สเปรย์ เป็นผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋องชนิดหนึ่ง ที่สามารถฉีดพรมของเหลวที่บรรจุออกมาในรูปฝอยของอนุภาคละอองลอย เพราะสเปรย์ละอองลอยชนิดนี้บรรจุสาร 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งเป็น ของเหลวบรรจุภัณฑ์ที่ต้องการฉีดให้ฟุ้งกระจาย และอีกกลุ่มหนึ่งเป็น ไอภายใต้ความกดดันสูงจนอยู่ในรูปของเหลว ซึ่งมักเป็นแก๊สเฉื่อย ละลายรวมอยู่ในบรรจุภัณฑ์เพื่อเป็น กำลังขับดัน เมื่อลิ้นถูกเปิด ของเหลวถูกดันให้ไหลออกผ่านรูเล็ก และปรากฏเป็นอนุภาคละอองลอย คล้ายหมอก ขณะที่แก๊สขยายและขับบรรจุภัณฑ์ออก กำลังขับดันบางส่วนกลายเป็นไอภายในกระป๋อง และรักษาความดันให้คงที่ เมื่อออกนอกกระป๋อง หยดละอองของของเหลวที่เป็นกำลังขับดันกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว ทิ้งให้หยดละอองของของเหลวบรรจุภัณฑ์ แขวนลอยในรูปของอนุภาคหรือหยดละอองที่ละเอียดมาก ของเหลวที่ผสมดังกล่าว เช่น ยาฆ่าแมลง, ยาดับกลิ่น และสีสเปรย์ เครื่องมือฉีดพ่นทางการเกษตร ก็ใช้หลักการคล้ายกันนี้ คือเพิ่มกำลังกดอากาศด้วยมือสูบ ซึ่งให้ผลดีกว่า สเปรย์ละอองลอย ซึ่งใช้เพียงแก๊สที่เก็บอัดไว้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและสเปรย์ละอองลอย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าชะเงา

หญ้าชะเงา() เป็นหญ้าทะเลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ขึ้นเป็นกอสูง 1 เมตร มี 2-5 ใบ ใบแบนยาว แตกขึ้นมาจากไรโซม ก้านดอกยาว ม้วนงอเหมือนสปริง พบได้ทั้งบริเวณน้ำกร่อยและทะเล เป็นพืชท้องถิ่นในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตก ในตำรายาไทยใช้เป็นยาฟอกโลหิต ขับน้ำเหลืองเสีย แก้ลมในลำไส้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหญ้าชะเงา · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใบมะกรูดขน

หญ้าใบมะกรูดขน (Ostenf.) เป็นหญ้าทะเลในวงศ์ Hydrocharitaceae ใบแบน บาง รูปไข่ ขอบใบมีรอยหยักและมีขนบนผิวใบทั้ง 2 ด้าน เส้นใบที่เป็นเส้นขวางใบมีไม่เกิน 8 คู่ มีดอกเพศผู้และดอกเพศเมียเจริญบนแขนงของต้นเดียวกัน (monoecious) โดยมีกาบดอกหุ้มดอกทั้ง 2 ไว้ด้วยกัน หญ้าใบมะกรูดขนพบในน้ำที่มีระดับความลึก 6 -36 เมตร พบในเขตร้อนของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติกฝั่งตะวันตก Smithsonian Marine Station at Fort Pierce.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหญ้าใบมะกรูดขน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใต้ใบ

หญ้าใต้ใบ (chamberbitter, gripeweed, shatterstone, stonebreaker) เป็นพืชล้มลุกในสกุลมะขามป้อม สูงได้ถึง 60 เซนติเมตร ลำต้นและกิ่งเกลี้ยง มีลักษณะแบนและมีปีกเล็กน้อย หูใบรูปไข่แกมรูปใบหอกหรือสามเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่แกมขอบขนาน ก้านใบยาว 0.3-0.9 มิลลิเมตร โคนใบเบี้ยว ขอบใบมีขนเล็กน้อย ปลายใบมนหรือเป็นติ่งหนามสั้น ใบจะหุบในเวลากลางคืนและกางออกในเวลากลางวัน ดอกแยกเพศ โดยดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกกลม 5-7 ดอกย่อย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นดอกเดี่ยว มีขนาดใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผลเป็นแบบแห้งแตก สีเขียว-แดง รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มิลลิเมตร ผิวมีปุ่ม ออกใต้ก้านใบ เมล็ดมีลักษณะสามมุม หญ้าใต้ใบกระจายพันธุ์ในจีน อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก บางแห่งจัดเป็นวัชพืชและพืชรุกราน หญ้าใต้ใบทั้งต้นต้มกับสมุนไพรอื่นมีสรรพคุณแก้มะเร็งมดลูก แก้ไข้ ขับปัสสาว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหญ้าใต้ใบ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์กก แพร่กระจายในพื้นที่ชื้นในทวีปอเมริกา เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ และเกะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชฤดูเดียว ดอกช่อ ผลแบบอะคีน มีเปลือกสีน้ำตาลอมม่วงหุ้ม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน · ดูเพิ่มเติม »

หมากสง

หมากสง หรือที่เรียกทั่วไปว่า "หมาก" (พืชที่เรียกว่า "หมาก" นั้น มีด้วยกันหลายชนิด นักพฤกษศาสตร์จึงเรียกหมากที่ใช้กินกับใบพลูว่า "หมากสง") เป็นพืชจำพวกปาล์ม เป็นชนิดหนึ่งในสกุล Arecaceae นับว่ามีความสำคัญมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในหลายท้องถิ่น ในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยด้วย ส่วนสำคัญของพืชชนิดนี้ คือ เมล็ด ซึ่งมีสารจำพวก อัลคาลอยด์ (alkaloid) อันประกอบด้วย อาเรเคน (arecaine) และ อาเรโคลีน (arecoline) นิยมนำมาเคี้ยวกับหมากใบและใบพลู ซึ่งนับว่าเป็นสารเสพติดอย่างอ่อน หมากพบได้ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ แถบมหาสมุทรแปซิฟิกในส่วนที่เป็นเขตร้อน และบางส่วนของทวีปแอฟริกา ในภาษาอังกฤษ เรียกหมากว่า "Betel palm" หรือ "Betel nut" ทั้งๆ ที่ คำว่า " betel" แปลว่า พลู ที่เรียกเช่นนี้ เพราะชาวอังกฤษ (ในสมัยโบราณ) เห็นว่าหมากนิยมเคี้ยวกับพลูนั่นเอง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมากสง · ดูเพิ่มเติม »

หมึกกล้วย

ลื่อนไหวของหมึกหอม หมึกกล้วย เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Teuthida.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมึกกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

หมึกหอม

หมึกหอม หรือ หมึกตะเภา (Bigfin reef squid, Soft cuttlefish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Sepioteuthis lessoniana) หมึกหอมหรือหมึกตะเภา แม้จะได้ชื่อในภาษาอังกฤษว่า Cuttlefish ซึ่งหมายถึง หมึกกระดอง แต่แท้ที่จริงแล้ว หมึกหอมเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย มีลำตัวทรงกระบอก มีขนาดความยาวประมาณ 26 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดเรียวยาวกว่าตัวเมีย ครีบหรือแพนข้างตัวทั้ง 2 ด้าน มีลักษณะกว้างและแบนยาวเกือบตลอดลำตัวคล้ายหมึกในอันดับหมึกกระดอง กระดองของหมึกหอมจะเป็นแผ่นใส เห็นเส้นกลางกระดอง หนวดรอบปากมี 10 เส้น เป็นแขน 8 เส้น มีหนวดคู่ยาว 2 เส้น ที่ลำตัวมีจุดสีน้ำตาลอมแดงกระจายอยู่ทั่วไป นัยน์ตามีสีเขียว ชอบรวมกลุ่มอยู่เป็นฝูง กินสิ่งมีชีวิตและสัตว์น้ำชนิดอื่น ๆ ที่มีขนาดเล็กเป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยสามารถกินอาหารได้มากถึง 30 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักตัว พบได้ทั่วไปในเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาศัยอยู่ตั้งแต่ผิวน้ำจนถึงหน้าดิน นิยมบริโภคเป็นอาหาร โดยการปรุงสด เนื่องจากหากินในเวลากลางคืน ชาวประมงจึงมักจับในเวลากลางคืน โดยใช้แสงไฟจากนีออนล่อ หมึกหอมสามารถสืบพันธุ์วางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วง คือ ระหว่างปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ พฤษภาคมถึงต้นเดือนกรกฎาคม และปลายเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม โดยสามารถสืบพันธุ์วางไข่ได้เมื่อมีอายุ 3-4 เดือน หลังจากการผสมพันธุ์ 1 สัปดาห์ ตัวเมียจะวางไข่ติดกับวัสดุใต้น้ำ โดยที่เพศผู้คอยว่ายน้ำ ดูแลอยู่ใกล้ ๆ ไข่ของหมึกหอมมีลักษณะคล้ายฝักมะขาม ติดกันเป็นพวง มีความดกของไข่เฉลี่ย 486-2,186 ฟอง ใช้ระยะเวลา ในการฟัก 2-3 สัปดาห์ มีความยาวลำตัวแรกฟัก 0.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 0.1-0.3 กรัม รูปร่างคล้ายกับหมึกตัวเต็มวั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมึกหอม · ดูเพิ่มเติม »

หมึกฮัมโบลต์

การจับหมึกฮัมโบลต์ที่ชิลี หมึกฮัมโบลต์, หมึกจัมโบ หรือ หมึกบินจัมโบ (Humboldt squid, Jumbo squid, Flying jumbo squid) หรือ เดียโบลโรโค (Diablo rojo, "ปีศาจแดง")) เป็นหมึกประเภทหมึกกล้วยชนิดหนึ่ง เป็นหมึกกล้วยที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมึกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Dosidicus หมึกฮัมโบลต์มีความยาวได้ถึง 9 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 150 ปอนด์ มีรูปร่างเพรียวยาว อ้วนป้อมออกด้านข้าง มีหนวดทั้งสิ้น 8 หนวด โดยมี 2 เส้นยาว ที่มีอวัยวะเหมือนฟันแหลมคมข้าง ๆ ปุ่มดูด ซึ่งมีไว้สำหรับจับและฉีกอาหาร มีดวงตากลมโตขนาดใหญ่ หมึกฮัมโบลต์กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก ตั้งแต่อเมริกาเหนือ เช่น ออริกอน, วอชิงตัน, บริติชโคลัมเบีย และอะแลสกา จนถึงอเมริกากลาง เช่น ทะเลกอร์เตซ จนถึงอเมริกาใต้ เช่น เปรู ชิลีZeidberg, L. & B.H. Robinson 2007.. PNAS 104(31): 12948–12950. หมึกฮัมโบลต์สามารถว่ายน้ำได้เร็ว 24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยวิธีการพ่นน้ำและใช้ครีบ สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ อีกทั้งสามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่สีขาวจนถึงแดงเข้ม และดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 ฟุต เพื่อพักผ่อน ย่อยอาหาร และหลบเลี่ยงสัตว์นักล่า มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ออกหากินบริเวณกลางน้ำทั้งเวลากลางวันและกลางคืน ออกหากินตลอดเวลา จะกินอาหารทุกที่เมื่อสบโอกาส ถือเป็นสัตว์ที่ต้องการแคลอรีมากที่สุดชนิดหนึ่งในทะเล มีพฤติกรรมแย่งอาหาร และกินแม้แต่พวกเดียวกันเอง เมื่อชาวประมงจับหมึกฮัมโบลต์ได้ ตัวแรกจะถูกหั่นออกเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนลงทะเล เพื่อใช้เป็นเหยื่อล่อหมึกตัวอื่น ๆ ให้ตามมา เมื่อหมึกตัวหนึ่งจับอาหารได้จะพ่นหมึกออกมา หมึกตัวอื่น ๆ ก็จะเข้ามารุมล้อมแย่งกิน และเมื่อจับอาหารได้ชิ้นใหญ่กว่าปากของตัวเอง จะใช้หนวดดูดและใช้ปากที่แหลมคมเหมือนปากนกแก้ว ฉีกอาหารเป็นชิ้น ๆ ให้พอกับคำ หมึกฮัมโบลต์เมื่อแรกเกิดมีความยาวเพียง 1.8 นิ้ว แต่สามารถโตได้ถึง 7 ฟุต ด้วยเวลาเพียง 2 ปี นับว่าเป็นอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากชนิดหนึ่งในบรรดาสัตว์ทั้งหมด แต่อายุขัยยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด คาดว่าประมาณ 1-2 ปี หมึกฮัมโบลต์นับว่าเป็นสัตว์นักล่าที่สมบูรณ์แบบมากชนิดหนึ่งในทะเล เป็นสัตว์ที่ฉลาดและคล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งมีหนวดที่แข็งแรงและแหลมคมเป็นอาวุธ ถือเป็นสัตว์ทะเลอีกชนิดหนึ่งที่สามารถทำร้ายโจมตีมนุษย์ได้ สามารถใช้หนวดดึงบ่าของนักประดาน้ำให้หลุดและลากลงไปในที่ลึกได้ หากสวมชุดประดาน้ำแบบธรรมดาไม่มีเครื่องป้องกันแบบเดียวกับเครื่องป้องกันปลาฉลาม จะถูกทำอันตรายจากปากและหนวดได้เหมือนกับการกัดของสุนัขขนาดใหญ่อย่างเยอรมันเชเพิร์ด จนมีเรื่องเล่าขานกันในหมู่ชาวประมงแถบทะเลกอร์เตซว่าหมึกฮัมโบลต์ทำร้ายและกินมนุษย์เป็นอาหาร ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 มีนักประดาน้ำ 3 คน เสียชีวิตในทะเลกอร์เตซ โดยศพถูกคลื่นซัดขึ้นฝั่งพบว่าชุดประดาน้ำฉีกขาด และเปื้อนไปด้วยหมึก และภายหลังพิสูจน์ว่าเป็นหมึกจากหมึกฮัมโบลต์ หมึกฮัมโบลต์จัดเป็นหมึกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานและบริโภคกันอย่างมากเช่นเดียวกับหมึกและมอลลัสคาชนิดอื่น ๆ มีมูลค่าในการตลาดสูงมาก โดยเฉพาะในทวีปเอเชีย มีอัตราการส่งออกสูงถึง 500,000 ตัน ในแต่ละปีSquid, "Rouge Nature With Dave Salmoni" โดย อนิมอลพลาเน็ต สารคดีทางทรูวิชั่นส์: อังคารที่ 25 ธันวาคม 2555.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมึกฮัมโบลต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมึกแคระ

หมึกแคระ (Pygmy squid) เป็นเซฟาโลพอดจำพวกหมึกหูช้างกลุ่มหนึ่ง ในวงศ์ Idiosepiidae และสกุล Idiosepius นับเป็นหมึกที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เมื่อโตเต็มที่เพศเมียมีความยาวลำตัว 1-3 เซนติเมตร ส่วนเพศผู้ 0.5-1.5 เซนติเมตรเท่านั้น พบในบริเวณชายฝั่ง, ป่าชายเลน, แหล่งสาหร่ายทะเล และแหล่งหญ้าทะเล พฤติกรรมมีลักษณะเฉพาะตัวอย่างยิ่งที่ไม่พบในปลาหมึกชนิดอื่น กล่าวคือ สามารถเกาะติดอยู่อยู่กับวัสดุต่าง ๆ โดยใช้อวัยวะพิเศษ บนส่วนหลังของลำตัว กินอาหารพวกครัสเตเชียนขนาดเล็ก วงจรชีวิตประมาณ 3 เดือน ปัจจุบันสามารถเลี้ยงเพาะพันธุ์ได้แล้วในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ วางไข่ประมาณ 100 ฟองต่อตัว ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 2 สัปดาห์ ลูกหมึกแรกเกิด มีการดำรงชีวิตแบบกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดียReid, A. 2005.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมึกแคระ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะพิตแคร์น

หมู่เกาะพิตแคร์น (Pitcairn Islands; พิตแคร์น: Pitkern Ailen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า พิตแคร์น (Pitcairn) เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบไปด้วยกลุ่มเกาะ 4 กลุ่ม คือ เกาะพิตแคร์น เกาะแฮนเดอร์สัน เกาะดูซี และเกาะโอเอโน เกาะเหล่านี้ล้วนเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรทั้งสิ้น ซึ่งเขตนี้เป็นอาณานิคมสุดท้ายที่ยังหลงเหลืออยู่ของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะพิตแคร์น · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะกาลาปาโกส

แผนที่โลกแสดงภาพหมู่เกาะกาลาปาโกส ห่างจากชายฝั่งอเมริกาใต้ไปทางตะวันตก อยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร หมู่เกาะกาลาปาโกส (Islas Galápagos; Galápagos Islands) เป็นหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีความน่าสนใจทั้งด้านธรณีวิทยา สัตววิทยา และนิเวศวิทยาเป็นอย่างยิ่ง เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ โดยมีชื่อภาษาสเปนอย่างเป็นทางการว่า กลุ่มเกาะโกลอน (Archipiélago de Colón; Islas de Colón) ตั้งอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ห่างจากทวีปออกไปทางตะวันตก 1,000 กิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะกาลาปาโกส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะกิลเบิร์ต

รายชื่อเกาะในหมู่เกาะกิลเบิร์ต ตำแหน่งที่ตั้ง หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) ประกอบด้วยเกาะปะการังวงแหวนรวม 16 เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนใหญ่เป็นเกาะในประเทศคิริบาส เกาะสำคัญที่สุดได้แก่ เกาะตาราวา ที่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงประเทศคิริบาส มีประชากรอาศัยอยู่เกือบครึ่งหนึ่งของประเทศ เกาะอื่น ๆ คือ บูตารีตารี อาไบอาง อาเบมามา ตาบีเตอูเอ โนโนอูตี และเบรู เกาะเหล่านี้มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมาเป็นเวลานาน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะกิลเบิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะญี่ปุ่น

มุมมองส่วนหนึ่งของหมู่เกาะญี่ปุ่นจากอวกาศ หมู่เกาะญี่ปุ่น (日本列島, นิฮงเรตโต; Japanese Archipelago) ตั้งอยู่ตะวันออกสุดของแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย ถัดจากคาบสมุทรเกาหลี และตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก เกิดจากการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก 4 แผ่น ได้แก่ แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก ยูเรเชีย ฟิลิปปินส์ และอเมริกาเหนือ เมื่อกว่า 25 ล้านปีก่อน เป็นที่ตั้งของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน ด้วยจำนวนเกาะกว่า 7,000 เกาะ โดยมีเกาะหลัก ๆ ได้แก่ เกาะฮกไกโด เกาะฮนชู เกาะชิโกะกุ และเกาะคีวชู ซึ่งสภาพอากาศของเกาะญี่ปุ่นในตอนบน จะมีสภาพอากาศแบบป่าสนกึ่งขั้วโลก มีหิมะตกหนาทับถมกันหลายนิ้วในช่วงฤดูหนาว แต่ทว่าในตอนใต้ เช่น เกาะอิริโอะโมะเตะ มีสภาพอากาศที่อบอุ่นกว่าคล้ายป่าฝนเขตร้อน มีป่าโกงกาง ขณะที่ตอนกลางของเกาะฮนชูก็มีป่าแบบป่าดิบ อันเป็นผืนป่าดิบแห่งเดียวของโลกที่ตั้งอยู่ ณ เส้นรุ้งที่มีศูนย์กลางอยู่ที่ 36 องศาเหนือ ในขณะที่พื้นที่ ๆ อื่น ๆ ของโลกที่ตั้งอยู่ ณ เส้นรุ้งพิกัดเดียวกันกลับไม่มี ทั้งนี้เป็นผลมาจากสภาพอากาศที่เกิดจากกระแสน้ำอุ่น 2 กระแสหลักรอบเกาะญี่ปุ่น คือ กระแสน้ำอุ่นกุโรชิโว และกระแสน้ำโอยาชิโว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะมาร์เคซัส

หมู่เกาะมาร์เคซัส (Îles Marquises; Marquesas Islands) เป็นหมู่เกาะของดินแดนเฟรนช์โปลินีเซีย อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ละติจูด 9° 00 ใต้ ลองจิจูด 139° 30 ตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อไตโอไฮ ตั้งอยู่บนเกาะนูกูฮีวา หมู่เกาะมีประชากร 8,632 คน จากการสำรวจประชากรในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะมาร์เคซัส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะมาเรียนา

แผนที่แสดงหมู่เกาะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดินแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยู่ หมู่เกาะมาเรียนา (Mariana Islands) เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบไปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมู่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามอร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้ามาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนาในยุคเยอรมันปกครอง เดิมหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส์ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะรีวกีว

หมู่เกาะรีวกีว (ルーチュー รูชู) หรือ หมู่เกาะนันเซ เป็นหมู่เกาะยาวรูปโซ่ในแปซิฟิกตะวันตก อยู่สุดขอบทางตะวันออกของทะเลจีนตะวันออก และอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะคีวชูในประเทศญี่ปุ่น จากประมาณปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะลีเวิร์ด (หมู่เกาะโซไซเอตี)

หมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) หรือ อีลซู-เลอ-ว็อง (Îles Sous-le-vent) คือกลุ่มเกาะทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะโซไซเอตีในดินแดนเฟรนช์โปลินีเซียซึ่งเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะลีเวิร์ด (หมู่เกาะโซไซเอตี) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะวินด์เวิร์ด

หมุ่เกาะวินด์เวิร์ด (Windward Islands) หรือ อีลดูว์ว็อง (Îles du Vent) เป็นกลุ่มเกาะทางทิศตะวันออกของหมู่เกาะโซไซเอตีในเฟรนช์โปลินีเซียซึ่งเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอะลูเชียน

หมู่เกาะอะลูเชียน (Aleutian Islands) เป็นหมู่เกาะในสหรัฐอเมริกา ครอบคลุมพื้นที่ 6,821 ตร.ไมล์ (17,666 กม²) ทอดตัวไปทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอะแลสกายาว 1,200 ไมล์ (1,931 กม.) สหรัฐอเมริกาซื้อหมู่เกาะนี้จากรัสเซีย เมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะอะลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะฮาวาย

หมู่เกาะฮาวายเป็นกลุ่มเกาะที่ประกอบด้วย 8 เกาะใหญ่, อะทอลล์, เกาะเล็ก ๆ และภูเขาใต้ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทอดตัวยาวเป็นระยะทาง 2,400 กิโลเมตรจากเกาะฮาวายทางตอนใต้ไปถึงอะทอลล์เคอร์ทางตอนเหนือ ในอดีตชาวยุโรปและชาวอเมริกันเรียกกลุ่มเกาะนี้ว่า"หมู่เกาะแซนวิช"อันเป็นชื่อที่เจมส์ คุกตั้งให้เพื่อเป็นเกรียติแก่จอห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช ปัจจุบันเรียกชื่อว่าหมู่เกาะฮาวายตามชื่อของเกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะนี้ การปกครองแบบราชาธิปไตยฮาวายถูกล้มล้างใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะดอนเตรแคสโต

หมู่เกาะดอนเตรแคสโต หมู่เกาะดอนเตรแคสโต (D'Entrecasteaux Islands) เป็นหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในประเทศปาปัวนิวกินี ในทะเลโซโลมอน มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก นอกฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะนิวกีนี หมู่เกาะมีช่วงความยาวราว 160 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะดอนเตรแคสโต · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ

หมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ (Archipiélago Juan Fernández; Juan Fernández Islands) เป็นหมู่เกาะร้างของประเทศชิลี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและตกปลาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่นอกชายฝั่งประเทศชิลีราว 600 กิโลเมตร ประกอบด้วย 3 เกาะสำคัญคือ เกาะโรบินสันครูโซ เกาะอาเลฮันโดรเซลเคิร์ก และเกาะซานตากลารา เกาะเหล่านั้นเป็นที่รู้จักจากการที่อะเลกซานเดอร์ เซลเคิร์ก ได้ติดอยู่บนเกาะนี้นาน 4 ปี และเป็นแรงบันดาลใจให้แก่บทประพันธ์เรื่อง โรบินสัน ครูโซ เกาะมีพื้นที่ 181 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะคุก

หมู่เกาะคุก เป็นเขตปกครองตนเองของนิวซีแลนด์ ประกอบไปด้วยเกาะเล็ก ๆ 15 เกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีพื้นที่ทั้งหมด 240 ตาราง กิโลเมตร รายได้สำคัญของหมู่เกาะคุกมาจากการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งของประเทศ เนื่องด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังมีการส่งผลไม้ขายออกนอกประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:ประเทศนิวซีแลนด์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประเทศที่เป็นเกาะ หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 หมวดหมู่:พอลินีเซีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะคุก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซาโลมอน

แผนที่หมู่เกาะซาโลมอน เกาะ ''Boddam'' และเกาะ ''Diable'' ในทางขวา หมู่เกาะซาโลมอน หรือ อะทอลล์ซาโลมอน (Salomon Islands; Salomon Atoll) คืออะทอลล์ใน Chagos Archipelago บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ที่มหาสมุทรอินเดีย หมู่เกาะมีพื้นที่ทั้งหมด 5 ตารางกิโลเมตร และเป็นหนึ่งในหมู่เกาะที่ไม่มีประชากรอยู่อาศัย โดยหมู่เกาะนี้เป็นของสหราชอาณาจักร แต่ยังมีประเทศมอริเชียสอ้างสิทธิ์หมู่เกาะนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะซาโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Northern Mariana Islands; ชามอร์โร: Islas Mariånas) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Commonwealth of the Northern Mariana Islands, CNMI; ชามอร์โร: Sankattan Siha Na Islas Mariånas) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกา หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 14 เกาะ มีประชากรจำนวน 80,362 คน (พ.ศ. 2548).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแชทัม

หมู่เกาะแชทัม (Chatham Islands) เป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะใต้ราว 680 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะแชทัม · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแปซิฟิก

3 กลุ่ม ของหมู่เกาะแปซิฟิก หมู่เกาะแปซิฟิก (Pacific Islands) ประกอบด้วยเกาะเล็กเกาะใหญ่ราว 20,000 ถึง 30,000 เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ในบางครั้งอาจเรียกว่าโอเชียเนีย ถึงแม้ว่าโอเชียเนีย อาจหมายถึงออสตราเลเซียและกลุ่มเกาะมลายู หมู่เกาะแปซิฟิกประกอบด้วย 3 กลุ่มใหญ่ คือ ไมโครนีเซีย เมลานีเซีย และพอลินีเซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซไซเอตี

หมู่เกาะโซไซเอตี (Society Islands) หรือ อีลเดอลาซอซีเยเต (Îles de la Société) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตอนใต้ เป็นส่วนหนึ่งของเฟรนช์โปลินีเซีย มีเมืองหลวงคือ ปาเปเอเต หมู่เกาะประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ หมู่เกาะวินด์เวิร์ด (เกาะตาฮีตี เกาะโมโอเรอา และเกาะขนาดเล็กอีกหลายเกาะ) และหมู่เกาะลีเวิร์ด เป็นหมู่เกาะที่เกิดจากภูเขาไฟและมีพื้นที่เป็นภูเขา ผลิตเนื้อมะพร้าวตากแห้งและไข่มุก ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะโซไซเอตี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเบาน์ตี

หมู่เกาะเบาน์ตี (Bounty Islands) เป็นกลุ่มเกาะเล็ก ๆ 13 เกาะที่ไม่มีคนอยู่อาศัย มีพื้นที่ 330 เอเคอร์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ทางตะวันออก/ใต้ ของเกาะใต้ ราว 670 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะเบาน์ตี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรบียาคีเคโด

หมู่เกาะเรบียาคีเคโด หมู่เกาะเรบียาคีเคโด (Islas Revillagigedo) หรือ กลุ่มเกาะเรบียาคีเคโด (Archipiélago de Revillagigedo) เป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟ 4 เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นที่รู้จักในด้านระบบนิเวศที่เป็นเอกลักษณ์ เป็นส่วนหนึ่งของเทศบาลมันซานีโย ของรัฐโกลีมา ประเทศเม็กซิโก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะเรบียาคีเคโด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเซ็งกะกุ

หมู่เกาะเซ็งกะกุ หรือ หมู่เกาะเตียวหยู หรือ หมู่เกาะพินนาเคิล (Pinnacle Islands) เป็นกลุ่มเกาะร้างขนาดเล็กในทะเลจีนตะวันออก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไต้หวัน และทางตะวันตกของเกาะโอะกินะวะ อยู่ทางเหนือของปลายตะวันตกสุดของหมู่เกาะรีวกีวของญี่ปุ่น แผนที่วาดโดยนักเขียนแผนที่ชาวญี่ปุ่น แสดงว่าหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยูเป็นของจีน หมู่เกาะดังกล่าวเป็นชายแดนนอกชายฝั่งของจีนเพื่อใช้ในการป้องกันโจรสลัดญี่ปุ่น (Wokou) ในระหว่างปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหมู่เกาะเซ็งกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

หยีน้ำ

หยีน้ำ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 15-25 เมตร ดอกสีม่วงอมชมพู รูปร่างของดอกคล้ายดอกแคแต่เล็กกว่า ผลเป็นฝักสั้นและแบน เป็นพืชตระกูลถั่ว จึงมีไรโซเบียมอยู่ในปมราก ช่วยในการตรึงไนโตรเจน เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่ออื่น ๆ ได้แก่ Indian Beech, Pongam Oiltree, Karanj (ภาษาฮินดี), ಹೊಂಗೆ Honge (ภาษากันนาดา), புங்கை Pungai (ภาษาทมิฬ), కానుగ Kānuga (ภาษาเตลูกู), नक्तमाल Naktamāla (ภาษาสันสกฤต) พืชชนิดนี้ใช้ทำไบโอดีเซลในอินเดี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหยีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หอยกูอีดั๊ก

ำหรับหอยงวงช้างที่มีรูปร่างเหมือนหมึกผสมกับหอยฝาเดี่ยวดูที่: หอยงวงช้าง หอยกูอีดั๊ก (geoduck; หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กูอี (Gooey) หรือ ดั๊ก (Duck)) เป็นหอยสองฝาที่พบในทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panopea generosa ในวงศ์ Hiatellidae เป็นหอยที่มีลักษณะเด่นคือ มีเปลือกสีขาวยาวประมาณ 15–20 เซนติเมตร แต่มีจุดเด่นคือ มีท่อดูดซึ่งตอนปลายมีรู 2 รู แยกเป็นรูดูดอาหารและรูปล่อยของเสียรวมถึงสเปิร์มในตัวผู้ และไข่ในตัวเมีย ยื่นยาวออกมาจากเปลือกอย่างเห็นได้ชัด แลดูคล้ายงวงของช้าง ซึ่งอาจยาวได้ถึง 1 เมตร หอยกูอีดั๊กจะอาศัยในทะเล โดยการฝังตัวใต้ทรายบริเวณชายฝั่งบริติชโคลัมเบียในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา หากินโดยการกินสาหร่ายทะเลเป็นอาหาร เมื่อถูกจับขึ้นมา จะพ่นน้ำคัดหลั่งออกมาจากปลายท่อดูด ขยายพันธุ์ด้วยการที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อออกมาปฏิสนธิพร้อมกับตัวเมียที่ปล่อยไข่ออกมาได้ราวครั้งละ 10 ล้านฟอง ลูกหอยขนาดเล็กจะขุดหลุมฝังตัวใต้ทรายในระดับที่ตื้น ๆ ก่อนที่จะขุดลึกลงไปเรื่อย ๆ ตามวัยที่โตขึ้น ซึ่งอาจลึกได้ถึง 110 เมตร นอกจากนี้แล้ว หอยชนิดนี้ยังมีอายุยืนได้ถึง 146 ปี นับเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีอายุยืนที่สุดของโลก โดยมีฤดูการขยายพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน–กรกฎาคม ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำมีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น เป็นหอยที่นิยมบริโภคกันทั้งในสหรัฐอเมริกาหรือประเทศทางภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยนิยมทำไปเป็นซูชิในอาหารญี่ปุ่น โดยถูกเฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ หรือปรุงเป็นอาหารจีน ซึ่งมีชื่อเรียกในภาษาจีนเรียกว่า 象拔蚌 (พินอิน: Xiàng bá bàng; หอยงวงช้าง) ปัจจุบัน หอยชนิดนี้มีการเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม ลูกหอยที่เพาะออกมาได้ จะถูกนำไปฝังไว้ใต้ทรายบริเวณชายหาดในท่อพลาสติก ซึ่งต้องใช้เวลานานกว่า 5 ปี กว่าหอยจะโตเต็มวัยถึงขนาดที่จับขายได้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหอยกูอีดั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์หนามเล็ก

หอยสังข์หนามเล็ก (ชื่อสามัญ:Murex trapa) เป็นสปีชีส์หนึ่งในหอยทากทะเลอยู่ในไฟลัมมอลลัสกาในวงศ์หอยหนามBouchet, P. (2015).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหอยสังข์หนามเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยจักจั่น

หอยเบี้ยจักจั่น หรือ หอยเบี้ยจั่น (Money cowry) เป็นหอยทะเลฝาเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria moneta (ศัพทมูลวิทยา: moneta (/โม-เน-ตา/) เป็นภาษาละตินแปลว่า "เงินตรา") ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังนูน ท้องแบน ช่องปากยาวแคบและไปสุดตอนปลายทั้ง 2 ข้าง เป็นลำราง ริมปากทั้ง 2 เป็นหยักคล้ายฟัน ไม่มีฝาปิด มีความยาวประมาณ 12-24 มิลลิเมตร มีถิ่นแพร่กระจายอยู่ในทะเลเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ทะเลแดง อินโด-แปซิฟิก นอกชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกของอเมริกากลาง ชายฝั่งทะเลทวีปแอฟริกาตอนตะวันออกและใต้ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลญี่ปุ่น ไปจนถึงโอเชียเนีย ดำรงชีวิตอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและสาหร่ายทะเลที่ลอยมาตามกระแสน้ำ เปลือกหอยของหอยเบี้ยชนิดนี้ มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ โดยใช้เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนสิ่งของแทนเงินตราในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าคำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทยก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "รูปี" ซึ่งเป็นหน่วยเงินตราของอินเดียมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลคอลัมน์ Aqua Pets โดย จอม สมหวัง ปัทมคันธิน "สุดยอดแฟนพันธุ์แท้เปลือกหอย 2 สมัย" หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz Vo.1 issue 6 ฉบับเดือนธันวาคม 2010 นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังใช้เป็นเครื่องรางของขลังในวัฒนธรรมไทย โดยมักนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่า ถ้าพกเปลือกหอยเบี้ยชนิดนี้ไว้กับตัวเวลาเดินทางสัญจรในป่า จะช่วยป้องกันไข้ป่า รวมถึงป้องกันและแก้ไขภยันอันตรายจากร้ายให้กลายเป็นดีได้ หรือนำไปตกแต่งพลอยเรียกว่า "ภควจั่น" ในเด็ก ๆ เชื่อว่าช่วยป้องกันฟันผุ หรือพกใส่กระเป๋าสตางค์ เชื่อว่าทำให้เงินทองไหลเทมาและโชคดี ปัจจุบัน เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังนิยมสะสมกันเป็นของประดับและของสะสมกันอีกด้วย โดยมีชนิดที่แปลกแตกต่างไปจากปกติ คือ "ไนเจอร์" (Niger) ที่หอยจะสร้างเมลานินสีดำเคลือบเปลือกไว้จนกลายเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลคล้ำทั้งหมด และชนิดที่มีราคาสูงที่สุด เรียกว่า "โรสเตรท" (Rostrat) หรือ หอยเบี้ยจักจั่นงวง คือ เป็นหอยเบี้ยจักจั่นในตัวที่ส่วนท้ายของเปลือกมิได้กลมมนเหมือนเช่นปกติ แต่สร้างแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในเวลาหลายปี จนกระทั่งยาวยืดออกมาและม้วนขึ้นเป็นวงอย่างสวยงามเหมือนงวงช้าง ซึ่งหอยในรูปแบบนี้จะพบได้เฉพาะแถบอ่าวด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะนิวแคลิโดเนียที่เดียวในโลกเท่านั้น มีการประเมินราคาของเปลือกหอยลักษณะนี้ไว้ถึง 25 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นราคาของเปลือกหอยที่มีค่าสูงที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหอยเบี้ยจักจั่น · ดูเพิ่มเติม »

หอดูดาวกริฟฟิท

หอดูดาวกริฟฟิท เป็นสถานที่แห่งหนึ่งในเมืองลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บนแนวเฉียงของภูเขาด้านทิศใต้ของภูเขาฮอลลีวูด ในสวนสาธารณะกริฟฟิท ของเมืองลอสแอนเจลิส สถานที่แห่งนี้เป็นทิศทัศน์แห่งลุ่มน้ำลอสแอนเจลิส คือสามารถมองเห็นตัวเมืองได้รอบด้าน ได้แก่ ดาวน์ทาวน์ลอสแอนเจลิส ในทิศตะวันออกเฉียงใต้, ฮอลลีวูด ในทิศใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก ในทิศตะวันตกเฉียงใต้ หอดูดาวนี้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ภายในหอดูดาวมีการจัดแสดงเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และอวกาศ ตั้งแต่หอดูดาวนี้เปิดในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหอดูดาวกริฟฟิท · ดูเพิ่มเติม »

หุบผาชันใต้ทะเล

หุบผาชันใต้ทะเลบริเวณทวีปแอฟริกา หุบผาชันใต้ทะเล (submarine canyon) เป็นแนวหุบผาชันใต้มหาสมุทร มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 28 ของพื้นท้องมหาสมุทร ส่วนของยอดสันเขามีลักษณะเป็นหุบเขาทรุด (rift valley) ลักษณะเป็นร่องลึก มีความกว้างประมาณ 25–50 กิโลเมตร บริเวณหุบเขาทรุดมักเกิดปรากฏการณ์ภูเขาไฟหรือปล่องแบบน้ำร้อนอยู่ด้วย เนื่องจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และการแทรกตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลก จากการศึกษามหาสมุทรของนักสมุทรศาสตร์พบว่า มหาสมุทรแปซิฟิกมีความลึกเฉลี่ย 4,028 เมตร รองลงมาได้แก่ มหาสมุทรแอตแลนติก มีความลึกเฉลี่ย 3,332 เมตร ส่วนที่ลึกที่สุดของมหาสมุทรจะเรียกว่าร่องลึกก้นสมุทร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและหุบผาชันใต้ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ออสตราเลเซีย

แผนที่ออสตราเลเซีย ออสตราเลเซีย (Australasia) คือชื่อที่ใช้เรียกภูมิภาคโอเชียเนีย กล่าวคือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะใกล้เคียงในมหาสมุทรแปซิฟิก ผู้คิดคำนี้ขึ้น คือ ชาร์ล เดอ บรอส (Charles de Brosses) ซึ่งระบุไว้ในหนังสือประวัติการสำรวจซีกโลกใต้ (Histoire des navigations aux terres australes) เมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและออสตราเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต

อะมีเลีย แมรี แอร์ฮาร์ต (Amelia Mary Earhart; 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 — หายสาบสูญ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2480; ทางการประกาศว่าเสียชีวิต 5 มกราคม พ.ศ. 2482) นักบินชาวอเมริกัน ได้ชื่อว่าเป็นนักบินสตรีคนแรก ๆ ของประเทศ เธอเป็นสตรีคนแรกที่ขึ้นบินในฐานะผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และต่อด้วยการบินเดี่ยวเองเป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2478 ได้บินเดี่ยวข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกจากฮาวายสู่แคลิฟอร์เนีย อีกสองปีต่อมาอะมีเลียได้พยายามทำสถิติในการบินรอบโลก แต่ได้หายสาบสูญไปอย่างลึกลับ เหนือน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก ในระหว่างทำการบินรอบโลกเมื่อปี พ.ศ. 2480.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอะมีเลีย แอร์ฮาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

อะทอลล์

กดาวเทียมของอะทอลล์อาตาฟูในโตเกเลาในมหาสมุทรแปซิฟิก อะทอลล์ (atoll) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูน ที่อาจล้อมปิดลากูนโดยสมบูรณ์หรือล้อมรอบเป็นบางส่วนก็ได้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

อากาปุลโก

อากาปุลโก (Acapulco) หรือที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการในชื่อ อากาปุลโกเดคัวเรซ (Acapulco de Juárez) เป็นเมือง เทศบาล และท่าเรือที่สำคัญในรัฐเกร์เรโร บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของประเทศเม็กซิโก อยู่ห่างออกไป 300 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากกรุงเม็กซิโกซิตี อากาปุลโกตั้งอยู่บนอ่าวลึกทรงครึ่งวงกลมและได้เป็นท่าเรือตั้งแต่ยุคอาณานิคมในช่วงต้นของประวัติศาสตร์ของเม็กซิโก เป็นท่าเรือสำหรับการขนส่งและล่องเรือระหว่างปานามากับแซนแฟรนซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อากาปุลโกเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเมืองหลวงของรัฐที่ชื่อชิลปันซิงโกเสียอีก อากาปุลโกยังเป็นเมืองชายหาดและรีสอร์ตที่ใหญ่ที่สุดของเม็กซิโกอีกด้วย เมืองนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในรีสอร์ตชายหาดที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงมากที่สุดของเม็กซิโก ซึ่งเริ่มมีความโดดเด่นในปี 1950 ในฐานะสถานที่พักผ่อนยอดนิยมสำหรับดาราฮอลลีวูดและมหาเศรษฐี อากาปุลโกยังคงเป็นที่ที่มีชื่อเสียงในเรื่องสถานบันเทิงยามค่ำคืนและยังคงดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมาก ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่ในขณะนี้เป็นนักท่องเที่ยวที่มาจากเม็กซิโกเอง บริเวณรีสอร์ตแบ่งออกเป็นสองส่วน ตอนเหนือของอ่าวเป็นพื้นที่ "ดั้งเดิม" ที่มีชื่อเสียงในกลางศตวรรษที่ 20 และตอนใต้เต็มไปด้วยโรงแรมหรูหราสูงใหญ่แห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้นในภายหลัง ชื่อ "อากาปุลโก" มาจากคำในภาษานาอวตล์ (Nahuatl) ว่า Aca-Pol-co หมายถึง "ที่ต้นกก/ต้นอ้อถูกทำลายหรือล้างออกไป" ชื่อ "de Juárez" ถูกเพิ่มขึ้นเป็นชื่ออย่างเป็นทางการในปี 1885 เพื่อเป็นเกียรติกับเบนีโต คัวเรซ (Benito Juárez) อดีตประธานาธิบดีของเม็กซิโก ตราประทับของเมืองจะแสดงให้เห็นต้นกกหรืออ้อที่ถูกหัก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอากาปุลโก · ดูเพิ่มเติม »

อาวารัว

อาวารัว (Avarua) เป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะคุกซึ่งเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่บนฝั่งด้านเหนือของเกาะราโรตองกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เมืองมีสนามบินนานาชาติราโรตองกา เขตอาวารัวมีประชากร 5,445 คน (ค.ศ. 2006).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอาวารัว · ดูเพิ่มเติม »

อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า

อาธีนาและเซนต์แห่งอาธีน่า เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย์ย่า ซึ่งเซนต์แห่งอาธีน่าเป็นเซนต์ประจำกลุ่มดาวทั้ง 88 มีหน้าที่ปกป้องอาธีนา โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ บรอนซ์เซนต์ ซิลเวอร์เซนต์ และโกลด์เซนต์ แต่ในบรรดานั้นก็มีเซนต์บางคนที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มดาวทั้ง 88 รวมไปถึงเซนต์ที่ไม่มีกลุ่มดาวประจำตัวอย่าง สตีลเซนต์ แบล็กเซนต์ และโกสต์เซนต์ด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า · ดูเพิ่มเติม »

อาตาฟู

รุ่งอรุณในถนนสายหลัก อาตาฟู (Atafu) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนในโตเกเลา ในภาคใต้ของ มหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากซามัวไปทางทิศเหนือ 500 กิโลเมตร มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร ที่นี่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของทั้งสามเกาะในโตเกเลา และประกอบด้วย เกาะปะการัง โดยรอบทะเลสาบกลางซึ่งมีพื้นที่ 15 ตารางกิโลเมตร ที่นี่ตั้งอยู่ห่างออกไป 800 กิโลเมตรทางทิศใต้ของเส้นศูนย์สูตรที่ 8 ° 35 'South, 172 ° 30' เวสต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอาตาฟู · ดูเพิ่มเติม »

อาโลฟี

อาโลฟี (Alofi) เป็นเมืองหลวงของนีอูเอ ซึ่งตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีประชากร 581 คน (จากการสำรวจสำมะโนประชากร ปี 2006) อาโลฟีมีความโดดเด่นตรงที่เป็นเมืองหลวงที่เล็กที่สุดในแง่ของประชากร อาโลฟีประกอบด้วยสองหมู่บ้าน คือ หมู่บ้านอาโลฟีนอร์ท (ประชากร 147 คน) และหมู่บ้านอาโลฟีเซาท์ที่ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ (ประชากร 434 คน).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอาโลฟี · ดูเพิ่มเติม »

อาเนตยูม

อาเนตยูม (Aneityum) เป็นเกาะใต้สุดของประเทศวานูอาตู ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในจังหวัดตาเฟีย มีสนามบินแห่งหนึ่ง แต่ไม่ได้อยู่บนเกาะหลัก ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ทางตอนใต้ เกาะมีพื้นที่ 159.2 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอาเนตยูม · ดูเพิ่มเติม »

อิชิโนะมะกิ

อิชิโนะมะกิ เป็นเมืองในจังหวัดมิยะงิ บนเกาะฮอนชู ในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิค มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 555.35 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิชิโนะมะกิ · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาฟีจี

อิกัวนาฟีจี (Fiji banded iguana) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brachylophus fasciatus ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีสีสันสวยงามที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ในตัวผู้จะมีแถบสีขาวอมฟ้าคาดที่กลางลำตัวลงไปถึงช่วงท้องประมาณ 2-3 แถบ ในขณะที่ลำตัวทั้งตัวจะเป็นสีเขียวอ่อนทั้งตัว ในส่วนของตัวเมียจะไม่ปรากฏแถบดังกล่าว ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร โดยมีความยาวหางคิดเป็น 2 ใน 3 ส่วนของขนาดความยาวทั้งตัว มีหนามเล็ก ๆ เรียงกันเป็นแถวเดียวตั้งแต่ส่วนบริเวณเหนือมุมปากไปจนถึงต้นตอ จากนั้นจะกลายเป็นแค่สันแถวเดียวไปจรดปลายหาง ใช้ชีวิตส่วนอาศัยอยู่บนต้นไม้ กินอาหารจำพวกผลไม้และดอกไม้ได้หลากหลายประเภทเป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินแมลงบางชนิดได้เป็นอาหารเสริมเช่นกัน พบกระจายพันธุ์เฉพาะในหมู่เกาะฟีจีและตองงา ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้แห่งเดียวเท่านั้น โดยเชื่อว่าในอดีตบรรพบุรุษคงมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อยู่ห่างไกลออกไปประมาณ 6,000 กิโลเมตร ด้วยการเกาะวัสดุที่ลอยตามน้ำมาจากพายุ พร้อมกับสัตว์จำพวกอื่น จนวิวัฒนาการมาเป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นที่นี่ เป็นกิ้งก่าที่ได้รับความนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงอย่างมากเนื่องจากความสวยงามและหายาก ทำให้มีราคาซื้อขายกันในแวดวงสัตว์เลี้ยงสูงมาก ซึ่งพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงนั้น อิกัวนาฟีจีแทบไม่ปรากฏความก้าวร้าวต่อผู้เลี้ยงเลย แต่สถานะในธรรมชาติปัจจุบันนั้น อิกัวนาฟีจีกำลังใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากถิ่นที่อยู่ที่จำกัดถูกคุกคามจากมนุษย์ และยังได้รับผลกระทบจากสัตว์นักล่าขนาดใหญ่กว่าที่มิใช่สัตว์พื้นเมือง เช่น พังพอนหรือแมวบ้าน เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิกัวนาฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

อิกิเก

อิกิเก (Iquique) เป็นเมืองท่าในประเทศชิลี และเป็นเทศบาลทางตอนเหนือของประเทศชิลี เป็นเมืองหลักของแคว้นตาราปากาและจังหวัดอิกิเก เมืองตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตกของปัมปาเดลตามารูกัล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลทรายอาตากามา เมืองมีประชากร 180,601 คน (ค.ศ. 2012) เมืองพัฒนามาจากยุครุ่งเรืองของการทำเหมืองดินประสิวในทะเลทรายอาตากามา ในช่วงศตวรรษที่ 19 เดิมเป็นเมืองของประเทศเปรู ต่อมาถูกชิลียึดครองโดยเป็นผลจากสงครามแปซิฟิก (ค.ศ. 1879–1883).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิกิเก · ดูเพิ่มเติม »

อิวะกิ (เมือง)

อิวะกิ เป็นเมืองในจังหวัดฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ริมชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศใต้ในเขตฮะมะโดริ ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิวะกิ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

อิวะนุมะ

อิวะนุมะ เป็นเมืองในจังหวัดมิยะงิ บนเกาะฮอนชู ในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิค มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 60.71 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิวะนุมะ · ดูเพิ่มเติม »

อิสราเอล คามาคาวิโวโอเล

อิสราเอล "อิซ" คาอาโนอี คามาคาวิโวโอเล (Israel "IZ" Kaʻanoʻi Kamakawiwoʻole; ออกเสียง) เป็นนักดนตรีชาวพื้นเมืองฮาวาย เล่นดนตรีแนวผสมผสานระหว่างแจ๊สและเร็กเก้ บทเพลงที่มีชื่อเสียงเป็นเพลงเมดเลย์ประกอบด้วยเพลง Over The Rainbow (ต้นฉบับโดย จูดี การ์แลนด์) และเพลง What A Wonderful World (ต้นฉบับโดย หลุยส์ อาร์มสตรอง) เพลงของเขาได้รับความนิยม นำไปใช้เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น เรื่อง Meet Joe Black, Finding Forrester, 50 First Dates, Fred Clause, Glee และภาพยนตร์ไอแมกซ์ IMAX: Hubble 3D เป็นนักดนตรีร่างยักษ์ ที่เล่นดนตรีเป็นอูคูเลเลตัวเล็ก และร้องเพลงด้วยเสียงทุ้มนุ่มเป็นเอกลักษณ์ คามาคาวิโวโอเล มีความสูง 1.88 เมตร แต่มีน้ำหนักถึง 343 กิโลกรัม (757 ปอนด์) มีค่าดัชนีมวลกายถึง 97.05 kg/m² ทำให้มีปัญหาด้านสุขภาพ และเสียชีวิตจากอาการหัวใจวาย ด้วยวัยเพียง 38 ปี (tak a propos wasz jęzzyk ssie pałke elo xDหลังเสียชีวิต คามาคาวิโวโอเล ได้รับการเชิดชูเกียรติจากทางการรัฐฮาวาย มีการประกาศลดธงครึ่งเสาเพื่อไว้อาลัย และตั้งหีบศพไว้ณ ที่ทำการของรัฐ เพื่อให้ประชาชนเข้าเคารพศพ ในพิธีศพของเขาเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1997 ได้มีพิธีโปรยเถ้ากระดูกลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิกที่หาดมากัว วิดีโอบันทึกภาพงานศพของเขาปรากฏอยู่ในคลิปวิดีโอเพลง "Over the Rainbow" ฉบับเป็นทางการในยูทูบซึ่งมียอดผู้เข้าชมมากกว่า 450 ล้านครั้ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอิสราเอล คามาคาวิโวโอเล · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์สเตต 10

อินเตอร์สเตต 10 (Interstate 10 หรือ I-10) เป็นทางหลวงอินเตอร์สเตตที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา ทอดตัวจากตะวันออกไปตะวันตก จากชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งต่อจากทางหลวงแคลิฟอร์เนีย หมายเลข 1 ในเมืองแซนตามอนิกา รัฐแคลิฟอร์เนีย มุ่งสู่อินเตอร์สเตต 95 เมืองแจ็กสันวิลล์ รัฐฟลอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอินเตอร์สเตต 10 · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์สเตต 5

อินเตอร์สเตต 5 (Interstate 5 หรือ I-5) เป็นทางหลวงอินเตอร์สเตตสายหลักในแถบชายฝั่งตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเส้นทางขนานกับมหาสมุทรแปซิฟิกจากแคนาดาถึงเม็กซิโก (รัฐวอชิงตัน ถึง ทางใต้สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย) เมืองสำคัญที่ถนนสายนี้ผ่าน เช่น ซีแอตเทิล ทาโคมา พอร์ตแลนด์ แซคราเมนโต ซานฟรานซิสโก โอคแลนด์ ลอสแอนเจลิส และแซนดีเอโก ผ่านเมืองหลวงของรัฐวอชิงตัน ออริกอน และแคลิฟอร์เนีย ทางหลวงมีปลายทางทิศใต้อยู่ที่ชายแดนสหรัฐ-เม็กซิโก ส่วนปลายทางทิศเหนืออยู่ที่ชายแดนสหรัฐ-แคนาดา อินเตอร์สเตต 5 เป็นถนนอินเตอร์สเตตเพียงเส้นเดียวที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศแคนาดากับเม็กซิโก และปลายทางทิศใต้ยังเชื่อมต่อกับทางหลวงสหพันธรัฐเม็กซิโก หมายเลข 1 ในเมืองติฮวานา ประเทศเม็กซิโก ส่วนปลายทางทิศเหนือเชื่อมกับทางหลวงบริติชโคลัมเบีย หมายเลข 99 ที่เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา |- |แคลิฟอร์เนีย || 796.53 || 1281.89 |- |ออริกอน || 308.14 || 495.90 |- |วอชิงตัน || 276.62 || 445.18 |- |รวม || 1381.29 || 2222.97 |--> อินเตอร์สเตต 5 เชื่อมโยงเมืองต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอินเตอร์สเตต 5 · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์สเตต 8

อินเตอร์สเตต 8 (Interstate 8 หรือ I-8) เป็นทางหลวงอินเตอร์สเตตทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนซันเซตคลิฟส์ใกล้อ่าวมิสชัน ในเมืองแซนดีเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย เกือบจะติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก สู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองกาซากรันดี รัฐแอริโซนา เส้นทางในช่วงที่ผ่านรัฐแคลิฟอร์เนียแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอินเตอร์สเตต 8 · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเกลเชอร์

อุทยานแห่งชาติเกลเชอร์ (Glacier National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติในรัฐมอนแทนา สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณบริเวณชายแดนสหรัฐ-แคนาดา อุทยานแห่งชาตินี้กินพื้นที่กว่า 4,100 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเทือกเขาสองแห่ง (ซึ่งเป็นเทือกเขาย่อยของเทือกเขาร็อกกี) ในอุทยานแห่งชาติมีทะเลสาบมากกว่า 130 แห่ง มีพืชอยู่มากกว่า 1,000 ชนิด และมีสัตว์กว่าร้อยสายพันธุ์ อุทยานแห่งชาตินี้ยังได้รับการขนานนามว่า "มงกฎแห่งระบบนิเวศภาคพื้นทวีป" ซึ่งหมายความว่าเป็นสถานที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดในบรรดาพื้นที่โดยรอบกว่า 40,000 ตารางกิโลเมตร ที่นี่ยังเป็นแหล่งต้นน้ำของสายน้ำลำธารที่ไหลไปยังมหาสมุทรแปซิฟิก อ่าวเม็กซิโก และอ่าวฮัดสัน โดยสิ่งที่เกิดขึ้นที่นี่จะมีผลต่อน่านน้ำในส่วนใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือ จะมีการตรวจจับประชากรหอยแมลงภู่ในเขตภาคกลางของแม่น้ำมอนทาน่าอย่างสม่ำเสมอ อุทยานแห่งชาติเกลเชอร์มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติวอเตอร์ตันเลคส์ในประเทศแคนาดา ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอุทยานแห่งชาติเกลเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเขาสก

อุทยานแห่งชาติเขาสก มีพื้นที่อยู่ในท้องที่อำเภอพนมและอำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสภาพพื้นที่เป็นธรรมชาติอันกว้างใหญ่ปกคลุมไปด้วยป่าดิบชื้น ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดของเขตอุทยานแห่งชาติ ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงต่ำสลับซับซ้อน พื้นที่ราบมีน้อย พื้นที่ส่วนหนึ่งด้านทิศเหนือบริเวณคลองพระแสงเป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เกิดขึ้นเนื่องจากการก่อสร้างเขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) ประกอบไปด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนิด อุทยานแห่งชาติเขาสกมีเนื้อที่ประมาณ 741.01 ตารางกิโลเมตร หรือ 463,131.43 ไร่ ได้มีการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2523.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอุทยานแห่งชาติเขาสก · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวอิเซะ

อ่าวอิเซะ (伊勢湾 Ise-wan) เป็นอ่าวที่อยู่ที่ปากแม่น้ำคิโซะ ระหว่างจังหวัดมิเอะกับจังหวัดไอชิในญี่ปุ่น มีความลึกเฉลี่ย 19.5 เมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 30 เมตรที่กลางอ่าว ปากอ่าวกว้าง 9 กิโลเมตร และเชื่อมต่อกับอ่าวมิคะวะที่เล็กกว่าทางช่องแคบสองช่อง คือ ช่องแคบนะคะยะมะ และช่องแคบโมะโระซะกิ อ่าวมิคะวะเชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางช่องแคบอิระโกะซึ่งลึกตั้งแต่ 50-100 เมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวอิเซะ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวซุรุงะ

อ่าวซุรุงะ อ่าวซุรุงะ เป็นอ่าวบนเกาะฮนชูที่เชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ในจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ทิศตะวันตกของปากอ่าวเป็นที่ต้องของเมืองโอะมะซะกิ และทางตะวันออกของอ่าวเป็นคาบสมุทรอิซุ หมวดหมู่:ภาคคันโต หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดชิซุโอะกะ ซุ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวซุรุงะ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวปานามา

อ่าวปานามา อ่าวปานามา (Golfo De Panamá) เป็นอ่าวในมหาสมุทรแปซิฟิก ใก้กับชายฝั่งทางใต้ของประเทศปานามา มีความกว้างประมาณ 250 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวปานามา · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอ่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันอันตราย

อเมริกันอันตราย (The Ugly American) เป็นนวนิยายเชิงการเมืองในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอเมริกันอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

อเลสซานโดร มาลาสปินา

อเลสซานโดร มาลาสปินา (Alessandro Malaspina) (5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1754 - 9 เมษายน ค.ศ. 1810) เป็นขุนนางชาวอิตาลี ที่ใช้ชีวิตเกือบทั้งชีวิตเป็นนาวิกโยธินสเปน เขาได้เดินทางไปรอบโลกตั้งแต่ปี 1786 ถึง 1788 จากนั้นจากปี 1789 ถึง 1794 โดยเป็นการเดินทางสำรวจทางวิทยาศาสตร์ผ่านทางมหาสมุทรแปซิฟิก โดยสำรวจและทำแผนที่ชายฝั่งทางตะวันตกของอเมริกา ตั้งแต่เคปฮอร์นถึงอ่าวอะแลสกา ข้ามไปยังเกาะกวมไปถึงฟิลิปปินส์ และหยุดที่นิวซีแลนด์ ออสเตรเลียและตองกา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2297 หมวดหมู่:นักสำรวจชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและอเลสซานโดร มาลาสปินา · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมะมะสึ

นครฮามามัตสึ ตั้งอยู่ในทางตะวันตกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น นครฮามามาสึได้ควบรวมพื้นที่เข้ากับเมืองและอำเภอโดยรอบจำนวน 11 เมืองและอำเภอ ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และได้ยกระดับเป็นนครอันตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฮะมะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิตะชิ (เมือง)

ตะชิ เป็นเมืองในจังหวัดอิบะระกิ ประเทศญี่ปุ่น ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและฮิตะชิ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ผักเหมียง

ผักเหมียง ผักเหลียง เป็นพืชเมล็ดเปลือยในสกุลมะเมื่อย ลักษณะเป็นไม้พุ่ม เมล็ดแก่สีส้ม ติดเมล็ดช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทางตะวันตกของหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก แพร่กระจายจากรัฐอัสสัมผ่านอินโดนีเซีย มาเลเซียไปจนถึงฟิลิปปินส์และฟีจี ในไทยพบทางภาคใต้ เช่น พบในจังหวัดพังงา ภูเก็ต ชื่อในภาษาต่าง ๆ ได้แก่ เมอลินโจ หรือ เบอลินโจ (ภาษาอินโดนีเซีย), บาโก (ภาษามลายู, ภาษาตากาล็อก), ปีแซ (ภาษามลายูปัตตานี), แด (ภาษากวาราแอ) และ Bét, Rau bép, Rau danh หรือ Gắm (ภาษาเวียดนาม).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและผักเหมียง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้อเมริกา

ระเข้อเมริกา (American crocodile) เป็นจระเข้ที่พบในเขตร้อนของโลกใหม่ มีการกระจายพันธุ์มากที่สุดในจระเข้ 4 ชนิดที่พบในทวีปอเมริกา อาศัยอยู่ตามพื้นที่ชายฝั่งขนาดใหญ่ พบตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกทางตอนใต้ประเทศเม็กซิโกถึงทวีปอเมริกาใต้ ไกลถึงประเทศเปรูและประเทศเวเนซุเอลา นอกจากนี้ยังพบในแม่น้ำหลายสายของประเทศคิวบา, ประเทศจาเมกา, และเกาะฮิสปันโยลา ในสหรัฐอเมริกา จระเข้อเมริกาพบในตอนใต้ของรัฐฟลอริดาเท่านั้น ซึ่งคาดว่ามีประชากรจำนวน 2000 ตัว แม้จะอยู่ใกล้กับเกาะฮิสปันโยลาแต่ไม่พบจระเข้อเมริกาในเปอร์โตริโก จระเข้อเมริกาเป็นจระเข้ที่มีขนาดใหญ่กว่าจระเข้อื่นหลายชนิด มีรายงานการพบจระเข้ตัวผู้ยาวถึง 6.1 เมตรในอเมริกากลางและอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจระเข้อเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์นสตันอะทอลล์

อห์นสตันอะทอลล์ จอห์นสตันอะทอลล์ (Johnston Atoll) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ทาง 1328 กิโลเมตรจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโฮโนลูลูของฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 2.63 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว จอห์นสตันอะทอลล์เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอน ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จอห์นสตันอะทอลล์ยังมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่บนเกาะจอห์นสตัน หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจอห์นสตันอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิตูอีโตงา

ักรวรรดิตูอีโตงา เป็นจักรวรรดิหนึ่งที่มีอำนาจยิ่งใหญ่มากในเขตโอเชียเนีย โดยจักรวรรดินี้ก่อตั้งขึ้นราวปี ค.ศ. 950 โดยพระเจ้าอะโฮเออิตู แต่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 15 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยของจักรพรรดิโมโมและจักรพรรดิตูอิตาตูอิ ซึ่งสามารถขบายอำนาจได้ตั้งแต่ นีอูเอ ถึงติโกเปีย จักรวรรดินี้เคยขยายอาณาเขตได้ไกลที่สุดถึงรัฐแยปของไมโครนีเซีย มีเมืองหลวงสำคัญของจักรวรรดิที่มูอา ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะโตงาตาปู โดยมีพระมหากษัตริย์ปกครองมาจาก 3 ราชวงศ์ และตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา จักรวรรดิตูอีโตงามีราชวงศ์ปกครองจักรวรรดิพร้อมกันถึง 3 ราชวงศ์ในเวลาเดียวกัน ในปัจจุบันนักวิจัยได้พยายามค้นคว้าถึงบทบาทของจักรวรรดิในการค้าทางทะเล รวมไปถึงอิทธิพลของจักรวรรดิในบริเวณต่างๆ แต่ยังคงขาดหลักฐานเชิงประจักษ์"The Pacific Islands: An Encyclopedia," edited by Lal and Fortune, p. 133.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจักรวรรดิตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาเยเดลเกากา

ลเกากา (Valle del Cauca) คือหนึ่งใน 32 จังหวัดของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีเมืองหลักคือกาลี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดบาเยเดลเกากา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิบะ

ังหวัดชิบะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น อยู่ในเขตคันโต บนเกาะฮนชู มีเมืองเอกชื่อเดียวกันคือ ชิบะ จังหวัดชิบะเป็นที่ตั้งของสนามบินนะริตะซึ่งอยู่ในเมืองนะริตะ และโตเกียวดิสนีย์รีสอร์ต (ประกอบด้วยโตเกียวดิสนีย์แลนด์และโตเกียวดิสนีย์ซี) ซึ่งอยู่ในเมืองอุระยะซ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดชิบะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิซูโอกะ

ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดชิซูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลิมา

ตำแหน่งของจังหวัดลิมา จังหวัดลิมา เป็นจังหวัดในประเทศเปรู ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันตกของประเทศ เป็นจังหวัดเดียวที่ไม่อยู่ในยี่สิบห้าภูมิภาคของเปรู เมืองเอกของจังหวัดคือลิมา ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศ จังหวัดลิมามีอาณาเขตติดกับภูมิภาคลิมา ภูมิภาคกายาโอ และมหาสมุทรแปซิฟิก จังหวัดลิมามีประชากร 7,605,742 คนตามข้อมูลประชากรปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดลิมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาโอโมริ

ังหวัดอาโอโมริ เป็นจังหวัดตั้งอยู่เหนือสุดของเกาะฮนชู อยู่ในภาคโทโฮกุของประเทศญี่ปุ่น เมืองเอกของจังหวัดคือนครอาโอโมร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดอาโอโมริ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิวาเตะ

ังหวัดอิวาเตะ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคโทโฮะกุ (東北地方 Tōhoku-chihō) หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บนเกาะฮนชู (本州 Honshū) มีเมืองเอกคือ เมืองโมะริโอะกะ (盛岡市 Morioka-shi).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดอิวาเตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังดาเบา

ังหวัดซีลางังดาเบา (เซบัวโน: Sidlakang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือมาตี เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ โดยจุดตะวันออกสุดคือแหลมปูซัน ตั้งอยู่ที่เทศบาลคารากา แหลมนี้ติดกับทะเลฟิลิปปินในมหาสมุทรแปซิฟิก จังหวัดซีลางังดาเบามีชื่อเสียงสำหรับแหล่งเพาะปลูกมะพร้าวรายใหญ่ของประเทศ จนได้รับสมญาว่า เมืองแห่งมะพร้าวของฟิลิปปิน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดซีลางังดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัว

ปาปัว (Papua) เป็น 1 ใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงคือ จายาปุระ มีพื้นที่ทั้งหมด 319,036.05 กม2 (123,181 ไมล์2) มีประชากรทั้งหมด 2,833,381 คน ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเฮียวโงะ

ังหวัดเฮียวโงะ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะฮนชู ในจังหวัดเฮียวโงะมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์คือ หลุมศพโกะฉิขิสึกะโขะฟุน จังหวัดเฮียวโงะเคยประสบกับแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในโลกที่เมืองโคเบะ (โกเบ) เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดเฮียวโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซลันด์

ซลันด์ (Zeeland) หรือ ซีแลนด์ (Zeeland, Zealand) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะจึงเป็นที่มาของชื่อจังหวัดว่า "ดินแดนทะเล" เนื้อที่ราวหนึ่งในสามอยู่ในน้ำและบริเวณส่วนใหญ่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ตราอาร์มของเซลันด์เป็นรูปสิงโตจมน้ำอยู่ครึ่งตัว โดยมีคำขวัญว่า "ข้าต่อสู้และได้ชัยชนะ" (luctor et emergo) ประเทศนิวซีแลนด์ในมหาสมุทรแปซิฟิกได้รับการตั้งชื่อตามชื่อของจังหวัดนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจังหวัดเซลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561

ันทรุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

จิกเล

ผลที่ยังไม่แก่ ดอก จิกเล หรือ จิกทะเล (accessdate putat, sea poison tree) เป็นสายพันธุ์ของ Barringtonia พื้นเมืองที่อยู่อาศัยป่าชายเลนบนชายฝั่งในเขตร้อนชื้นและหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จากแซนซิบาร์ทางทิศตะวันออกไปจนถึงไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ฟิจิ, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะคุก, วาลลิสและฟุตูนา และเฟรนช์โปลินีเซีย มักปลูกตามถนนเพื่อการตกแต่งและร่มเงาในบางส่วนของอินเดีย จิกเลเป็นต้นไม้ใหญ่ สูงราว 20 เมตร ใบขนาดใหญ่ มันวาว มีความหนา ป้องกันการสูญเสียน้ำ ดอกขนาดใหญ่ สีขาว เกสรตัวผู้เป็นพู่ยาวเห็นได้ชัดเจน สีขาว ปลายชมพู ดอกมีกลิ่นหอมแรง บานตอนค่ำและโรยตอนเช้า ผสมเกสรด้วยผีเสื้อกลางคืนและค้างคาว ผลขนาดใหญ่ ทรงคล้ายลูกข่าง มีกากเหนียวหุ้มทำให้ลอยน้ำได้ดีคล้ายผลมะพร้าว ในเมล็ดและลำต้นมีสารซาโปนิน ใช้ทำยาเบื่อปลาและยานอนหลั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจิกเล · ดูเพิ่มเติม »

จูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย

ูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย (Jurassic World: Fallen Kingdom) เป็นภาพยนตร์บันเทิงคดีวิทยาศาสตร์แนวผจญภัยจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออกฉายในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและจูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีวิทยาทางทะเล

้าแผ่นเปลือโลกแยกตัวออกจะเกิดเทือกเขากลางสมุทรหากอีกแผ่นมุดลงใต้อีกแผ่นจะเกิดร่องลึกก้นสมุทร ธรณีวิทยาทางทะเล คือการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโครงสร้างของพื้นมหาสมุทรและศึกษาเกี่ยวข้องกับธรณีฟิสิกส์, ธรณีเคมี, ตะกอนวิทยาและบรรพชีวินวิทยาที่ค้นคว้าวิจัยและหาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นมหาสมุทรและชายฝั่ง ธรณีสัณฐานวิทยาเป็นส่วนหนึ่งในสาขาของธรณีฟิสิกส์และสมุทรศาสตร์กายภาพ การศึกษาเกี่ยวกับธรณีวิทยาทางทะเลมีความสำคัญมากในการหาข้อมูลและหลักฐานสำคัญเกี่ยวการขยายตัวของพื้นทะเลและเปลือกโลกในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองเนื่องจากทะเลลึกเป็นพื้นที่สุดท้ายที่ยังไม่ได้ทำการสำรวจและทำแผนที่โดยละเอียดจึงต้องเริ่มมีการสำรวจเพื่อวัตถุประสงค์ทางทหาร (เรือดำน้ำ) วัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ (ปิโตรเลียมและเหมืองแร่โลหะ) และวัตถุประสงค์ด้านการวิจั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธรณีวิทยาทางทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติชิลี

งชาติชิลี หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อ คือ "ธงดาวเดียว" ("la estrella solitaria") ประกอบด้วยแถบแนวนอนสองแถบขนาดเท่ากัน แถบบนสีขาว แถบล่างสีแดง รวมกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีน้ำเงิน ขนาดกว้างเท่ากับแถบสีขาว ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ 1 ดวง ลักษณะดังกล่าวมานี้นับได้ว่าธงนี้มีความคล้ายคลึงกับธงประจำรัฐเทกซัสของประเทศสหรัฐอเมริกามาก ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการนับตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1817 ความหมายของธงชาติชิลีประกอบด้วย พื้นสีขาวหมายถึงหิมะเหนือเทือกเขาแอนดีส พื้นสีแดงหมายถึงเลือดของผู้ที่ต่อสู้เพื่อเอกราช สี่เหลี่ยมจตุรัสสีน้ำเงินหมายถึงท้องฟ้าและมหาสมุทรแปซิฟิก ดาวสีขาวหมายถึงสัญลักษณ์นำทางสู่ความก้าวหน้าและเกียรต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติชิลี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกัวเตมาลา

งชาติกัวเตมาลา มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 5 ส่วน ยาว 8 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบตามแนวตั้ง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน แถบนอกทั้งสองแถบเป็นสีฟ้าอ่อน แถบกลางเป็นสีขาว การวางแถบสีธงเช่นนี้ก็เพื่อสะท้อนถึงลักษณะทางกายภาพของประเทศ ซึ่งเป็นแผ่นดินที่ขนาบด้วยมหาสมุทร 2 แห่ง ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก นอกจากนี้สีฟ้ายังหมายถึงท้องฟ้าเหนือแผ่นดินกัวเตมาลา ส่วนสีขาวนั้นก็หมายถึงสันติภาพและความบริสุทธิ์ ที่กลางแถบสีขาวของธงนั้นมีรูปตราแผ่นดินของกัวเตมาลา อันประกอบด้วยรูปนก Resplendent Quetzal ซึ่งเป็นนกประจำชาติของกัวเตมาลาและเป็นสัญลักษณ์แห่งเสรีภาพ จับอยู่บนม้วนกระดาษระบุวันที่กัวเตมาลาประกาศเอกราชจากสเปน (วันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821) เบื้องหลังม้วนกระดาษมีรูปปืนเล็กยาวสองกระบอกไขว้กัน หมายถึงเจตจำนงอันแรงกล้าที่ชาวกัวเตมาลาจะปกป้องตนเองให้ได้ในยามที่จำเป็น พร้อมทั้งรูปดาบสองเล่มไขว้ซึ่งหมายถึงเกียรติยศ เบื้องล่างล้อมด้วยช่อลอเรลอันเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ ธงดังกล่าวนี้ใช้เป็นธงชาติสำหรับรัฐบาลและกองทัพ หากเป็นธงดังกล่าวซึ่งไม่มีรูปตราแผ่นดินจะใช้เป็นธงชาติสำหรับพลเรือนโดยทั่วไป ธงชาติกัวเตมาลาดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมานับตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1871 อันเป็นเวลา 20 ปีให้หลังจากการแยกตัวจากสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางและได้มีการเปลี่ยนแปลงธงชาติมาหลายคราวอันเนื่องมาจากปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติวานูอาตู

งชาติวานูอาตู เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 19 ส่วน ยาว 36 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามส่วนด้วยแนวเส้นแบ่งรูปตัว "Y" สีเหลืองขอบดำตามแนวนอน ครึ่งบนของธงเป็นพื้นสีแดง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีเขียว ที่พื้นช่องสามเหลี่ยมด้านคันธงเป็นพื้นสีดำ มีรูปใบเฟิร์นนาเมลี (namele) สองใบไขว้กันในวงเขี้ยวหมูป่า ธงนี้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 โดยเป็นแบบธงที่ออกแบบโดยศิลปินในประเทศและได้รับเลือกจากรัฐสภาในขั้นสุดท้าย ที่มาของสีในธงชาติทั้ง 4 สี คือ สีแดง สีเขียว สีดำ และ สีเหลือง มาจากสีของพรรควานูอากูปาตี (Vanua'aku Pati- พรรคแผ่นดินของเรา) ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่นำพาประเทศวานูอาตูให้ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2523 ส่วนความหมายของสีธงแต่ละสีนั้น สีเขียวหมายถึงความมั่งคั่งของแผ่นดิน สีแดงหมายถึงเลือดของมนุษย์และหมูป่า และสีดำเป็นเครื่องหมายของชนชาตินิวานูอาตู (เป็นคำเรียกชาวโพลีเนเชียนที่อยู่ในประเทศวานูอาตู) ส่วนแถบคล้ายอักษร "Y" สีเหลืองขอบดำนั้น นายกรัฐมนตรีแห่งวานูอาตูได้ขอให้เพิ่มเข้าไปในธงชาติ เพื่อเน้นให้พื้นสีดำเด่นขึ้น เฉพาะตัวแถบสีเหลืองนั้น หมายถึงคำสอนของพระผู้เป็นเจ้าที่สอดแทรกอยู่ในวิถีชีวิตของชาวเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทั้งนี้ ประเทศวานูอาตูมีประชากรเกือบร้อยละ 90 นับถือศาสนาคริสต์ รูปเขี้ยวหมูป่าสีเหลืองในพื้นสีดำเป็นเครื่องรางอย่างหนึ่งของชาวเกาะ หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง ภายในวงเขี้ยวนั้นคือใบเฟิร์นนาเมลี ซึ่งเป็นพืชในท้องถิ่น 2 ใบไขว้กัน หมายถึงสันติภาพ ใบเฟิร์นเหล่านี้มีใบย่อยรวมกัน 39 ใบ หมายถึง จำนวนสมาชิกรัฐสภาของวานูอาตู ซึ่งมีทั้งหมาย 39 ที่นั่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะคุก

23px ธงชาติหมู่เกาะคุก สัดส่วนธง 1:2 ธงสำหรับผู้แทนพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถประจำหมู่เกาะคุก ธงชาติหมู่เกาะคุก มีลักษณะตามแบบธงของอดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก กล่าวคือ พื้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงิน มีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง (ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร) ในพื้นสีน้ำเงินนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 15 ดวง เรียงเป็นรูปวงแหวน รูปธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นหมายถึงประวัติศาสตร์ชาติผูกพันอยู่กับสหราชอาณาจักร ซึ่งเคยเป็นผู้ปกครองหมู่เกาะคุกในฐานะรัฐในอารักขามาก่อน และหมายถึงความเป็นสมาชิกในเครือจักรภพของหมู่เกาะคุก ดาว 15 ดวง หมายถึงจำนวนเกาะทั้ง 15 เกาะของหมู่เกาะคุก พื้นสีน้ำเงินหมายถึงท้องทะเลและธรรมชาติความเป็นผู้รักสงบของชาวหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติหมู่เกาะคุก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคิริบาส

งชาติคิริบาส เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดงมีรูปนกฟรีเกตใหญ่ (ภาษาอังกฤษ: Great Frigatebird อยู่ในสปีชีส์ Fregata minor, ภาษาคิริบาส: te eitei) บินอยู่เหนือดวงอาทิตย์มีรัศมี 17 แฉกโผล่พ้นน้ำ รูปดังกล่าวนี้เป็นสีทอง ครึ่งล่างของธงเป็นผืนน้ำ มีลักษณะเป็นแถบสีขาวสลับน้ำเงินสีละ 3 แถบ แถบสีดังกล่าวนี้หมายถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และหมู่เกาะ 3 หมู่เกาะในประเทศคิริบาส คือ หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) หมู่เกาะฟีนิกซ์ (Phoenix Islands) และหมู่เกาะไลน์ (Line Islands) รัศมีทั้ง 17 แฉกแทนเกาะทั้ง 16 เกาะของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและเกาะบานาบา (เกาะนี้เดิมเรียกว่าเกาะโอเชียน หรือ Ocean Island) ส่วนรูปนกฟรีเกตใหญ่หมายถึงอำนาจและอิสรภาพ ธงนี้มีลักษณะอย่างเดียวกับที่ปรากฏในตราแผ่นดินของคิริบาส ซึ่งออกแบบโดยเซอร์ อาเธอร์ กริมเบิล (Sir Arthur Grimble) ในปี พ.ศ. 2475 เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายของอาณานิคมหมู่เกาะกิลเบิรต์และเอลลิส (Gilbert and Ellice Islands) ของสหราชอาณาจักร ซึ่งปัจจุบันนี้ได้แก่ประเทศคิริบาส และประเทศตูวาลู ตรานี้เริ่มใช้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2480 และใช้ประกอบเข้ากับธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (ธงบูลเอนไซน์ - Blue Ensign) เพื่อใช้เป็นธงราชการสำหรับอาณานิคม ภายหลังในปี พ.ศ. 2522 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชของคิริบาสเพียงเล็กน้อย ได้มีการประกวดแบบสำหรับธงชาติและตราของคิริบาสในฐานะรัฐเอกราช แบบตราแผ่นดินในสมัยอาณานิคมก็ได้รับเลือกให้ใช้เป็นตราแผ่นดินและธงชาติของคิริบาสใหม่ โดยมีการดัดแปลงลักษณะบางอย่างให้เป็นอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ชักขึ้นครั้งแรกที่กรุงทาวารา เมืองหลวงของประเทศ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปาเลา

งชาติปาเลา มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน พื้นสีฟ้าน้ำทะเล ที่กลางธงค่อนมาด้านคันธงนั้นมีรูปวงกลมสีเหลือง ธงนี้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 หลังจากที่ดินแดนแห่งนี้พ้นจากสถานะภาพการเป็นดินแดนในภาวะทรัสตี ซึ่งดูแลโดยสหประชาชาติ พื้นสีฟ้านั้นหมายถึงมหาสมุทรแปซิฟิก อันเป็นที่ตั้งของประเทศ (ในความเป็นจริงแล้ว ยังหมายถึงการเปลี่ยนผ่านอำนาจการปกครองประเทศ จากประเทศผู้ยึดครอง มาสู่การปกครองตนเองโดยชาวปาเลา) วงกลมสีเหลืองหมายถึงพระจันทร์เพ็ญ ซึ่งตามความเชื่อของชาวปาเลาแล้ว ยามที่พระจันทร์เต็มดวงถือเป็นเวลาที่เหมาะที่สุดในการทำกิจกรรมใดๆ ของมนุษย์ และดวงจันทร์ก็ยังเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ความรัก และความสงบด้วย ก่อนหน้านี้ ปาเลาเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ปกครองดูแล ในดินแดนนี้จึงได้ใช้ธงของสหประชาชาติเป็นเครื่องหมายมาจนถึง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินาอูรู

งชาตินาอูรู ประกาศใช้เมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1968 หลังได้รับเอกราชจากการเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ธงชาตินาอูรูเป็นธงสีน้ำเงินเข้ม มีแถบสีทองพาดผ่านกลางธง ใต้แถบสีทองด้านใกล้คันธงมีดาวสีขาว 12 แฉก สีน้ำเงินเข้มแทนมหาสมุทรแปซิฟิก แถบสีทองแทนเส้นศูนย์สูตร ดาวสีขาวแทนตำแหน่งประเทศในแผนที่โลกที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตรหนึ่งองศา 12 แฉกของดาวแทนชนพื้นเมือง 12 เผ่าของประเท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาตินาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไมโครนีเซีย

งชาติไมโครนีเซีย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1978 เป็นธงพื้นสีฟ้า ประดับด้วยดาวห้าแฉก 4 ดวง เรียงตัวเป็นรูปข้าวหลามตัดตรงกลาง โดยพื้นธงสีฟ้าแทนมหาสมุทรแปซิฟิก ดาว 4 ดวงแทนรัฐ 4 รัฐของไมโครนีเซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงชาติไมโครนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

23x15px ธงของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1985, ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธงหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารพัฒนาเอเชีย

นาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank; ย่อ: ADB) เป็นสถาบันการเงินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิก ผ่านการให้เงินกู้ และความสนับสนุนด้านเทคนิค ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2509 โดยความช่วยเหลือของสหประชาชาติ มีประเทศเข้าร่วมก่อตั้ง 32 ประเทศ จนถึงปัจจุบัน (2 กุมภาพันธ์ 2550) มีประเทศสมาชิกทั้งสิ้น 67 ประเทศ เป็น 48 ประเทศในภูมิภาค และ 19 ประเทศจากพื้นที่อื่น ธนาคารพัฒนาเอเชียมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในแต่ละปีได้ให้ความช่วยเหลือด้านเงินกู้เป็นเงินประมาณ 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยแต่ละโครงการมีมูลค่าประมาณโครงการละ 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใช้เงินทุนจากการลงทุนพันธบัตรในตลาดการเงินต่าง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและธนาคารพัฒนาเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผีทะเล

ั่วผีทะเล เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ถั่ว ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน หรือเกี่ยวพันกับต้นไม้อื่น ลำต้นเหนียว สีเขียวหรือเขียวอมขาว ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3 ใบ สีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนกว่าเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสเขียว กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยว เป็นฝัก เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแห้ง แตกตามตะเข็บของผล ภายในมีเมล็ดกลมรี สีน้ำตาลอ่อน พืชชนิดนี้เป็นพืชทนเค็มพบทั่วไปตามชายหาดของเขตร้อน เช่นที่ฮาวาย และเกาะอีกหลายเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก Puerto Rico และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน ชายฝั่งที่บราซิล ชายฝั่งทางมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดียวของแอฟริกา มาดากัสการ์ เซเชลส์ อินเดียและศรีลังกา คาบสมุทรอินโดจีน และเกาะไหหลำ มาเลเซีย, และชายฝั่งของออสเตรเลียในควีนส์แลนด์และนอร์ทเทิร์น เทอร์ริทอร์รี publication by the Beach Protection Authority of Queensland, Australia.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและถั่วผีทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาใต้

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปซีแลนเดีย

ทวีปซีแลนเดีย หรือเรียกว่า ทวีปนิวซีแลนด์ เป็นมวลที่จมอยู่ใต้น้ำของมวลเปลือกโลกภาคพื้นทวีป ที่จมลงหลังจากพ้นจากทวีปออสเตรเลีย เมื่อ 60–85 ล้านปีก่อน โดยแยกออกจากทวีปแอนตาร์กติกา ในช่วงระหว่าง 85 และ 130 ล้านปีก่อน โดยได้รับการสันนิฐานว่าเป็น ชิ้นส่วนของทวีป,อนุทวีปและทวีป ชื่อและแนวคิดสำหรับทวีปซีแลนเดีย ถูกเสนอโดย Bruce P. Luyendyk ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปซีแลนเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเล

ทะเลโบฟอร์ต ทะเล เป็นแหล่งน้ำเค็มขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบด้วยพื้นดินทั้งหมดหรือบางส่วน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบาหลี

ทะเลบาหลีครอบคลุมบริเวณพื้นที่สีน้ำเงิน ทะเลบาหลี (Laut Bali; Bali Sea) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 45,000 ตารางกิโลเมตร ทิศตะวันตกติดกับทะเลชว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบิสมาร์ก

ทะเลบิสมาร์ก ทะเลบิสมาร์ก (Bismarck Sea) เป็นทะเลทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตอนเหนือของปาปัวนิวกินี ล้อมรอบเกาะต่าง ๆ ของกลุ่มเกาะบิสมาร์ก ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติให้กับ ออทโท ฟอน บิสมาร์ค นายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี ในการรบที่ทะเลนี้ในวันที่ 3 และ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลบิสมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลฟิลิปปิน

ทะเลฟิลิปปิน ทะเลฟิลิปปิน (Dagat Pilipinas; Philippine Sea) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ มีร่องลึกได้แก่ ร่องลึกฟิลิปปินเทรนซ์และมาเรียนาเทรนซ์ ที่เป็นจุดลึกที่สุดในโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลญี่ปุ่น

ทะเลญี่ปุ่น เป็นทะเลชายอาณาเขตทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างแผ่นดินใหญ่เอเชีย หมู่เกาะญี่ปุ่น และเกาะซาฮาลิน ล้อมรอบด้วยประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ และรัสเซีย เป็นผืนน้ำที่ถูกปิดกั้นจากมหาสมุทรแปซิฟิกเกือบสมบูรณ์ ทำให้แทบไม่มีปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งคล้ายกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และความโดดเดี่ยวเช่นนี้ยังทำให้จำนวนชนิดพันธุ์สัตว์และความเค็มของน้ำมีน้อยกว่าในมหาสมุทร ภายในพื้นที่ไม่มีเกาะ อ่าว หรือแหลมขนาดใหญ่ สมดุลของน้ำได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกระแสน้ำที่ไหลเข้าและออกผ่านช่องแคบต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับทะเลรอบข้างและมหาสมุทรแปซิฟิก ขณะที่แม่น้ำที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้มีจำนวนน้อย จึงมีผลต่อปริมาตรน้ำในทะเลเพียงไม่เกินร้อยละ 1 น้ำในทะเลญี่ปุ่นมีความเข้มข้นของออกซิเจนละลายอยู่สูง ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ทางชีวภาพ การประมงจึงมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ และการขนส่งทางเรือในทะเลญี่ปุนกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออก แม้ว่าในอดีตจะไม่คับคั่งนักเนื่องด้วยประเด็นปัญหาทางการเมือง ขณะที่ชื่อของผืนน้ำแห่งนี้ยังคงเป็นประเด็นขัดแย้ง เนื่องจากเกาหลีใต้พยายามเรียกร้องให้ใช้ชื่อว่า ทะเลตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบคะซุมิงะอุระ

ทะเลสาบคะซุมิงะอุระ เป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของโตเกียวราว 60 กิโลเมตรในเขตจังหวัดอิบะระกิ เดิมเป็นทะเลสาบน้ำกร่อยซึ่งเชื่อมต่ออย่างอ้อมๆกับมหาสมุทรแปซิฟิกผ่านแม่น้ำฮิตะชิและแม่น้ำโทะเนะ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลสาบคะซุมิงะอุระ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบโทะวะดะ

ทะเลสาบโทะวะดะ เป็นทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างจังหวัดอะโอะโมะริกับจังหวัดอะกิตะ มีความสูงจากระดับน้ำทะเลราว 400 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 327 เมตร โดยมีแหล่งน้ำออกคือแม่น้ำโอะอิระเซะ ซึ่งไหลออกสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ทะเลสาบโทะวะดะถือเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 12 ของประเทศ และปัจจุบันทะเลสาบแห่งนี้ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งในอุทยานแห่งชาติโทะวะดะ-ฮะชิมันไต ทะเลสาบโทะวะดะถือกำเนิดขึ้นจากการปะทุครั้งใหญ่สามครั้ง เมื่อ 55,000, 25,000 และ 13,000 ปีที่แล้ว การปะทุครั้งใหญ่ล่าสุดทำให้เกิดธารตะกอนภูเขาไฟ การปะทุครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลสาบโทะวะดะ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลจีนใต้

แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายอาตากามา

right ทะเลทรายอาตากามา (Desierto de Atacama) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเปรูไปถึงตอนเหนือของประเทศชิลี เป็นระยะทางกว่า 960 กิโลเมตร กินพื้นที่ประมาณ 180,000 ตารางกิโลเมตร โดยสูงเฉลี่ย 610 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ทะเลทรายแห่งนี้ได้ขึ้นชื่อว่าแห้งแล้งที่สุดของโลก ประกอบไปด้วยแอ่งดินเค็มแห้งแล้งหลายแอ่งติดต่อกัน แม้ว่าเกือบจะไม่มีพืชขึ้นเลย แต่ก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วยไนเตรต ทองแดง ไอโอดีน และบอแรกซ์ เมืองในทะเลทรายอย่างเช่นเมืองกาลามาประสบภาวะแล้งจัดยาวนานกว่า 400 ปี ซึ่งเพิ่งสิ้นสุดเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลทรายอาตากามา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลคอรัล

ทะเลคอรัล ทะเลคอรัล (Coral Sea) เป็นทะเลชายอาณาเขต ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย อยู่ระหว่างรัฐควีนส์แลนด์ของออสเตรเลียทางตะวันตก หมู่เกาะวานวาตูและเกาะนิวแคลิโดเนียทางตะวันออก ทิศเหนือติดต่อกับประเทศปาปัวนิวกีนีและหมู่เกาะโซโลมอน ส่วนทางตอนเหนือของทะเลเรียกอีกชื่อว่า ทะเลโซโลมอน จุดเด่นของทะเลคอรัลคือมีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นและคงที่ มีฝนตกและพายุหมุนเขตร้อนบ่อยครั้ง มีเกาะและปะการังมากมาย รวมถึงเครือข่ายปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่เรียกว่า เกรตแบร์ริเออร์รีฟ ที่ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลคอรัล · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลแทสมัน

ทะเลแทสมัน ทะเลแทสมัน (Tasman Sea) เป็นทะเลส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ อยู่ระหว่างด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลียกับฝั่งตะวันตกของประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งห่างราว 2,000 กิโลเมตร มีความยาวจากเหนือไปใต้ราว 2,800 กิโลเมตร ทะเลตั้งชื่อตามนักสำรวจชาวดัตช์ อาเบิล ยันส์โซน ตัสมัน (Abel Janszoon Tasman) ซึ่งเป็นนักสำรวจชาวยุโรปที่ค้นพบนิวซีแลนด์และแทสเมเนียเป็นคนแรกเท่าที่มีการบันทึกมา ต่อมานักสำรวจชาวอังกฤษ กัปตันเจมส์ คุก เดินทางมาถึงทะเลแทสมันในคริสต์ทศวรรษ 1770 ในการเดินทางสำรวจครั้งแรกของเขา หมวดหมู่:มหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศออสเตรเลีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแทสมัน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลโอค็อตสค์

แผนที่ของทะเลโอคอตสค์ ทะเลโอคอตสค์ (Охотское море; Sea of Okhotsk) เป็นส่วนหนึ่งหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก อยู่ระหว่างคาบสมุทรคัมชัตคาที่อยู่ทางตะวันออก, หมู่เกาะคูริลทางตะวันออกเฉียงใต้, เกาะฮกไกโดทางใต้, เกาะซาฮาลินทางตะวันตก รวมไปถึงแนวยาวของชายฝั่งไซบีเรียตะวันออก (รวมถึงเกาะชานตาร์) ตั้งอยู่ทางตะวันตกและเหนือ ส่วนมุมตะวันออกเฉียงเหนือคืออ่าวเชลีคอฟ ชื่อตั้งตามโอคอตสค์ เมืองรัสเซียแห่งแรกที่ตะวันออกไกล อโอคอตสค์.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลโอค็อตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเบริง

ทะเลเบริง (Берингово мо́ре; Bering Sea) ตั้งอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางใต้ช่องแคบแบริ่งที่กั้นระหว่างประเทศรัสเซียและสหรัฐอเมริกา ทางใต้มีหมู่เกาะคอมมานเดอร์กั้นระหว่างทะเลกับมหาสมุทรแปซิฟิค ทะเลแบริ่งมีความลึกมากเพราะใต้ทะเลมีหุบเหว ทะเลแห่งนี้มีความลึกโดยเฉลี่ย 1,600 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 4,151 เมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้คือแม่น้ำอะนาดึร ที่ทะเลแห่งนี้เป็นแหล่งการประมงหลากหลายชนิด เช่น ปลาในตระกูลปลาแซลมอน ปลาในตระกูลปลาซาดีน และปูอลาสก้า หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ทะเลเบริง หมวดหมู่:รัฐอะแลสกา หมวดหมู่:เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลเบริง · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเซโตะใน

ทะเลในและช่องแคบหลัก ๆ ทะเลเซโตะใน หรือ ทะเลใน เป็นทะเลที่ขั้นกลางระหว่างเกาะฮนชู, เกาะชิโกกุ, และเกาะคีวชู สามเกาะหลักของประเทศญี่ปุ่น เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลญี่ปุ่น สามารถเชื่อมต่อไปยังอ่าวโอซากะ และเชื่อมโยงการขนส่งทางทะเลไปยังศูนย์กลางอุตสาหกรรมในภูมิภาคคันไซ ประกอบด้วยโอซากะและโคเบะ ก่อนจะมีการก่อสร้างรถไฟสายซันโย (Sanyō Main Line) ทะเลเซโตะในเป็นการคมนาคมหลักระหว่างคันไซและคีวชู จังหวัดยามางูจิ, ฮิโรชิมะ, โอกายามะ, เฮียวโงะ, โอซากะ, คางาวะ, เอฮิเมะ, ฟูกูโอกะ, และโออิตะเป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลในเซโตะ รวมทั้งเมืองฮิโรชิมะ, อิวากูนิ, ทากามัตสึ, และมัตสึยามะด้วยเช่นกัน พื้นที่แถบทะเลเซโตะในมีภูมิอากาศอบอุ่น มีอุณหภูมิเกือบจะคงที่ตลอดปีและมีปริมาณน้ำฝนที่ต่ำ บ่อยครั้งมักถูกเรียกว่า ดินแดนที่มีสภาพอากาศเท่าเทียม ทะเลแห่งนี้มักเกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ บ่อย ๆ เพราะกลุ่มแพลงก์ตอนพืชที่หนาแน่น เป็นเหตุให้เกิดปลาตายจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลเซโตะใน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเซเลบีส

ทะเลเซเลบีส (Celebes Sea) หรือ ทะเลซูลาเวซี (Laut Sulawesi) เป็นทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจดกลุ่มเกาะซูลูและเกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์ ทิศตะวันตกจรดกับหมู่เกาะซังกีเอของประเทศอินโดนีเซีย ทิศใต้ติดต่อกับเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) และทิศตะวันตกจรดกับเกาะบอร์เนียว เชื่อมต่อกับทะเลชวาโดยช่องแคบมากัสซาร์ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลมีเนื้อที่ 110,000 ตร.ไมล์ (280,000 กม2) มีความลึกสูงสุด 20,300 ฟุต (6,200 ม.) หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศฟิลิปปินส์ หมวดหมู่:ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:แหล่งน้ำในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลเซเลบีส · ดูเพิ่มเติม »

ทะเตะยะมะ

ทะเตะยะมะ เป็นเมืองในจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ปลายใต้สุดของคาบสมุทรโบโซ ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก และปากอ่าวโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 443 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากร 48,775 คน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเตะยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

ทากิฟูงุ

ทากิฟูงุ (Takifugu; トラフグ属.) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์เรียกสกุลหนึ่งของปลาปักเป้าในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อสามัญภาษาญี่ปุ่นว่า "ฟูงุ" (河豚-แปลว่า หมูแม่น้ำ) เนื่องจากเป็นปลาปักเป้าสกุลที่นิยมนำมาทำซาชิมิหรือปลาดิบ อาหารญี่ปุ่นที่มีชื่อไปทั่วโลก โดยใช้ชื่อสกุลว่า Takifugu.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทากิฟูงุ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย

รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโก ไปยังเขตตะวันออกไกล ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย (TSR, Транссибирская магистраль) เป็นสายรถไฟที่ยาวที่สุดในโลก ช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโก ไปยังเขตตะวันออกไกลและทะเลญี่ปุ่น มีสายย่อยเชื่อมต่อไปยังมองโกเลีย จีน และเกาหลีเหนือ ปัจจุบันเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโกกับเมืองวลาดีวอสตอค ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวง

ทางหลวงในชนบทสหรัฐอเมริกา ทางหลวง คือ ถนนหรือเส้นทางซึ่งจัดไว้เพื่อประโยชน์ในการจราจรสาธารณะทางบก ไม่ว่าในระดับพื้นดิน ใต้หรือเหนือพื้นดิน หรือใต้หรือเหนืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นนอกจากทางรถไฟ ระบบทางหลวงของสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่า อินเตอร์สเตต เป็นระบบทางหลวงที่มียาวรวมทั้งหมดมากที่สุดในโลกโดยมีความยาวทั้งสิ้น 75,376 กม.(2004) ทางหลวงบางเส้นจะเชื่อมต่อระหว่างประเทศเช่น ยูโรเปียนรูท และถนนบางเส้นจะเชื่อมระหว่างเมืองหลวงของรัฐทั้งหมดในประเทศ เช่นใน ออสเตรเลียไฮเวย์ 1 ซึ่งเชื่อมตัวเมืองหลวงของรัฐทั้งหมดรอบประเทศออสเตรเลีย ถนนหลวงที่ยาวที่สุดในโลกคือ ทรานซ์-แคนาดาไฮเวย์ ซึ่งเริ่มจากเมือง วิกตอเรีย ในรัฐบริติชโคลัมเบีย ของฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ผ่าน 10 รัฐจนถึงเมืองเซนต์จอห์นในรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก การออกแบบทางหลวงจะมีการออกแบบที่แตกต่างกันขึ้นไปขึ้นอยู่กับลักษณะถนน ความกว้างถนน และสภาพการสัญจร ทางหลวงสามารถมีได้ทั้งในลักษณะถนนสองเลน ถนนมีหรือไม่มีไหล่ทาง และผิวถนนของถนนเส้นเดียวกันที่ตำแหน่งต่างกัน จะมีลักษณะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่เป็นผู้ควบคุมถนนเส้นนั้น ทางหลวงในประเทศไทยได้รับการควบคุมโดยกรมทางหลวง โดยมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 หรือถนนเพชรเกษม เป็นถนนที่ยาวที่สุดในประเทศไทย เริ่มจากกรุงเทพมหานครถึงด่านพรมแดนจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ระยะทางรวมทั้งสิ้น 1,274 กิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 20

ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 20 (U.S. Route 20 ย่อเป็น US 20) เป็นทางหลวงสหรัฐแนวตะวันออก-ตะวันตก เลข "0" ในหมายเลขทางหลวงบ่งบอกว่าทางหลวงหมายเลข 20 นี้เป็นทางหลวงชายฝั่งสู่ชายฝั่ง กล่าวคือ เป็นทางหลวงที่มีเส้นทางจากชายฝั่งหนึ่งไปยังอีกชายฝั่งหนึ่ง มีระยะทาง เป็นถนนที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา และเส้นทางขนานกับอินเตอร์สเตต 90 ทางหลวงหมายเลข 20 นี้มีเส้นทางไม่ต่อเนื่องกันเมื่อผ่านอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน เพราะไม่มีการกำหนดหมายเลขเมื่อถนนเส้นนี้เข้ามาในเขตอุทยาน เมื่ออยู่ในรัฐออริกอน หมายเลขของทางหลวงหมายเลข 20 และทางหลวงหมายเลข 30 ไม่เป็นไปตามกฎการกำหนดหมายเลขของทางหลวงสหรัฐ เพราะทางหลวงหมายเลข 30 ไปมีจุดเริ่มต้นและวิ่งขนานไปกับทางหลวงหมายเลข 20 ด้านทิศเหนือ ไปจนถึงเขตแดนของรัฐ เมื่อมาถึงบริเวณเมืองโคลด์เวลล์ รัฐไอดาโฮ ทางหลวงทั้งสองสายก็ได้ทับซ้อนกันและมีเส้นทางในตำแหน่งที่ถูกต้อง กล่าวคือ ทางหลวงหมายเลข 30 จะวิ่งขนานกับทางหลวงหมายเลข 20 ด้านทิศใต้แทน เป็นเพราะว่า เมื่อก่อนทางหลวงหมายเลข 30 อยู่ในแผนของทางหลวงชายฝั่งสู่ชายฝั่ง ในขณะที่ทางหลวงหมายเลข 20 ไม่ได้อยู่ในแผน เพราะเคยมีปลายทางทิศตะวันออกอยู่ตรงทางเข้าของอุทยานเยลโลว์สโตน แต่ต่อมาได้รับการขยายจนสุดชายฝั่งเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทางหลวงสหรัฐหมายเลข 20 · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในโลก

ติที่สุดในโลก ในเรื่องต่าง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

ขยุ้มตีนหมา

้มตีนหมา (morningglory) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง มีอายุนาน 1 ปี ขยุ้มตีนหมาจัดอยู่ในสกุล Ipomoea ซึ่งอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) เป็นพรรณไม้ที่พบขึ้นอยู่ตามบริเวณรกร้างว่างเปล่า นาข้าว ริมถนน และตามดินทรายใกล้ทะเล พบได้ตั้งแต่ระดับความสูง 0–1,000 เมตร ขยุ้มตีนหมาเป็นพืชที่พบกระจายอยู่เกือบทั่วโลก โดยพบในแถบเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทวีปแอฟริกา ออสเตรเลีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและขยุ้มตีนหมา · ดูเพิ่มเติม »

ขอบแปซิฟิก

แผนที่ประเทศที่มีอาณาเขตอยู่ในขอบแปซิฟิก ขอบแปซิฟิก หมายถึงสถานที่ที่อยู่โดยรอบมหาสมุทรแปซิฟิก รวมถึงหมู่เกาะและเกาะเล็ก ๆ ใน "แอ่งมหาสมุทรแปซิฟิก" ด้วย ในทางธรณีวิทยาอาณาเขตของขอบแปซิฟิกมีความเกี่ยวของกับวงแหวนแห่งไฟด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและขอบแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ดักลาส แมกอาเธอร์

ลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ (ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2486 หรือ 2487) พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ในการรบที่อ่าวเลเต หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ (Douglas MacArthur; 26 มกราคม พ.ศ. 2423 - 5 เมษายน 2507) เป็นพลเอกชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบานยูเอสเอส มิสซูรี นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัยสงครามเย็น ในสงครามเกาหลี อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดักลาส แมกอาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทะเล

วทะเล หรือ ปลาดาว เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ที่อยู่ในชั้น Asteroidea ลักษณะทั่วไป มีลำตัวแยกเป็นห้าแฉกคล้ายรูปดาวเรียกว่า แขน ส่วนกลาง มีลักษณะเป็นจานกลม ด้านหลังมีตุ่มหินปูน ขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไป มีปากอยู่ด้านล่างบริเวณ จุดกึ่งกลางของ ลำตัว ใต้แขนแต่ละข้างมีหนวดสั้น ๆ เรียงตามส่วนยาว ของแขนเป็นคู่ ๆ มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อที่เหนียวและแข็งแรงเรียกว่า โปเดีย ใช้สำหรับยึดเกาะกับเคลื่อนที่ มีสีต่าง ๆ ออกไป ทั้ง ขาว, ชมพู, แดง, ดำ, ม่วง หรือน้ำเงิน เป็นต้น พบอยู่ตามชายฝั่งทะเล โขดหิน และบางส่วนอาจพบได้ถึงพื้นทะเลลึก กินหอยสองฝา โดยเฉพาะ หอยนางรม, กุ้ง, ปู หนอน และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เช่น ฟองน้ำหรือปะการัง เป็นอาหาร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดาวทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทะเลพระราชา

วทะเลพระราชา เป็นดาวทะเลสายพันธุ์หนึ่ง พบได้ในแถบชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ดาวทะเลพระราชาอาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกตั้งแต่ 0 - 200 เมตร ซึ่งบริเวณที่พบพวกมันได้มากที่สุด คือบริเวณไหล่ทวีป ที่มีความลึกระดับ 20–30 เมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดาวทะเลพระราชา · ดูเพิ่มเติม »

ดาวซิริอุส

วซิริอุส (Sirius) มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งในภาษาไทยว่า ดาวโจร เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในตอนกลางคืนและสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีค่าระดับความสว่างอยู่ที่ -1.47 ซึ่งสว่างเกือบเป็นสองเท่าของดาวคาโนปุส ดาวฤกษ์ที่สว่างเป็นอันดับสอง ชื่อ ซิริอุส มาจากภาษากรีกโบราณว่า "เซริออส" (Σείριος) มีชื่อตามระบบไบเยอร์ว่า อัลฟา คานิส เมเจอริส (α Canis Majoris หรือ α CMa) ความจริงดาวที่เรามองเห็นด้วยตาเปล่าว่าเป็นดาวดวงเดียวนั้นเป็นระบบดาวคู่ ประกอบด้วยดาวสีขาวในลำดับหลัก (Main Sequence) ประเภท A1V ชื่อว่า ซิริอุส เอ (Sirius A) กับดาวแคระขาวสีจาง ๆ ในประเภท DA2 ชื่อว่า ซิริอุส บี (Sirius B) การที่ดาวซิริอุสเป็นดาวที่สว่างที่สุด นอกจากความสามารถในการส่องสว่างของมันเองแล้ว มันยังอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ของเรามาก คือห่างไปเพียง 2.6 พาร์เซก (ประมาณ 8.6 ปีแสง) ระบบดาวซิริอุสถือว่าเป็นระบบดาวเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุดกลุ่มหนึ่ง ดาวซิริอุสเอมีมวลประมาณ 2 เท่าของดวงอาทิตย์ และมีค่าความสว่างสัมบูรณ์ เท่ากับ 1.42 หรือคิดเป็น 25 เท่าของความสว่างของดวงอาทิตย์Liebert, J.; Young, P. A.; Arnett, D.; Holberg, J. B.; Williams, K. A. (2005).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดาวซิริอุส · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 13

อะเมซิ่ง เรซ 13 (The Amazing Race 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับฤดูกาลที่ 13 นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ของผังรายการโทรทัศน์ในสหรัฐอเมริกาประจำปี ค.ศ. 2008-09 โดยเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551 (ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา ทางช่องซีบีเอส) และตอนสุดท้ายออกอากาศในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ซึ่งในประเทศไทยเริ่มออกอากาศในวันที่ 29 กันยายน ทางช่อง เอเอ็กซ์เอ็น ณ เวลา 21 นาฬิกา และสิ้นสุดการออกอากาศในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดิอะเมซิ่งเรซ 13 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 14

อะเมซิ่ง เรซ 14 (The Amazing Race 14) เป็นฤดูกาลที่ 14 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เวลา 20 นาฬิกา ซึ่งยังคงเป็นคืนวันอาทิตย์ เช่นเดิม และเริ่มออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง เอเอ็กซ์เอ็น ทาง ทรูวิชั่นส์ ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เวลา 21 นาฬิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดิอะเมซิ่งเรซ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนของสหรัฐอเมริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดินแดนของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนเสรีตรีเยสเต

นแดนเสรีตรีเยสเต (Territorio libero di Trieste, Svobodno tržaško ozemlje; Slobodni teritorij Trsta) เป็นดินแดนเสรีในยุโรปกลางอยู่ระหว่างทางตอนเหนือของอิตาลีกับยูโกสลาเวีย ดินแดนติดกับทะเลเอเดรียติกโดยอยู่ใต้อาณัติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและดินแดนเสรีตรีเยสเต · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2020

..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคริสต์ทศวรรษ 2020 · ดูเพิ่มเติม »

คลองสำโรง

ลองสำโรง (ช่วงที่ผ่านวัดบางพลีใหญ่ใน) คลองสำโรง เป็นคลองที่สำคัญของจังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดฉะเชิงเทรา เริ่มจากแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลสำโรง และตำบลสำโรงกลาง (เทศบาลเมืองสำโรงใต้) อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ผ่านพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และบรรจบแม่น้ำบางปะกง ตำบลท่าสะอ้าน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา สันนิษฐานว่าเป็นคลองที่ขุดขึ้นในสมัยขอมเรืองอำนาจ ระหว่าง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคลองสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

คลองปานามา

แผนที่การเดินทางในคลองปานามา โดยมีรายชื่อประตูกั้นน้ำประกอบ สถานที่ตั้งของคลองปานามาระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน โดยตัวคลองตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของแผนที่ คลองปานามา (Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคลองปานามา · ดูเพิ่มเติม »

คลองเดินเรือสมุทร

ลองปานามา คลองเดินเรือสมุทร (Ship canal) เป็นคลองที่วางแผนเอาไว้โดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกแก่เรือที่ใช้มหาสมุทร ทะเล หรือทะเล.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคลองเดินเรือสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้

แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลน กับตำแหน่งที่บรรจบกับมหาสมุทรแอตแลนติก ย่านความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ มีขนาดประมาณ 560 กม.http://heasarc.gsfc.nasa.gov/docs/rosat/gallery/misc_saad.html "ROSAT SAA" เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-16. ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ (South Atlantic Anomaly; SAA) เป็นย่านหนึ่งของผิวโลกที่อยู่ใกล้กับแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนเส้นในมากที่สุด ที่ระดับความสูงดังกล่าวความหนาแน่นของรังสีจะมีสูงกว่าย่านอื่นๆ แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนมีลักษณะสมมาตรกับแกนแม่เหล็กโลก ซึ่งสอดคล้องกับแกนการหมุนของโลกโดยทำมุมประมาณ 11 องศา แกนแม่เหล็กจึงเบี่ยงไปจากแกนการหมุนของโลกประมาณ 450 กิโลเมตร ผลจากการเบี่ยงเบนดังกล่าว เข็มขัดเส้นในของแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนจึงอยู่ใกล้ผิวโลกมากที่สุดที่บริเวณเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ส่วนที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากที่สุดอยู่ที่ประมาณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อดาวเทียมและอวกาศยานสำรวจทางดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลกในระดับความสูงไม่กี่กิโลเมตรเหนือพื้นโลก วงโคจรในระดับนั้นทำให้ดาวเทียมเคลื่อนผ่านย่านความผิดปกติเป็นประจำและทำให้มันต้องได้รับรังสีระดับรุนแรงเป็นเวลาหลายนาทีในแต่ละครั้ง สถานีอวกาศนานาชาติที่โคจรในระดับดังกล่าวโดยมีมุมเบี่ยงเบน 51.6° ก็ต้องสร้างเกราะป้องกันพิเศษเพื่อป้องกันปัญหานี้ เครื่องมือวัดบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลก็ไม่สามารถใช้งานได้ทุกครั้งที่โคจรผ่านย่านนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงฉันทไมตรี

วามตกลงฉันทไมตรี (entente cordiale) เป็นความตกลงหลายฉบับที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและความตกลงฉันทไมตรี · ดูเพิ่มเติม »

ความแพร่หลายของภาษาสเปน

ษาสเปนมีสถานะทางการในรัฐ เคาน์ตี และเมืองบางแห่งของสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปนเป็นภาษาซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเป็นภาษาราชการใน 21 ประเทศ องค์การระหว่างประเทศจำนวนหนึ่ง และมีผู้พูดราว 329-500 ล้านคน คิดเป็นอันดับ 2 หรือ 3 ของโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและความแพร่หลายของภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คอสไร

อสไร (Kosrae) หรือเดิมชื่อว่า คูซาเย (Kusaie) เป็นเกาะในประเทศไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของหมู่เกาะแคโรไลน์ ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเกาะโปนเปไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 530 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคอสไร · ดูเพิ่มเติม »

คอคอด

อคอด (isthmus) หมายถึง แผ่นดินลักษณะแคบที่เชื่อมระหว่างแผ่นดินขนาดใหญ่สองแห่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเข้าด้วยกัน อย่างเช่น คอคอดปานามา ซึ่งเชื่อมระหว่างทวีปอเมริกาเหนือเข้ากับทวีปอเมริกาใต้ มักจะมีการขุดคลองในบริเวณที่มีลักษณะเป็นคอคอด เพื่อประโยชน์ในการย่นระยะทางและระยะเวลาการขนส่งทางทะเล ตัวอย่างเช่น คลองปานามา เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก โดยสร้างทับคอคอดปานามา เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคอคอด · ดูเพิ่มเติม »

คอคอดปานามา

อคอดปานามา คอคอดปานามา (Istmo de Panamá) หรือในอดีตเรียก คอคอดดาเรียน (Istmo de Darién) เป็นแผ่นดินกิ่วคอดซึ่งอยู่กลางทะเลแคริบเบียนและมหาสมุทรแปซิฟิก และเชื่อมทวีปอเมริกาเหนือเข้ากับทวีปอเมริกาใต้ ทั้งเป็นดินแดนประเทศปานามาและเป็นแหล่งคลองปานามา นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางยุทธศาสตร์นานัปการเช่นเดียวกับคอคอดแห่งอื่น ๆ คอคอดปานาเกิดขึ้นราวสามล้านปีก่อนในยุคไพลโอซีน ซึ่งทำให้มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกแยกจากกัน และก่อให้เกิดกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรดังกล่าว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคอคอดปานามา · ดูเพิ่มเติม »

คะมิกะเซะ

รื่องบิน 52c Zeroes ถูกส่งจากเกาหลีสู่เกาะคีวชู (ต้นปี พ.ศ. 2488) คะมิกะเซะ หรือ เรียกอย่างเป็นทางการว่า กองกำลังจู่โจมพิเศษ (特別攻撃隊 โทะกุเบะสึโคเกะกิไต) เป็นคำในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าลมสวรรค์ หรือลมแห่งเทวะ คะมิกะเซะในภาษาญี่ปุ่น ถูกนำมาใช้เรียกลมสลาตัน และนำมาใช้เป็นชื่อฝูงบินและนักบินคะมิกะเซะเท่านั้น ต่างไปจากในภาษาอังกฤษที่ชาวตะวันตกนำคำๆ นี้มาใช้เรียกการโจมตีแบบพลีชีพ (suicide attacks) คำ ๆ นี้ได้ถูกนำมาใช้เรียกอากาศยานพลีชีพของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งบรรทุกระเบิดและพุ่งเข้าชนเรือ และคำนี้ยังหมายถึงนักบินผู้บังคับอากาศยานประเภทนี้ด้วย ญี่ปุ่นใช้ยุทธวิธีพลีชีพด้วยฝูงบินคะมิกะเซะนี้เป็นอย่างมาก ในช่วงที่กองทัพญี่ปุ่นบุกฟิลิปปินส์ในปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) และเพื่อหยุดยั้งการบุกของกองทัพเรือฝ่ายสัมพันธมิตร และที่เมืองโอะกินะว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคะมิกะเซะ · ดูเพิ่มเติม »

คันไซ

ันไซ หรือเรียก คิงกิ (近畿) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู โดยเขตคันไซประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ เฮียวโงะ เคียวโตะ โอซะกะ ชิงะ นะระ วะกะยะมะ และมิเอะ คันไซมีขนาดประมาณ 27,335.11 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 22,757,897 คน (พ.ศ. 2553) อัตราความหนาแน่น 755.39 คน/ตารางกิโลเมตร ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาคคันโตซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียวเมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมืองนะระและเมืองเคียวโตะ เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมืองเคียวโตะ ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุงโตเกียว นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นครโอซะกะ ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุงโตเกียวและโยะโกะฮะมะ เมืองเคียวโตะและนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมืองโคเบะซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย

แผนที่จากดาวเทียมของคาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย (península de Baja California) หรือ คาบสมุทรกาลีฟอร์เนีย (península de California) เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับอ่าวกาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรมีความยาว 1,247 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรอะแลสกา

มุทรอะแลสกา คาบสมุทรอะแลสกา (Alaska Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่มีความยาวราว 800 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรอิซุ

นที่ Landsat image with high-resolution data from Space Shuttle. ชายฝั่งทางตะวันตกของอิสุ คาบสมุทรอิสุ เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ทางทิศตะวันตกของกรุงโตเกียว บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของเกาะฮนชู พื้นที่ของคาบสมุทรเต็มไปด้วยภูเขาและชายฝั่งเว้าแหว่ง ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดชิซุโอะกะ มีพื้นที่ 1,421.24 กม.² ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรอิซุ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรคัมชัตคา

แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศของคาบสมุทรคัมชัตคา คาบสมุทรคัมชัตคา (полуо́стров Камча́тка; Kamchatka Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางภาคตะวันออกของประเทศรัสเซีย มีพื้นที่ประมาณ 472,300 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิก (ทางทิศตะวันออก) และทะเลโอคอตสค์ (ทางทิศตะวันตก) คาบสมุทรมีความยาว 1,250 กิโลเมตรโดยประมาณ คาบสมุทรคัมชัตคาเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนคัมชัตคา ซึ่งเป็นเขตการปกครองเขตหนึ่งของรัสเซีย โดยคาบสมุทรกินพื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตการปกครองนั้น คัมชัตคา คัมชัตคา หมวดหมู่:คัมชัตคาไคร หมวดหมู่:คาบสมุทรคัมชัตคา.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรคัมชัตคา · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรคิอิ

มุทรคิอิ เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่ที่สุดของเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น ตั้งชื่อตามจังหวัดคิอิ ซึ่งเป็นจังหวัดในอดีตของญี่ปุ่น จังหวัดวะกะยะมะ เป็นจังหวัดที่กินพื้นที่ส่วนมากของคาบสมุทรคิอิ ซึ่งทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดวะกะยะมะ เป็นที่ตั้งของจังหวัดโอซะกะที่พื้นที่ตอนใต้ของจังหวัดตั้งอยู่บนคาบสมุทรด้วยเช่นเดียวกัน ทางตะวันออกของจังหวัดโอซะกะคือจังหวัดนะระที่ไม่มีพื้นที่ติดกับทะเล และถัดจากจังหวัดนะระไปคือจังหวัดมิเอะ ทางตะวันตกของคาบสมุทรคิอิ มีทะเลเซะโตะในตั้งอยู่ ซึ่งทอดตัวยาวออกไปทางตะวันตก และทางตะวันออกของคาบสมุทรเป็นมหาสมุทรแปซิฟิก ทางเหนือของคาบสมุทรเป็นที่ตั้งของสามแม่น้ำคิโซะและอ่าวอิเซะ คาบสมุทรคิอิเป็นที่ตั้งของแหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ ซึ่งเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก นอกจากนี้ ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรคิอิ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรโบโซ

ตำแหน่งของคาบสมุทรโบโซ ภาพถ่ายดาวเทียม คาบสมุทรโบโซ เป็นคาบสมุทรในจังหวัดชิบะ บนเกาะฮนชู ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอ่าวโตเกียว แบ่งอ่าวโตเกียวออกจากมหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ส่วนมากของคาบสมุทรเป็นเนินสูง บางพื้นที่มีความสูงกว่า 400 เมตร จากระดับน้ำทะเล ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรเป็นเขตที่อยู่อาศัย มีเมืองสำคัญคือ เมืองคิซะระซุ มีสะพานข้ามอ่าวโตเกียว (Tokyo Bay Aqua-Line) เชื่อมต่อระหว่างเมืองคะวะซะกิ จังหวัดคะนะงะวะ กับเมืองคิซะระซุ จังหวัดชิบะ ทางตะวันออกของคาบสมุทรเป็นพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล มีแม่น้ำสายสั้นๆ เหมาะสำหรับการปลูกข้าว หมวดหมู่:ภาคคันโต หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:คาบสมุทร หมวดหมู่:จังหวัดชิบะ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรโบโซ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรโอชิกะ

มุทรโอชิกะ คาบสมุทรโอชิกะ (牡鹿半島, หรืออ่านว่า "โอจิกะ") เป็นคาบสมุทรซึ่งยื่นออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิกจากชายฝั่งจังหวัดมิยะงิ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะฮนชู ซึ่งเป็นเกาะหลักของประเทศญี่ปุ่น คาบสมุทรดังกล่าวเป็นทางผ่านของนักท่องเที่ยวที่มักจะเดินทางไปยังเกาะศักดิ์สิทธิ์คินคาซัน ซึ่งสามารถไปถึงได้โดยเรือเฟอร์รีที่แล่นระหว่างเมืองท่าล่าวาฬจากอะยูกาวะในอิชิโนมากิ จังหวัดมิยะงิ และจากโอนากาว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรโอชิกะ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรเกาหลี

มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาบสมุทรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ลสแบด (รัฐแคลิฟอร์เนีย)

ร์ลสแบด (Carlsbad) เป็นเมืองตากอากาศชายทะเล ครอบคลุมความยาว 7 ไมล์ (11 กม.) ริมมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ในนอร์ทแซนดีเอโกเคาน์ตี รัฐแคลิฟอร์เนีย เมืองตั้งอยู่ทางทิศใต้ของลอสแอนเจลิส ราว 87 ไมล์ (140 กม.) และอยู่ทางเหนือของดาวน์ทาวน์แซนดีเอโก ราว 35 ไมล์ (56 กม.) จากข้อมูลประชากรเมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาร์ลสแบด (รัฐแคลิฟอร์เนีย) · ดูเพิ่มเติม »

คาวา

วา ในอินโดนีเซียเรียกวาฆีหรือวาตี ในอิเรียนจายาเรียกบารี เป็นไม้พุ่มเนื้อแข็ง ส่วนข้อโป่งพอง มีรอยแผลจากการหลุดร่วงของใบดอกแยกเพศ แยกต้น ดอกช่อ ดอกย่อยไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ติดผลน้อย ผลมีเมล็ดเดียว คาวาเป็นพืชที่พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชท้องถิ่นในบริเวณวานูอาตู ซามัว ตองกา ฟิจิ ไมโครนีเซีย และปาปัวนิวกินี นิยมนำรากและกิ่งก้านของพืชชนิดนี้มาเคี้ยว ทำให้สารในพืชคือมารินดินและไดไฮโดรสติซิน สารนี้ทำให้ซึม ง่วงงุน รู้สึกมีความสุขและทำให้ฟันทน ใช้ผลิตเครื่องดื่มที่เรียกคาวา โดยนำชิ้นส่วนของต้นไปบดแช่น้ำแล้วกรอง นำของเหลวสีขาวอมน้ำตาลไปดื่ม รากและใบใช้รักษาอาการปวดข้อ วัณโรค หนองใน อาการไข้ นอกจากนั้น คาวายังเป็นเครื่องดื่มที่มีความสำคัญทางพิธีกรรม ในงานประเพณีต่างๆและยังเป็นของขวัญที่สำคัญ ในคาวามีสารคาวาแลกโทน ซึ่งออกฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด คลายกล้ามเนื้อ คาวาแห้ง 100 กรัมมีคาวาแลกโทนประมาณ 3-20 กรัม การตากรากคาวาในฟิจิ เครื่องดื่มคาวาที่วาง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคาวา · ดูเพิ่มเติม »

คิริสมาส

กาะคิริสมาส (Kiritimati) หรือ เกาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะในประเทศคิริบาส เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะไลน์ ตั้งอยู่ตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตอนใต้ของหมู่เกาะฮาวาย เป็นเกาะปะการังวงแหวนอะทอลล์ใหญ่ที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ 322 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคิริสมาส · ดูเพิ่มเติม »

คธูลู

ูลูในนครรุลูเยห์ คธูลู (Cthulhu), คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

งูทะเล

งูทะเล เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลื้อยคลานจำพวกงู ที่อาศัยและดำรงชีวิตอยู่ในทะเลตลอดชีวิต ไม่เคยขึ้นมาบนบกเลย ยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ในบางชนิด งูทะเลเป็นงูที่อยู่ในวงศ์ย่อย Hydrophiinae และ Laticaudinae งูทะเลทุกชนิดอาศัยอยู่ในทะเลหรือปากแม่น้ำชายฝั่งหมด ยกเว้น ชนิด Hydrophis semperi และ Laticauda crokeri เท่านั้น ที่พบอาศัยอยู่ในทะเลสาบน้ำจืดในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและงูทะเล · ดูเพิ่มเติม »

งูทะเลเอราบุ

งูทะเลเอราบุ (Common sea krait, China sea snake) เป็นงูทะเล มีถิ่นอาศัยอยู่ในชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ทะเลจีนใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและงูทะเลเอราบุ · ดูเพิ่มเติม »

งูแสมรัง

งูแสมรัง เป็นสกุลของงูพิษ จำพวกงูทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrophis (/ไฮ-โดร-พิส/) ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและงูแสมรัง · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี หรือตราแผ่นดินของอาณานิคมในมหาสมุทรอินเดียของบริเตน (Coat of arms of the British Indian Ocean Territory) เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1990 ในการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ปีของการก่อตั้งเขตปกครองแห่งนี้ ลักษณะของตราประกอบด้วยโล่ซึ่งมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรอยู่ด้านบนสุด ตอนล่างเป็นพื้นสีน้ำเงิน มีต้นปาล์มและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดอยู่ตรงกลางและมีรูปซีกหนึ่งของดวงอาทิตย์ปรากฏที่มุมซ้ายบนของพื้นสีน้ำเงิน เบื้องล่างสุดของภายในโล่เป็นลายคดคล้ายระลอกคลื่นสีขาว 3 เส้น หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย สองข้างของโล่นั้นมีเต่าสองตัวประคองโล่ไว้ โดยด้ายซ้ายนั้นเป็นเต่ากระ (สีน้ำตาล) ด้านขวาเป็นเต่าตนุ (สีเขียว) อันเป็นสัตว์ประจำถิ่น เบื้องบนของโล่เป็นรูปมงกุฎสีเงินและหอคอยสีแดงชักธงประจำดินแดน รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนพื้นทรายซึ่งมีโขดหินและเปลือกหอยชนิดต่างๆ ที่เบื้องล่างของดวงตรามีแพรแถบบรรจุคำขวัญประจำดินแดนเป็นภาษาละตินว่า In tutela nostra Limuria ความหมายของคำขวัญคือ "ลีมูเรีย (Limuria) อยู่ในความครอบครองของเรา" คำว่า "ลีมูเรีย" ในที่นี้ หมายถึงทวีปที่สาบสูญซึ่งเชื่อกันว่าตั้งอยู่ในพื้นที่มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา (Escudo de Costa Rica) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848), แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่1 เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และ ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964), การแก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตราแผ่นดินของคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกไกล

ตะวันออกไกล ตะวันออกไกล (Far East) ในความหมายที่จำกัดหมายถึงพื้นที่ซึ่งประกอบด้วยประเทศทางด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ มองโกเลีย ไต้หวัน และไซบีเรีย แต่ในความหมายที่กว้างขึ้นมักหมายรวมถึงอาเซียนและบางส่วนของเอเชียใต้ ในทางประวัติศาสตร์ ชาติมหาอำนาจในยุโรปเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกดินแดนแถบนี้และกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกว่าตะวันออกไกลเนื่องจากอยู่ห่างไกลจากอาณาจักรของตนไปทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

ตัลกาอัวโน

ตัลกาอัวโน (Talcahuano) เป็นเมืองท่าแห่งหนึ่งในประเทศชิลี มีฐานะเป็นอำเภอ (comuna) ของจังหวัดกอนเซปซีออน แคว้นบีโอ-บีโอ ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศชิลี ครอบคลุมพื้นที่ 92.3 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจสำมะโนประชากรเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตัลกาอัวโน · ดูเพิ่มเติม »

ตาราวา

ชายหาดร้างในตาราวา ตาราวา เป็นอะทอลล์ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง เป็นเมืองหลวงเก่าของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและหมู่เกาะเอลลิซ เป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของสาธารณรัฐคิริบาสในปัจจุบัน ซึ่งก็คือตาราวาใต้ เกาะนี้เป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญในยุทธภูมิตาราวา ซึ่งเป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญในมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 หมวดหมู่:ประเทศคิริบาส หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:อะทอลล์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์คิริบาส.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตาราวา · ดูเพิ่มเติม »

ตาฮีตี

ตาฮีตี (Tahiti) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มของหมู่เกาะวินด์เวิร์ดของเฟรนช์พอลินีเชีย ตั้งอยู่ในหมู่เกาะโซไซตี มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ เกาะมีประชากร 178,133 คน จากข้อมูลการสำรวจประชากรในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตุลาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ตูอาโมตัส

ตูอาโมตัส หรือ กลุ่มเกาะตูอาโมตู (Îles Tuamotu, หรือชื่อทางการคือ Archipel des Tuamotu) เป็นกลุ่มเกาะในดินแดนเฟรนช์โปลินีเซีย อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ส่วนใหญ่เป็นเกาะปะการังวงแหวน มีเกาะเล็ก ๆ รวมกันประมาณ 80 เกาะ เป็นแนวเกาะปะการังวงแหวนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ครอบคลุมพื้นที่ขนาดราวยุโรปตะวันตก เปโดร เฟร์นันเดส เด เกย์รอส นักเดินเรือชาวโปรตุเกสเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนมาพบบางส่วนของกลุ่มเกาะนี้ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและตูอาโมตัส · ดูเพิ่มเติม »

ซาคาจาเวีย

อนุสาวรีย์ซาคาจาเวีย ในนอร์ธดาโกต้า ซาคาจาเวีย (Sacagawea หรือ Sakakawea หรือ Sacajawea) (1788 – 20 ธันวาคม ค.ศ. 1812) เป็นหญิงสาวพื้นเมืองชาวอินเดียนแดง ที่ได้ร่วมเดินทางสำรวจรัฐลุยเซียนา ของอเมริกากับเมริวีเธอร์ ลูอิสและวิลเลียม คลาร์ก เธอเดินทางไปร่วมกับพันไมล์ในนอร์ธดาโกต้า ไปสู่มหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างปี 1804-1806 เธอมีชื่อเล่นว่า "จานีย์" ตั้งโดยคลาร์ก ข้อมูลที่น่าเชื่อถือทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับซาคาจาเวียมีอยู่ไม่มาก ส่วนใหญ่เป็นเรื่องตำนาน The National American Woman Suffrage Association ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ลงมติให้เธอเป็นสัญลักษณ์คุณค่าของผู้หญิงและเสรีภาพ สร้างอนุสาวรีย์และหินสลักแด่เธอ และทำหลายอย่างเพื่อเผยแพร่เรื่องราวความสำเร็จของเธอ นอกจากนี้ยังมีการทำเหรียญดอลลาร์เป็นรูปเธอและลูกชายของเธอ Jean Baptiste.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซาคาจาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ซานฟรานซิสโก

ซานฟรานซิสโก หรือ แซนแฟรนซิสโก (San Francisco) คือเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ. 1776 เมืองมีชื่อว่า เซนต์ฟรานซิส (St. Francis) ในภายหลังจากช่วงยุคตื่นทองในปี ค.ศ. 1848 ทำให้ประชากรในซานฟรานซิสโกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมืองเติบโตอย่างมาก ถึงแม้ว่าซานฟรานซิสโกจะประสบปัญหา แผ่นดินไหวและไฟไหม้ขนาดใหญ่ในช่วงปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

ซาไวอี

ซาไวอี (Savaiʻi) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีจุดสูงสุดของประเทศซามัวและกลุ่มเกาะซามัว และเป็นเกาะใหญ่สุดในโพลินีเซีย นอกเหนือจากฮาวายและนิวซีแลนด์ เกาะมีประชากร 43,142 คน (ค.ศ. 2006) ถือเป็น 24% ของประชากรทั้งประเท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซาไวอี · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกเหนือ

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือซีกโลกใต้ เส้นที่ลากผ่านกึ่งกลางภาพคือเส้นศูนย์สูตร ซีกโลกเหนือ (northern hemisphere) คือบริเวณของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ตรงข้ามกับซีกโลกใต้ ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของละติจูดของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว N ฤดูหนาวของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่เหมายัน (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึงวสันตวิษุวัต (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วนฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่ครีษมายัน (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึงศารทวิษุวัต (ราววันที่ 23 กันยายน) ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 % ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย เนื่องจากแรงโคริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบสุร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซีกโลกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ซีฮอร์ส ไบอัน

ซีฮอร์ส ไบอัน ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้าสมุทรโปเซดอน เป็น 1 ใน 7 ขุนพลมารีนเนอร์ ทำหน้าที่พิทักษ์เสาค้ำมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซีฮอร์ส ไบอัน · ดูเพิ่มเติม »

ซีแอตเทิล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและซีแอตเทิล · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเท็งโง

ปฏิบัติการเท็งโง เป็นปฏิบัติการทางทะเลหลักครั้งสุดท้ายของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามแปซิฟิกของสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการเท็งโงยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า Operation Heaven One (ปฏิบัติการสรวงสวรรค์) และ Ten-ichi-gō (เท็งอิชิโง) ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปฏิบัติการเท็งโง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประดู่บ้าน

ลำต้นเคลือบด้วยเปลือกเป็นเม็ด ๆ ประดู่บ้านเต็ม สมิตินันทน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประดู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลี

ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศชิลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัวเตมาลา

กัวเตมาลา (Guatemala) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศวานูอาตู

วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และVanuatu) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: Ripablik blong Vanuatu; Republic of Vanuatu; République de Vanuatu) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอสตาริกา

อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิริบาส

ริบาส (Kiribati ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคิริบาส (Republic of Kiribati; กิลเบิร์ต: Ribaberiki Kiribati) เป็นชาติเกาะที่ตั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตอนกลาง หมู่เกาะปะการัง 33 แห่งของประเทศกระจายทั่วพื้นที่ 3,500,000 ตารางกิโลเมตรใกล้เส้นศูนย์สูตร ชื่อประเทศที่เขียนในภาษาอังกฤษคือ "Kiribati" ออกเสียงในภาษาพื้นเมืองว่า ซึ่งมาจากการทับศัพท์คำว่า "Gilberts" ของคนในท้องถิ่น เนื่องจากว่าชื่อเดิมในภาษาอังกฤษของหมู่เกาะหลักคือ "หมู่เกาะกิลเบิร์ต" (Gilbert Islands).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูวาลู

ตูวาลู (ตูวาลูและTuvalu) หรือเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ หมู่เกาะเอลลิซ (Ellice Islands) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่อประเทศแปลว่า "แปดยืนยง" (Eight Standing Together) ในภาษาตูวาลู นอกจากนครรัฐวาติกันแล้ว ตูวาลูเป็นประเทศอิสระที่มีประชากรน้อยที่สุดในโลก เนื่องจากมีความสูงต่ำ (สูงสุดคือ 5 เมตร) เกาะที่ประกอบเป็นประเทศนี้ อาจจะเกิดปัญหาถ้าระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ในช่วงหลายทศวรรษข้างหน้า ประชากรอาจจะอพยพไปที่ประเทศนิวซีแลนด์หรือเกาะนีอูเอซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ที่เป็นปกครองตนเองแต่ขึ้นกับนิวซีแลนด์ที่ไม่มีปัญหาจากการเพิ่มของระดับน้ำทะเล แต่มีประชากรน้อยลง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศตูวาลู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัว

รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ. 2443 ถึง พ.ศ. 2457 และ ซามัวตะวันตก ระหว่างปี พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาปัวนิวกินี

ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามา

ปานามา (Panamá) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐปานามา (República de Panamá) เป็นประเทศที่อยู่ทางใต้สุดของอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนาอูรู

นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศนาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัว

นิการากัว (Nicaragua) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนิการากัว (República de Nicaragua) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในอเมริกากลาง แต่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศฮอนดูรัส ทางใต้จรดประเทศคอสตาริกา ชายฝั่งตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนชายฝั่งตะวันออกจรดทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากการสนธิระหว่างคำว่า "นีการาโอ" (Nicarao) เป็นชื่อชนเผ่าพื้นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดขณะที่ชาวสเปนมาถึง กับคำว่า "อะกวา" (Agua) ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน แปลว่าน้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบีย

ลอมเบีย (โกลมเบีย) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโคลอมเบีย เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกติดต่อกับเวเนซุเอลาและบราซิล ทางทิศใต้ติดต่อกับเอกวาดอร์และเปรู ทางทิศเหนือจรดทะเลแคริบเบียน ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับปานามาและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไมโครนีเซีย

มโครนีเซีย (Micronesia) หรือ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย (Federated States of Micronesia) เป็นรัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีความสัมพันธ์เสรีกับสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศไมโครนีเซียจัดอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ หลายร้อยเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศกับ 2 ดินแดน คำว่า Micronesia มักจะนำมาใช้เรียกเป็นชื่อประเทศ อย่างไรก็ดี ไมโครนีเซียก็เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน ไมโครนีเซียในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก ซึ่งเป็นดินแดนภาวะพึ่งพิงขององค์การสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. 2522 ไมโครนีเซียได้นำรัฐธรรมนูญมาใช้ และในพ.ศ. 2529 ได้รับเอกราชภายใต้สัญญาความสัมพันธ์เสรี (Compact of Free Association) กับสหรัฐอเมริกา ปัญหาในปัจจุบันคือ อัตราการว่างงานสูง การประมงมากเกินไป และการพึ่งพาสหรัฐมากเกินไป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศไมโครนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอกวาดอร์

อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศเอกวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรู

ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2364 ชื่อเปรูมาจากคำว่า "บีรู" (Birú) ซึ่งเป็นชื่อของผู้ปกครองท้องถิ่นบริเวณอ่าวซานมีเกลในปานามา โดยบริเวณนี้เป็นจุดใต้สุดที่ชาวยุโรปรู้จักเมื่อครั้งนักสำรวจชาวสเปนมาถึงในปี พ.ศ. 2065 ดังนั้นเมื่อฟรันซิสโก ปีซาร์โรเดินทางสำรวจต่อไปทางใต้ จึงเรียกภูมิภาคเหล่านั้นว่า บีรูหรือเปรูด้วย จักรวรรดิสเปนรับรองชื่อนี้ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและประเทศเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ

ลาฮอยา เมืองแซนดีเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) คือชื่อสามัญของปรากฏการณ์สาหร่ายสะพรั่ง (algal bloom) หรือ การรวมตัวขนาดใหญ่ของจุลชีพในทะเล เกิดขึ้นจากไดโนแฟลกเจลเลตไม่กี่ชนิด ที่มีการสะพรั่งสีแดงหรือน้ำตาล ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ คือ เหตุการณ์ซึ่งสาหร่ายที่อาศัยอยู่ในน้ำกร่อย น้ำเค็ม หรือ น้ำจืด มีการสะสมอย่างรวดเร็วในห้วงน้ำ ส่งผลให้เกิดสีบนผิวน้ำ ปกติแล้วจะพบได้ตามชายหาด ในทุก ๆ ปีปรากฏการณ์นี้ยังฆ่าแมนนาทีจำนวนมาก สาหร่ายเหล่านี้ ซึ่งมีอีกชื่อนึงว่าแพลงก์ตอนพืช ซึ่งเป็นโพรทิสต์เซลล์เดียว เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายพืช และสามารถก่อให้เกิดรอยแต้มขุ่นที่สามารถสังเกตได้ใกล้ผิวน้ำ ในขณะเดียวกันนั้น แพลงก์ตอนพืชบางชนิด เช่น ไดโนแฟลกเจลเลต ยังมีรงควัตถุสังเคราะห์แสง ซึ่งมีสีที่หลากหลายตั้งแต่สีเขียว ไปจนถึงสีเขียวและสีแดง เมื่อสาหร่ายมีจำนวนหนาแน่น จะส่งผลให้น้ำเปลี่ยนสีหรือขุ่นมัว โดยปกติแล้วจะเป็นสีแดงหรือสีเขียว โดยบางทีอาจจะเป็นสีม่วงหรือสีชมพูก็ได้ สาหร่ายสะพรั่งที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนสีของน้ำนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อมีความหนาแน่นสูงเพียงพอเท่านั้น และไม่จำเป็นจะต้องเป็นสีแดงเสมอไป ในบางครั้ง ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬอาจเกี่ยวข้องกับผลผลิตของชีวพิษ การขาดแคลนของออกซิเจนละลาย หรือผลกระทบเชิงลบอื่น ๆ ซึ่งทั้งหมดนี้โดยปกติแล้วจะเรียกว่า สาหร่ายสะพรั่งที่มีความอันตราย ผลกระทบที่เห็นได้ชัดที่สุดจากปรากฏการณ์นี้เกี่ยวข้องกับอัตราการตายของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ อย่างที่อาศัยอยู่ในทะเลรวมไปถึงแนวชายหาด เช่น ปลา นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนามหาขุมทรัพย์โจรสลัด

ปริศนามหาขุมทรัพย์โจรสลัด; (Jolly Roger in the Deep Azure) เป็นภาพยนตร์การ์ตูน ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ฉบับภาพยนตร์ตอนที่ 11 ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเกาะเทพแห่งทะเลอันสวยงามที่ตั้งอยู่บนมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ว่ากันว่าโจรสลัดสาวสองคนคือ แอน โบนี่ และ แมรี่ รีดนั้นฝังสมบัติมีค่าเอาไว้ที่เกาะนั้นเมื่อ 300 ปีก่อน ในประเทศญี่ปุ่น โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อ 21 เมษายน พ.ศ. 2550 ในประเทศไทย ฉายที่โรงภาพยนตร์เซ็นจูรี่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และออกอากาศทางฟรีทีวีทางช่อง 7 ในช่วงหนังรอบเช้า วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552, CH7 (เรียกข้อมูลวันที่ 18 ต.ค. 2552), Modernine Cartoon, 18 ต..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปริศนามหาขุมทรัพย์โจรสลัด · ดูเพิ่มเติม »

ปรง

ปรง (Cycad) เป็นพืชที่มีขนาดเล็กคล้ายกับใบของปาล์ม แต่การเรียงตัวของใบนั้นคล้ายกับเฟิร์นข้าหลวง คือมีการเรียงตัวอยู่รอบ ๆ ศูนย์กลางของลำตัว ปรงเป็นพืชที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตช้ามาก คือ 1 ปีจะเกิดใบเพียงแค่ใบ เดียวเท่านั้น ปรงสามารถทนต่อการขาดน้ำได้เป็นอย่างดีและถ้าขาดน้ำนาน ๆ ใบของปรงจะแห้งเหี่ยวตายไป แต่พอได้รับน้ำอีกครั้งใบก็จะเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปรง · ดูเพิ่มเติม »

ปรงไข่

ปรงไข่ (Leather fern หรือ Swamp fern) เป็นพืชตระกูลเฟิร์นที่เป็นพืชโบราณ ซึ่งอยู่ในจำพวกพืชเมล็ดเปลือยเช่นเดียวกันกับพวกแปะก๊วยและสน มีลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน ชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ ส่วนมากมักพบตามบริเวณใกล้แหล่งน้ำ เป็นพืชที่ความทนทานสูงและมีอายุยืน มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ ปรงทะเล ปรงแดง(สมุทรสาคร) แสม (ใต้) ผักชล (อีสาน) ปรงทอง ปรงใหญ่ และบีโย (มลายู-สตูล).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปรงไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ยาม

ปลาบู่ยาม หรือ ปลาบู่กุ้ง (Watchman goby, Prawn-goby) เป็นปลาทะเลในสกุล Cryptocentrus (/คริป-โต-เซน-ตรัส/) ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) จัดเป็นปลาบู่ทะเลขนาดเล็ก เหตุที่ได้ชื่อว่า "ปลาบู่ยาม" หรือ "ปลาบู่กุ้ง" เนื่องจากปลาบู่ในสกุลนี้มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในโพรงที่พื้นทรายใต้ทะเลร่วมกับกุ้งดีดขัน (Alpheaus spp.) ซึ่งเป็นกุ้งขนาดเล็ก โดยเอื้อประโยชน์ต่อกันด้วยการระมัดระวังภัยให้แก่กันและขุดโพรงทำรัง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาบู่ยาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่เกาะสุรินทร์

ปลาบู่เกาะสุรินทร์ หรือ ปลาบู่ปาปัวนิวกินี (Aporos sleeper, Ornate sleeper, Snakehead gudgeon, Mud gudgeon) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Giuris มีรูปร่างคล้ายปลาบู่ทั่วไปผสมกับปลาช่อน คือ มีส่วนหัวใหญ่และกลมมน เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมากชนิดหนึ่ง ลำตัวเป็นสีเหลืองอมส้ม มีจุดประสีส้มและสีฟ้าอมน้ำเงิน ที่แก้มและคางมีสีส้มสด ครีบต่าง ๆ เป็นสีฟ้าหรือน้ำเงินแลดูสวยงาม มีขนาดความยาวเต็มที่ 40 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 20-25 เซนติเมตร ตัวผู้มีครีบและมีสีสดสวยกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่พบแพร่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบในลำธารหรือบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยติดกับทะเล ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจากแอฟริกาตอนใต้ถึงอินโดนีเซีย รวมถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ปาปัวนิวกินี, เมลานีเซีย, ปาเลา, เกาะเซเลบีส, เกาะโอกินาวา ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยพบเพียงที่เดียว คือ ในลำธารที่หมู่เกาะสุรินทร์ ในเขตทะเลอันดามัน เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงแมลงน้ำ เป็นอาหาร ฟักไข่และวัยอ่อนเจริญเติบโตในทะเล ก่อนจะอพยพเข้าสู่น้ำจืดหรือน้ำกร่อยเมื่อเจริญวัยขึ้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ถือเป็นปลาที่มีความสวยงาม เลี้ยงได้ง่าย เนื่องจากอุปนิสัยที่ไม่หลบซ่อนตัว และไม่ดุร้ายก้าวร้าวต่อปลาอื่นในที่เลี้ยง อีกทั้งยังกินอาหารสำเร็จรูปได้อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาบู่เกาะสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากบ

ปลากบ (frog fish) เป็นปลาในตะกูลปลาตกเบ็ดพบได้ทั่วไปในมหาสมุทรเขตร้อนยกเว้นทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มันเป็นปลาที่มีรูปร่างลักษณะสั้นตัวหนาและมีครีบและสีตัวที่ใช้ในการพลางตัวได้ดีและบางชนิดสามารถเปลียนสีได้ ปลากบนั้นปกติจะอยู่บริเวณพื้นทะเลที่มีสาหร่ายซาร์กัสซัมจึงทำให้มันมีอีกชื่อนึงว่าปลาซาร์กัสซัมโดยปกติพวกมันจะมีสิ่งมีชีวิตอื่นขึ้นตามลำตัวจึงทำให้สามารถพลางตัวได้ดีและมันยังเคลื่อนที่ช้าๆหรือการล่อเหยือเพื่อจะได้พลางตัวได้อย่างแนบเนียนและเมื่อมีเหยือเข้ามาใกล้พวกมันก็จะพุ่งกระโจนเข้าหาเหยือและงับอย่างรวดเร็วโดยใช้เวลาเพียง 6 มิลลิวินาทีเท่านั้น จากหลังฐานทางฟอสซิลพบว่าพวกมันเริ่มมีมาตัวแต่สมัยไมโอซีน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระบอกเทา

ปลากระบอกเทา (Flathead mullet, Grey mullet, Striped mullet) เป็นปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง จำพวกปลากระบอก (Mugilidae) มีลักษณะทั่วไป คือ เป็นปลาที่มีลำตัวยาวป้อมหัวแหลม ที่ตามีเยื่อไขมันคลุม ปากเล็ก ครีบหลังมีสองอัน ส่วนหลังเป็นสีเทาหรือน้ำตาล ด้านข้างเป็นสีเงินวาวท้องขาว ข้างลำตัวมีแถบสีดำบาง ๆ พบมีอยู่ทั่วไปในเขตร้อนและเหนือหรือใต้เขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สำหรับในไทยมีรายงานว่าพบที่จังหวัดสงขลาแต่ไม่มาก วงจรชีวิตของปลากระบอกเทาคล้ายกับปลานวลจันทร์ทะเล ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์กัน กล่าวคือ ผสมพันธุ์วางไข่ในทะเลแล้วลูกปลาจะเข้ามาหากินและเจริญเติบโตในบริเวณชายฝั่ง ปลาจะเจริญเติบโตในบริเวณชายฝั่งและจะโตเต็มวัยพร้อมที่จะผสมพันธุ์วางไข่ได้เมื่อมีอายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ปลาเพศเมียจะมีไข่ตั้งแต่ 1-3 ล้านฟอง แล้วแต่ขนาดของปลา ปลาจะวางไข่ในทะเลลึกนอกชายฝั่งที่มีอุณหภูมิในช่วง 21-25 องศาเซลเซียส ลักษณะไข่ปลาเป็นไข่ครึ่งจมครึ่งลอยลูกปลาที่ฟักเป็นตัวจะถูกกระแสน้ำพัดพาเข้าในบริเวณชายฝั่ง ลูกปลาช่วงวัยอ่อนจะกินแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหารเมื่อลูกปลาเจริญได้ขนาดประมาณ 3 เซนติเมตร ก็จะเปลี่ยนอุปนิสัยการกินอาหารมากินพืชแทน ปลากระบอกเทาเป็นปลาที่กินพืชที่แท้จริงจัดอยู่ในขั้นอาหารที่สอง เป็นปลาที่ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดีสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ ได้ง่าย และสามารถหาอาหารกินได้ในทุกระดับน้ำ ปลากระบอกเทาจะกินโดยวิธีการดูดหรือแทะเล็มที่พื้นผิววัสดุซึ่งมีทั้งอาหารและไม่ใช่อาหาร แต่จะมีอวัยวะกรองที่คอเรียกว่า "Phary ngeal fitering device" แยกตะกอนอาหารออกจากตะกอนที่ไม่ใช่อาหารแล้วพ่นตะกอนที่ไม่ใช่อาหารออกมาและส่วนที่เป็นอาหารก็จะกลืนลงสู่กระเพาะอาหารส่วนลำไส้จะยาวมาก ขดอยู่หลังกระเพาะอาหารยาวประมาณ 5 เท่าของตัวปลา ลูกปลากระบอกเทา ปัจจุบัน ปลากระบอกเทา มีการทดลองเลี้ยงและส่งเสริมให้เลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับปลากระบอกชนิดอื่น ๆ โดยเลี้ยงกันในบ่อดิน นอกจากนี้แล้วยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย นับเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย สามารถปรับตัวให้เข้ากับที่เลี้ยงได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระบอกเทา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงร่ม

รีบหลังอันใหญ่เป็นเอกลักษณ์ ปลากระโทงร่ม หรือ ปลากระโทงแทงร่ม (Sailfish) เป็นปลากระโทงที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในสกุล Istiophorus มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวแบนข้าง ส่วนของสันหลังมีกล้ามเนื้อหนา หัวค่อนข้างโต ปากกว้าง จะงอยปากเรียวยาวและแหลม มีครีบกระโดงหลังสูงใหญ่เวลาแผ่กว้างจะมีลักษณะคล้ายใบเรือ ซึ่งใหญ่กว่าปลากระโทงสกุลอื่น ครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบท้องเรียวยาวเหมือนแถบริบบิ้น ครีบก้นแยกเป็นสองอันเล็ก ๆ อันที่สองอยู่ตรงข้ามครีบหลังซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน สีของลำตัวด้านหลังเป็นสีน้ำเงินเข้มปนดำข้างตัวสีน้ำเงินอ่อนกว่าด้านหลัง ท้องสีขาวเงินมีลายเป็นเส้นประพาดจากด้านหลังลงไปถึงท้อง ครีบทุกครีบมีสีดำ มีความยาวได้ถึง 3.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 100-125 กิโลกรัม กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลเปิดของมหาสมุทรต่าง ๆ ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก โดยสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เนื่องจากเป็นปลาที่มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมาก ข้อต่อของกระดูกและครีบต่าง ๆ ที่ช่วยในการเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี มีการอพยพย้ายถิ่นไปตามกระแสน้ำ ลูกปลาวัยอ่อนเมื่อฟักออกมาจากไข่มีขนาดเพียง 3 มิลลิเมตรเท่านั้น และจะมีขนาดเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีความยาวได้ 20 เซนติเมตร ปลาวัยอ่อนจะอาศัยหากินตามผิวน้ำที่ไม่ไกลจากฝั่งมากนัก และบางครั้งอาจเข้าไปหากินใกล้ชายฝั่งหรือใกล้กับเกาะ โดยใช้จะงอยปากที่แหลมยาวและครีบหลังที่ใหญ่ไล่ต้อน ซึ่งอาหารที่ชื่นชอบ คือ ปลาขนาดเล็กและหมึก เมื่อจะล่าเหยื่อ โดยเฉพาะปลาแมกเคอเรล จะเปลี่ยนสีลำตัวเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน เนื่องจากสายตาของปลาแมกเคอเรลไวต่อแสงสีฟ้าหรือสีน้ำเงินมาก รวมทั้งสามารถมองเห็นแสงอัลตราไวโอเลตด้วย การเปลี่ยนเป็นสีฟ้าจะทำให้ปลาแมกเคอเรลสับสน ปลากระโทงร่ม เป็นปลาที่เป็นทื่นิยมอย่างมากในการตกเป็นเกมกีฬา ด้วยเป็นปลาที่สู้กับเบ็ดและต้องใช้พละกำลังและเวลาอย่างมากในการตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระโทงร่ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก หรือ ปลากระโทงแทงกล้วย (Banana sailfish, Indo-Pacific sailfish) เป็นปลากระโทงที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง และจัดเป็นปลากระโทงร่มชนิดหนึ่ง มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวแบนข้าง ส่วนของสันหลังมีกล้ามเนื้อหนา หัวค่อนข้างโต ปากกว้าง จะงอยปากเรียวยาวและแหลม มีครีบกระโดงหลังสูงใหญ่เวลาแผ่กว้างจะมีลักษณะคล้ายใบเรือ ซึ่งใหญ่กว่าปลากระโทงชนิดอื่น ๆ ครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบท้องเรียวยาวเหมือนแถบริบบิ้น ครีบก้นแยกเป็นสองอันเล็ก ๆ อันที่สองอยู่ตรงข้ามครีบหลังซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน สีของลำตัวด้านหลังเป็นสีน้ำเงินเข้มปนดำข้างตัวสีน้ำเงินอ่อนกว่าด้านหลัง ท้องสีขาวเงินมีลายเป็นเส้นประพาดจากด้านหลังลงไปถึงท้อง ครีบทุกครีบมีสีดำ มีครีบท้องเป็นเส้นยาวชัดเจน มีความยาวได้ถึง 3.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 100-125 กิโลกรัม กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในเขตร้อนของทะเลเปิดของมหาสมุทรต่าง ๆ ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก โดยสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เนื่องจากเป็นปลาที่มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมาก ข้อต่อของกระดูกและครีบต่าง ๆ ที่ช่วยในการเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี มีการอพยพย้ายถิ่นไปตามกระแสน้ำ ลูกปลาขนาดเล็ก ปลาที่ถูกตกได้ที่คอสตาริกา ลูกปลาวัยอ่อนเมื่อฟักออกมาจากไข่มีขนาดเพียง 3 มิลลิเมตรเท่านั้น และจะมีขนาดเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีความยาวได้ 20 เซนติเมตร ปลาวัยอ่อนจะอาศัยหากินตามผิวน้ำที่ไม่ไกลจากฝั่งมากนัก และบางครั้งอาจเข้าไปหากินใกล้ชายฝั่งหรือใกล้กับเกาะ โดยใช้จะงอยปากที่แหลมยาวและครีบหลังที่ใหญ่ไล่ต้อน ซึ่งอาหารที่ชื่นชอบ คือ ปลาขนาดเล็กและหมึก เมื่อจะล่าเหยื่อ โดยเฉพาะปลาแมกเคอเรล จะเปลี่ยนสีลำตัวเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน เนื่องจากสายตาของปลาแมกเคอเรลไวต่อแสงสีฟ้าหรือสีน้ำเงินมาก รวมทั้งสามารถมองเห็นแสงอัลตราไวโอเลตด้วย การเปลี่ยนเป็นสีฟ้าจะทำให้ปลาแมกเคอเรลสับสน ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก เป็นปลาที่เป็นทื่นิยมอย่างมากในการตกเป็นเกมกีฬา ด้วยเป็นปลาที่สู้กับเบ็ดและต้องใช้พละกำลังและเวลาอย่างมากในการตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหัวแหลม

ปลากระเบนหัวแหลม (Pale-edged stingray, Sharpnose stingray) ปลากระดูกอ่อนทะเลจำพวกปลากระเบนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีลักษณะลำตัวแบน สันฐานเหลี่ยมคล้ายว่าว หางยาวเรียวเป็นเส้นเหมือนแส้ ส่วนกว้างของลำตัวเกือบเท่าความยาว จะงอยปากยื่นแหลมออกไป ความยาวของจะงอยปากประมาณ 1/3 ของความยาวลำตัว ด้านท้องมีช่องน้ำเข้า 5 คู่ ครีบอกเป็นแผ่นติดต่อรวมกับลำตัว ครีบก้นอยู่ใต้ครีบหาง ไม่มีครีบหลัง บนครีบหางมีเงี่ยงปลายแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย โคนเงี่ยงมีต่อมพิษ ซึ่งถ้าหากแทงจะปล่อยพิษเข้าสู่ร่างกาย ทำให้ได้รับบาดเจ็บและปวดอย่างรุนแรง ลำตัวด้านหลังมีสีน้ำตาลเทา ด้านท้องสีขาว ขนาดโตเต็มที่ได้ 29 เซนติเมตร (11 นิ้ว) อาศัยในน้ำกร่อย และน้ำทะเล บริเวณปากแม่น้ำ หากินบริเวณพื้นท้องน้ำ พบได้ในบริเวณน้ำตื้นจนถึงน้ำลึกกว่า 100 เมตร (330 ฟุต) อาหารได้แก่ สัตว์กลุ่มกุ้งปูขนาดเล็ก รวมทั้งปลาขนาดเล็กด้วย พบในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งแต่อินเดียจนถึงตะวันออกของคาบสมุทรมลายู และตอนใต้ของญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนหัวแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางแส้

ปลากระเบนหางแส้ (Whip rays) เป็นชื่อสกุลของปลากระเบน ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Himantura (/ไฮ-แมน-ทู-รา/) ปลากระเบนในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ มีปลายจะงอยปากที่แหลมยาว ขอบของด้านหน้าเชิงมน ลำตัวแบนกลมคล้ายใบโพ กลางหลังมีผิวที่ขรุขะและเป็นหนาม ในบางตัวอาจมีตุ่มหนามเล็ก ๆ ไปจรดถึงโคนหางที่เป็นเงี่ยงพิษ 2 ชิ้น มีส่วนหางที่เรียวยาวมาก โดยจะมีความยาวเป็น 2 เท่าของลำตัว มีซี่กรองเหงือกทั้งหมด 5 คู่ อยู่ด้านใต้ของลำตัวซึ่งเป็นสีขาว และสีจางกว่าด้านบนลำตัว ความยาวของลำตัววัดจากรูก้นถึงปลายจะงอยปากสั้นมากกว่าความกว้างลำตัว เป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ปัจจุบันพบแล้วกว่า 28 ชนิด โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลากระเบนราหู (H. polylepis) ที่พบอาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ของประเทศไทยไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ที่มีความยาวถึง 5 เมตร และหนักถึงเกือบ 300 กิโลกรัม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนหางแส้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนจุดฟ้า

ระวังสับสนกับ: ปลากระเบนทอง ปลากระเบนจุดฟ้า (Bluespotted stingray, Bluespotted maskray) ปลากระดูกอ่อนน้ำเค็มชนิดหนึ่ง จำพวกปลากระเบน อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีจะงอยปากและปลายครีบอกเป็นมุมกว้าง ด้านหลังลำตัวเรียบ หางเรียวยาวกว่าลำตัวเล็กน้อย ตาโตอยู่ชิดกันและมีแถบสีคล้ำระหว่างดวงตา ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลอ่อนอมเทาหรือเหลือง มีจุดประสีฟ้าอ่อนและดำกระจาย ด้านท้องสีจาง ปลายหางมีสีดำ มีปล้องสีขาวอยู่ 1-2 ปล้อง มีขนาดความกว้างของลำตัวประมาณ 50 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่ง ตั้งแต่แนวปะการังไปจนถึงที่ลึกอย่างไหล่ทวีป ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย โดยพบได้ประปรายในทวีปแอฟริกา มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ฝังตัวอยู่ใต้พื้นทรายในที่ตื้น ๆ โดยกินสัตว์น้ำเช่น กุ้ง, ปู และหอย เป็นอาหาร ในเขตน่านน้ำไทยพบได้ชุกชุมในบางพื้นที่ และพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันหน้า 101, คู่มือปลาทะเล โดย ชวลิต วิทยานนท์ ดร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนจุดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนค้างคาว

ปลากระเบนค้างค้าวหรือ ปลากระเบนเนื้อดำ หรือ ปลากระเบนนกจุดขาวหรือปลากระเบนยี่สน (Spotted eagle ray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น หอย, กุ้ง, กั้ง, ปู บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ฮาวาย, อ่าวเม็กซิโก, ชายฝั่งทะเลของแอฟริกาตะวันตก, ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และโอเชียเนีย ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย ปลากระเบนค้างคาวสนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจากปลาฉลาม โดยเฉพาะปลาฉลามหัวค้อน สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็นปลาแห้ง และทำเป็นปลาหย็อง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนค้างคาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนไฟฟ้า

ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric rays, Numbfishes, Coffin rays, Sleeper rays, Crampfishes) เป็นปลากระเบนที่มีรูปร่างกลม จัดอยู่ในอันดับ Torpediniformes และมีอวัยวะคู่หนึ่งที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์รูปหกเหลี่ยมเรียงซ้อนกันเป็นกลุ่ม ตั้งอยู่ทางด้านข้างของตาถัดไปถึงครีบอก ภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายวุ้น ทำหน้าที่ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยความแรงมีตั้งแต่ระดับต่ำเพียง 8 โวลต์ไปจนถึง 220 โวลต์ ขึ้นอยู่กับชนิด กระแสไฟฟ้านี้ใช้เพื่อทำให้เหยื่อสลบหรือฆ่าเหยื่อ ปลากระเบนไฟฟ้าทั้งหมดมีรูปร่างแบนกลม ตามีขนาดเล็กมาก (มีอยู่ 4 ชนิดที่ตาบอด) ส่วนหางพัฒนาอย่างสมบูรณ์แข็งแรง และไม่มีเงี่ยงหางแหลมคมเหมือนปลากระเบนในอันดับอื่น มีลำตัวหนาและอ่อนนุ่ม มีครีบหลัง 2 ตอน หรือไม่มีเลย ปลากระเบนไฟฟ้ามีทั้งหมด 4 วงศ์ (ดูในตาราง) ประกอบด้วย 69 ชนิด 11 สกุล โดยทั้งหมดพบในทะเล พบในบริเวณอบอุ่นในเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ปลากระเบนไฟฟ้ามักหมกตัวอยู่ใต้พื้นทราย สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้หากเหยียบไปถูกเข้า ซึ่งอาจทำให้เกิดเกิดอาการชาและจมน้ำเสียชีวิตได้ อวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้าคู่ ปลากระเบนไฟฟ้าในภาษาไทยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ปลาเสียว" โดยชนิดที่พบได้ในน่านน้ำไทย เช่น ปลากระเบนไฟฟ้าหลังเรียบ (Temera hardwickii), ปลากระเบนไฟฟ้าสีน้ำตาล (Narcine brunnea), N. indica และ Narke dipterygia ส่วนชนิดที่พบได้ในต่างประเทศและเป็นที่รู้จักดีได้แก่ ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก (Torpedo californica), ปลากระเบนไฟฟ้าตาบอด (Typhlonarke aysoni) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก

ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก (Pacific electric ray; Torpedo pacific) เป็นปลากระเบนไฟฟ้าชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออก ตั้งแต่บริติชโคลัมเบีย (แคนาดา), คาบสมุทรแคลิฟอร์เนีย (เม็กซิโก) และอาจพบได้ในส่วนอื่น ๆ ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 140 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 41 กิโลกรัม ลำตัวรูปร่างกลม มีสีเทา และมีจุดสีดำอยู่บนหลัง ครีบหลังทั้งสองครีบอยู่ใกล้หาง มักพบได้ในดงสาหร่ายเคลป์และก้นทะเลที่เป็นทราย บางครั้งอาจฝังตัวอยู่ในทราย กินปลากระดูกแข็งเป็นอาหาร โดยเฉพาะจำพวกปลาเฮอร์ริ่งและปลาเบน สามารถทำให้เหยื่อสลบโดยปล่อยกระแสไฟฟ้าออกจากอวัยวะพิเศษ ความแรงอาจถึง 50 โวลต์และ 1 กิโลวัตต์ มีอายุขัยค่อนข้างนาน ตั้งแต่ 4.5 ถึง 14 ปี ปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิกมักถูกใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัยทางอณูชีววิทยา เพราะอวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้ามีปริมาณโปรตีนบางชนิดอยู่สูงมาก ตัวอย่างเช่น อะซีทิลคอลีนสเตอเร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากระเบนไฟฟ้าแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงข้างปาน

ปลากะพงข้างปาน (Russell's snapper, Moses perch) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์เดียวกันทั่วไป ครีบหลังมีฐานยาว ครีบหางมีขนาดใหญ่และปลายเว้าเล็กน้อย มีพื้นลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง หรือสีน้ำตาลแดงหรือสีขาวเงิน มีเส้นสีแดงปนน้ำตาลจำนวน 8 เส้น พาดผ่านและโค้งไปตามแนวลำตัว บริเวณก่อนถึงโคนหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร เมื่อยังเป็นลูกปลาจะมีลายพาดแนวนอนตามลำตัวตั้งแต่หัวจรดหาง 3-4 ขีด และเมื่อโตขึ้นลายขีดจะหายไป ครีบและหางกลายเป็นสีเหลือง อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน พบในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในประเทศไทยพบได้ทั้งชายฝั่งอันดามันและอ่าวไทย นิยมอยู่เป็นฝูง นิยมตกเป็นเกมกีฬา เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลากะพงปานข้างลาย", "ปลาเหลืองลีซี" หรือ "ปลากะพงทอง".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากะพงข้างปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงดำ

ปลากะพงดำ (Tripletail, Atlantic tripletail) ปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในอันดับปลากะพง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lobotes surinamensis อยู่ในวงศ์ปลากะพงดำ (Lobotidae) มีลักษณะลำตัวแบนค่อนข้างลึก ความยาวหัวจะสั้นกว่าความลึกลำตัว ปากกว้างเฉียงขึ้น มุมปากจะอยู่แนวเดียวกับปุ่มกลางนัยน์ตา ครีบหลังจะเป็นก้านครีบเดี่ยวเป็นซี่ปลายแหลมประมาณ 11-13 ก้าน และก้านครีบแขนง 13-16 ก้าน ส่วนครีบหลัง ครีบก้น ครีบหางขนาดใกล้เคียงกันดูเหมือนจะมีครีบหาง 3 ครีบ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ขนาดค่อนข้างใหญ่สีน้ำตาลเข้มทั้งตัวหรือสีเหลืองอมเขียวมะกอก มีความยาวเต็มที่ได้ 110 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์บริเวณน้ำกร่อยตามปากแม่น้ำ พบได้ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และแถบอินโด-แปซิฟิก ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีพฤติกรรมอำพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อล่าเหยื่อและอำพรางสัตว์ผู้ล่าที่ใหญ่กว่า โดยปรับเปลี่ยนสีได้ ปกติมักจะลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กับที่โดยทิ่มส่วนหัวลง กินสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ลูกปลาวัยอ่อนมักอาศัยอยู่ตามปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน โดยมักจะตะแคงข้างหรือลอยตัวนิ่ง ๆ ทำให้แลดูคล้ายใบไม้ นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และรับประทานเนื้อเป็นอาหาร แต่หากนำไปปรุงด้วยการทำแกงหรือต้มยำ รสชาติจะจืดชืดไม่อร่อย จนต้องโยนหม้อที่ใช้ต้มทิ้งไปพร้อมปลา จนได้อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลาหม้อแตก" และมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "กะพงขี้เซา", "กะพงแสม", "อีโป้", "ใบไม้" "ตะกรับทะเล" หรือ "กูกู" (มอแกน) เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากะพงดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะมงพร้าว

ปลากะมงพร้าว หรือ ปลากะมงยักษ์ หรือ ปลาตะคองยักษ์ (Giant trevally, Lowly trevally, Giant kingfish; ชื่อย่อ: GT) ปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีส่วนหัวโค้งลาด ปากกว้าง ลำตัวแบนข้าง ครีบหางเว้าลึก ข้างลำตัวและโคนหางมีเส้นแข็งสีคล้ำ ลำตัวสีเทาเงินหรืออมเหลือง ครีบอกสีเหลือง ครีบอื่นสีคล้ำ ในปลาขนาดใหญ่อาจมีจุดประสีคล้ำที่ข้างลำตัว มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 170 เซนติเมตร น้ำหนัก 80 กิโลกรัม ปลาขนาดเล็กจะอยู่รวมเป็นฝูง เมื่อโตขึ้นจะแยกอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ มักว่ายคู่กับปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลามวาฬหรือปลากระเบนแมนตา เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยไล่ล่าปลาขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้ง หมึก, กุ้ง และปู เป็นอาหาร ในปลาขนาดเล็กอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด เช่น ท่าเรือ, ชายฝั่ง และปากแม่น้ำ ปลาขนาดใหญ่อยู่นอกแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ ในทะเลเปิด ที่แอฟริกาตะวันออก ปลากะมงพร้าวขนาดโตเต็มวัยจะว่ายเป็นฝูงเข้ามาในแม่น้ำที่เป็นน้ำจืด อย่างช้า ๆ และว่ายเป็นวงกลมรอบ ๆ ไปมา โดยที่ยังไม่ทราบสาเหตุถึงพฤติกรรมเช่นนี้ เป็นปลาที่แพร่กระจายไปในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ฮาวาย, ญี่ปุ่น, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก จนถึงออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยสามารถพบได้ทั้ง 2 ฟากฝั่งทะเล จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อย เป็นปลาขนาดใหญ่ที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา โดยถือเป็นปลาเกมที่เป็นปลาทะเล 1 ใน 3 ชนิดที่นิยมตกกัน และเป็นปลาเศรษฐกิจ และนิยมเลี้ยงกันในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปลากะมงพร้าวมีพฤติกรรมพุ่งเข้าชาร์จอาหารด้วยความรุนแรง ทำให้หลายครั้งสร้างความบาดเจ็บแก่ผู้ให้อาหารแบบที่สวมชุดประดาน้ำลงไปให้ถึงในที่เลี้ยง อีกทั้ง ยังมีผู้ที่นิยมเลี้ยงปลาสวยงามประเภทปลาใหญ่ หรือปลากินเนื้อ เลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย เช่นเดียวกับปลากะมงตาแดง (C. sexfasciatus) โดยจะนำมาเลี้ยงในน้ำจืดตั้งแต่ยังเล็ก ๆ ทั้งนี้มีรายงานระบุอย่างไม่เป็นทางการว่า ในหลายพื้นที่ได้พบปลากะมงพร้าวขนาดกลางหรือค่อนไปทางใหญ่ในแหล่งน้ำจืด เช่น ในเหมืองร้างแห่งหนึ่ง ในอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา และที่จังหวัดชุมพร สันนิษฐานว่าคงเป็นปลาที่ผลัดหลงมาจากเหตุการณ์สึนามิเมื่อปลายปี ค.ศ. 2004 ซึ่งปลามีน้ำหนักประมาณ 2-10 กิโลกรัม นอกจากนี้แล้วที่ประเทศอินโดนีเซีย ยังมีผู้เลี้ยงปลากะมงพร้าวในน้ำจืดได้ในบ่อปลาคาร์ป จนมีขนาดใหญ่ราว 60 เซนติเมตรได้ โดยเลี้ยงมาตั้งแต่ตัวประมาณ 5 เซนติเมตร ซึ่งการจะเลี้ยงปลาให้เติบโตและแข็งแรงจนโตได้ ต้องเลี้ยงในสถานที่ ๆ มีความกว้างขวางพอสมควร และต้องผสมเกลือลงไปในน้ำในปริมาณที่มากพอควร แม้จะมีปริมาณความเค็มไม่เท่ากับน้ำทะเลก็ตามหน้า 123-128, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากะมงพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (Tomato clownfish, Bridled clownfish, Red clownfish, Tomato anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ในปลาขนาดเล็กจะมีลายสีขาวพาดลำตัวด้านละ 3 ลาย แต่เมื่อโตขึ้นลายดังกล่าวจะหายไป เหลือเพียงลายบริเวณหน้าด้านตรงแผ่นปิดเหงือกเท่านั้น มีขนาดโตเต็มที่ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณหมู่เกาะริวกิว, ทะเลญี่ปุ่น, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย โดยปกติแล้วไม่พบในน่านน้ำไทย แต่ก็มีรายงานและภาพถ่ายหลายครั้งที่ภาคใต้ฝั่งอันดามัน โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเล ชนิด ดอกไม้ทะเลนมสาว (Entacmaea quadricolor) เป็นปลาทะเลที่ได้รับความนิยมในการเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่สวยงามและเลี้ยงง่ายกว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น เช่น ปลาการ์ตูนส้มขาว (A. ocellaris) หรือปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า (A. percula) ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาการ์ตูนมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ

ปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ (Fire clownfish, Red and black anemonefish, Cinnamon clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (A. frenatus) มาก แต่มีความแตกต่างกันที่ปลามะเขือเทศแดงดำมีครีบก้น และครีบท้องเป็นสีดำ และลายสีดำบนลำตัวจะมีลักษณะแตกต่างออกไป ขณะที่ปลาที่พบในบางที่ เช่น ฟิจิหรือวานูอาตู ครีบเหล่านี้จะไม่มีสีดำ แต่ทว่าปลาที่มีลักษณะเช่นนี้มีพบไม่บ่อยนัก มีขนาดโตเต็มที่ 11 เซนติเมตร พบในมหาสมุทรแปซิฟิกทางแถบฟิจิ, วานูอาตู, มัลดีฟส์, อินโดนีเซีย ไปจนถึงเกรทแบร์ริเออร์รีฟ โดยไม่พบในน่านน้ำไทย นับเป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามนัก เนื่องจากมีสีสันที่ไม่สวยงามเท่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาการ์ตูนมะเขือเทศแดงดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนลายปล้อง

ปลาการ์ตูนลายปล้อง หรือ ปลาการ์ตูนลายปล้องหน้าทอง (Clark's anemonefish, Yellowtail clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีสีสันบนลำตัวเมื่อยังเล็ก ด้านล่างจะเป็นสีเหลืองหรือสีส้ม และด้านบนบริเวณหลังจะเป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงดำ เมื่อโตขึ้นสีดำนี้จะค่อย ๆ ลามลงมาเรื่อย ๆ ทางด้านท้องจนดำสนิททั้งตัว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 นิ้ว พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่อ่าวเปอร์เซียจนถึง เมลานีเซีย, ไมโครนีเซีย, เกาะไต้หวัน, ตอนใต้ของญี่ปุ่น, หมู่เกาะริวกิว และออสเตรเลีย ทางน่านน้ำไทย ไม่พบทางฝั่งอ่าวไทย แต่จะพบทางฝั่งอันดามัน เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง แต่ปลาที่มีขายในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ในประเทศไทย ยังเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติจากต่างประเทศอยู่ เนื่องจากมีสีสันที่สวยและได้มาตรฐานกว่า อีกประการ คือ ปลาที่จับได้ในน่านน้ำไทยมักจะตายในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจากการกระบวนการจับที่ผิดวิธี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาการ์ตูนลายปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู

ปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู หรือ ปลาการ์ตูนชมพู (Pink skunk clownfish, Pink anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนอินเดียนแดง (A. akallopisos) มาก แต่มีความแตกต่างตรงที่จะมีลายสีขาวคาดบริเวณแผ่นปิดเหงือก พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก, หมู่เกาะโคโคส และหมู่เกาะคริสต์มาส ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีขนาดโตเต็มที่ 10 เซนติเมตร เป็นปลาที่เลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ แต่ไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากสีสันไม่สวยงามเหมือนกับปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนอินเดียนแดง แม้ปัจจุบันจะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วก็ตาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาการ์ตูนอินเดียนแดงชมพู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า

ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า หรือ ปลาการ์ตูนส้ม (Orange clownfish, Blackfin clownfish, Percula anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนที่มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนส้มขาว (A. ocellaris) มากที่สุด แต่มีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนส้มขาวตรงที่ ลวดลายบนลำตัวจะมีความหลากหลายกว่ามาก และพื้นลำตัวจะมีสีดำปรากฏมากกว่า บางตัวอาจมีสีดำกินพื้นที่ลำตัวจนเต็มเหลือเพียงครีบ, ปาก และหางเท่านั้นที่เป็นสีส้ม อีกประการ คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่านั้นจะมีซี่กระดูกบนครีบหลัง 9-10 ชิ้น ส่วนปลาการ์ตูนส้มขาวจะมี 11 ชิ้น, ซี่กระดูกที่ครีบหู 16-18 ชิ้น ขณะที่ปลาการ์ตูนส้มขาวมีน้อยกว่า คือ 15-17 ชิ้น มีขนาดโตเต็มที่ 11 เซนติเมตร ซึ่งก็ใกล้เคียงกับปลาการ์ตูนส้มขาว พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก, หมู่เกาะโซโลมอน, เมลานีเซีย, นิวแคลิโดเนีย, วานูอาตู, เกรตแบร์ริเออร์รีฟ และไม่พบในน่านน้ำไทย ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า นับเป็นปลาการ์ตูนชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม อันเนื่องจากลวดลายและสีสันที่สวยงามที่มากกว่า ยิ่งโดยเฉพาะตัวที่มีลวดลายหรือสีสันที่แปลกไปจากปกติ มักถูกตั้งชื่อทางการค้าไปต่าง ๆ เช่น "ปลาการ์ตูนปิกัสโซ่" คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า ตัวที่มีลวดลายเชื่อมต่อกันคล้ายไม้กางเขน หรือ "ปลาการ์ตูนพลาตินั่ม" คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า ที่มีสีขาวเป็นปื้นไปตลอดทั้งลำตัว เป็นต้น ซึ่งชนิดหลังนี้มีราคาขายที่สูงมากถึงคู่ละ 60,000 บาท ปัจจุบัน ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า นับเป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ โดยลวดลายของปลาการ์ตูนเพอร์คูล่าที่เพาะออกมานั้น จะมีลวดลายและสีสันที่เป็นเอกลักษณะเฉพาะตัว ไม่เหมือนกัน ซึ่งต่างจากปลาการ์ตูนส้มขาว ที่ลวดลายจะเหมือนกันทั้งหมด ถึงแม้จะใช้พ่อแม่ปลาที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม แปลกตาแล้ว แต่ลูกปลาที่ออกมาก็จะมีที่เหมือนกับพ่อแม่ปลาเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากุแล

ปลากุแล หรือ ปลาหลังเขียว เป็นสกุลของปลาทะเลขนาดเล็กสกุล Sardinella (/ซาร์ดิแน็ลลา/) ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นปลาซาร์ดีนหรือปลาเฮร์ริงอีกจำพวกหนึ่ง มีลักษณะสัณฐานทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Herklotsichthys คือ ลำตัวแบนข้างมาก สันท้องแหลม เกล็ดบางหลุดง่าย เกล็ดในแนวสันท้องเป็นเหลี่ยมคมเรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย ปากเล็กเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กมาก ซี่เหงือกมีจำนวนมาก ไม่มีก้านครีบแข็งหรือเงี่ยง ลำตัวสีเงิน เฉพาะด้านหลังสีน้ำเงินเข้ม บนลำตัวที่ใกล้มุมแผ่นปิดเหงือกมักมีแต้มสีดำคล้ำหนึ่งจุด ครีบหลัง และครีบหางสีดำคล้ำอมเหลือง แต่ทว่ามีรูปร่างที่ยาวกว่า นอกจากนี้แล้ว ปลากุแลยังเป็นปลาที่มีวิวัฒนาการมาจากปลาในสกุล Harengula ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน โดยมีลักษณะแทบจะแยกกันไม่ออก โดยมีความต่างกันที่เกล็ดเท่านั้น จัดเป็นปลาผิวน้ำ ที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ลูกปลาขนาดเล็กอาจอยู่รวมใกล้ชายฝั่งทะเล, ปากแม่น้ำ หรือลากูนได้ พบกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่น ทั้งมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลเมดิเตอเรเนียน และมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ และในธรรมชาติยังเป็นปลาที่เป็นอาหารสำคัญของวาฬบาลีน เช่น วาฬบรูดาอีกด้วย เหมือนปลาในสกุลอื่นในวงศ์เดียวกันหรือใกล้เคียง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากุแล · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวกบ

ปลากดหัวกบ หรือ ปลาอุกหน้ากบ หรือ ปลากดยิ้ม (Beardless sea catfish) เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Batrachocephalus ในวงศ์ Ariidae ปลาชนิดนี้พบได้ในอ่าวเบงกอล และบางบริเวณของมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตก ตามแนวชายฝั่ง และปากแม่น้ำ พบใน ปากีสถาน, อินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ, พม่า, มาเลเซีย, ไทย และ อินโดนีเซีย ในประเทศไทยเป็นปลาหายาก เคยพบที่นนทบุรี, กระบี่, สงขลาและจันทบุรี ปลาชนิดนี้ยาวถึง 25.0 เซนติเมตร (9.8 นิ้ว) ตัวขาว หัวโตกว้างแล้วแบนลง ปากสั้น ทู่ ตาไม่มีหนังหุ้ม ขากรรไกรล่างยื่นล้ำขากรรไกรบน รูจมูกสองคู่อยู่ติดกัน ใกล้กับตา ลำตัวด้านหลังสีน้ำตาลและน้ำเงิน ครีบสีเหลืองมีจุดดำประ ปลากดหัวกบกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร จัดเป็นปลาที่มีคุณค่าทางเศรษฐก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลากดหัวกบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาย่าดุก

ปลาย่าดุก (Freshwater lionfish, Three-spined frogfish) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batrachomoeus trispinosus อยู่ในวงศ์ปลาคางคก (Batrachoididae) มีรูปร่างหัวโต ปากกว้าง มีติ่งเนื้อสั้น ๆ อยู่รอบมุมปาก ตาโต ครีบอกเป็นวงกลมและแผ่กางได้ ครีบหลังและครีบท้องยาวไปจรดหาง ครีบหางเป็นวงกลม ลำตัวอ่อนนุ่ม ไม่มีเกล็ด พื้นสีลำตัวสีน้ำตาลมีแถบดำเป็นลายเลอะพาดตลอดทั้งตัว ขนาดโตได้เต็มที่ราว 30 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก และยังพบในปากแม่น้ำ หรือในเขตน้ำกร่อยในภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบตั้งแต่อินโด-แปซิฟิก, ปาปัวนิวกินี จนถึงออสเตรเลีย มีพฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นน้ำเพื่อดักรอเหยื่อ โดยสีของลำตัวกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สามารถกินปลาที่ใหญ่กว่าตัวได้ โดยปลาในวงศ์นี้จะมีพิษอยู่ที่เงี่ยงครีบหลังและครีบอก เมื่อถูกจับพ้นน้ำจะส่งเสียงร้องว่า "อุบ อุบ" เป็นปลาที่เมื่อกินเบ็ดแล้ว กินลึกลงถึงในคอ ในบางพื้นที่มีการบริโภค โดยเนื้อนุ่ม มีรสชาติอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยต้องทำการปรับสภาพน้ำให้อยู่ในน้ำจืดให้ได้เสียก่อน หน้า 110-129, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาย่าดุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสละ

ปลาสละราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาสละ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสากใหญ่

ปลาสากใหญ่ (Great barracuda) ปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสาก (Sphyraenidae) มีลักษณะลำตัวเพรียวยาวเหมือนปลาสากทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่กว่า ลำตัวสีเทาเงิน มีลายสีคล้ำเป็นจุดหรือแต้มที่กลางลำตัว ครีบหางมีลักษณะเป็นแผ่นใหญ่ มีสีดำและมีขอบสีขาว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาสากใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ

ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Emperor angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus imperator อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ กล่าวคือ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร มีลายสีเหลืองสลับสีน้ำเงินตามความยาวลำตัว ลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยม และมีเงี่ยงที่บริเวณแผ่นปิดเหงือก มีแถบสีดำตัดด้วยเส้นสีน้ำเงินบาง ๆ ตั้งแต่บริเวณหน้าผากผ่านดวงตาลงมาและย้อนขึ้นไปตัดกับลายเส้นบนลำตัว ครีบและแก้มเป็นสีน้ำเงิน และปลายปากเป็นสีขาว มักพบในแหล่งที่น้ำใสของแนวปะการังที่สมบูรณ์ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่จะพบได้ในทะเลอันดามันมากกว่า เป็นปลาที่มักอยู่ลำพังตัวเดียวหรืออยู่เป็นคู่ ในความลึกตั้งแต่ 3-100 เมตร ในช่วงที่เป็นปลาวัยอ่อนนั้น จะมีสีน้ำเงิน มีเส้นลายสีขาวและมีลายก้นหอยบริเวณส่วนปลายของลำตัวใกล้โคนหาง และไม่มีสีเหลืองมาปะปน กระทั่งเติบโตขึ้น ครีบหางและครีบใต้ท้องด้านใกล้โคนหางก็จะเริ่มมีสีเหลืองและลวดลายของลำตัวก็จะเริ่มเปลี่ยนไป จนกระทั่งมีลวดลายและสีสันคล้ายกับปลาที่โตเต็มที่ขึ้นมาเรื่อย ๆ ตามวัย สันนิษฐานว่าเป็นไปเพื่อป้องกันตัวจากนักล่า เนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ดูแลลูกอ่อน ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยจะต้องจับปลามาจากแหล่งกำเนิดในทะเล จัดว่าเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายชนิดหนึ่ง สามารถฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ไม่ยาก โดยต้องทำการเลี้ยงในตู้ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 นิ้วขึ้นไป เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งพฤติกรรมในที่เลี้ยง ปลาสินสมุทรจักรพรรดิเป็นปลาที่มีความก้าวร้าวต่อปลาชนิดเดียวกันหรือวงศ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน แต่มีความสุภาพต่อปลาในวงศ์อื่น ๆ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในอ่าวไทยหรือด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีความแตกต่างปลาสินสมุทรจักรพรรดิที่พบในทะเลอันดามัน หรือ มหาสมุทรอินเดีย คือ ไม่มี "เปีย" หรือชายครีบบนที่ยื่นยาวออกมาเป็นเส้นคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีเปียยื่นยาวออกมาจะมีราคาซื้อขายที่แพงกว่าพวกที่ไม่มี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาสินสมุทรจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสีขน

ปลาสีขน หรือ ปลาหางกิ่วหม้อ หรือ ปลากะมงตาแดง หรือ ปลากะมงตาโต (Bigeye trevally, Dusky jack, Great trevally) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีลำตัวค่อนข้างอ้วน ยาวเรียว หัวมีขนาดใหญ่และป้อม ปากกว้าง เกล็ดมีขนาดปานกลางบริเวณเส้นข้างลำตัวมีเกล็ดขนาดใหญ่แข็งคม โดยเฉพาะบริเวณโคนหาง ตามีขนาดใหญ่อยู่เกือบสุดปลายจะงอยปาก ครีบอกยาวเรียวแหลม ครีบหลังยาวแยกเป็นสองอัน อันที่เป็นก้านครีบแข็งสั้น อันอ่อนส่วนหน้ายกสูงขึ้นและมีขนาดใกล้เคียงกับครีบก้น ครีบท้องมีขนาดเล็กอยู่ใต้ครีบอก ครีบหางปลายเป็นแฉกลึก พื้นลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำเงินปนเขียว จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 120 เซนติเมตร หนัก 18 กิโลกรัม แต่ขนาดโดยเฉลี่ยราว 40-60 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตร้อน ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่แคลิฟอร์เนีย, เอกวาดอร์, แอฟริกาใต้, ญี่ปุ่นทางตอนเหนือ จนถึงออสเตรเลียด้วย สำหรับในน่านน้ำไทยจะพบชุกชุมบริเวณช่องเกาะคราม, แสมสาร, เกาะเต่า ในฝั่งอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามัน โดยมักจะอยู่รวมกันบางครั้งอาจพบได้ใต้โป๊ะ เป็นต้น และพบได้ถึงแหล่งน้ำจืด เป็นปลาที่มีรสชาติดี จึงนิยมบริโภคเป็นอาหาร และตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในน้ำจืด หรือน้ำกร่อย โดยเลี้ยงกันตั้งแต่ยังเล็ก ๆ เหมือนเช่นปลากะมงพร้าว (C. ignobilis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หน้า 123-128, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ คอลัมน์ Wild Ambition โดย ชวิน ตันพิทยคุปต์, กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาสีขน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอทะเล

ปลาหมอทะเล หรือ ปลาเก๋ามังกร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epinephelus lanceolatus ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับปลาชนิดอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน มีหัวค่อนข้างโต ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังมีก้านครีบแข็งอยู่ตอนหน้าตามด้วยก้านครีบแข็งและต่อด้วยครีบอ่อนเช่นเดียวกัน ครีบหางค่อนข้างใหญ่เป็นรูปกลมมน ลำตัวสีเทาอมดำ เมื่อยังเล็กอยู่ ตามลำตัวมีลายสีเหลืองสลับทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณครีบต่าง ๆ ปลาหมอทะเลเป็นปลาในวงศ์ปลากะรังที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 2.5 เมตร น้ำหนักหนักถึง 400 กิโลกรัม ถือเป็นปลาที่พบได้ในแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นปลากินเนื้อ มีพฤติกรรมกินอาหารโดยการฮุบกลืนเข้าไปทั้งตัว อาจจะกินปลาฉลามขนาดเล็กหรือเต่าทะเลวัยอ่อนได้ ฟันในปากมีขนาดเล็ก เป็นปลาที่สายตาไม่ดี ออกหากินในเวลากลางคืน แม้จะเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่แต่มีนิสัยไม่ดุร้าย เวลาขู่จะแสดงออกด้วยการพองครีบพองเหงือกคล้ายปลากัด ในธรรมชาติมักอาศัยอยู่ตามซากโป๊ะ หรือกองหินใต้น้ำ โดยว่ายน้ำไปมาอย่างเชื่องช้า หรือลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ พบในระดับความลึกตั้งแต่ 4–100 เมตร และยังชอบที่จะขุดหลุมคล้ายปลานิล พื้นหลุมแข็งบริเวณข้างหลุมเป็นเลนค่อนข้างหนา ปากหลุมกว้างประมาณ 50–100 เซนติเมตร สีเมื่อยังเป็นปลาวัยอ่อน พบอาศัยอยู่ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นในแถบอินโด-แปซิฟิก, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ จนถึงอ่าวเปอร์เซีย นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ เป็นปลาที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และด้วยความใหญ่โตของร่างกาย ปลาหมอทะเลจึงมักนิยมเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่หรือในอุโมงค์ของพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี เป็นต้น และนิยมเลี้ยงลูกปลาขนาดเล็กในน้ำจืดเหมือนปลาสวยงามทั่วไปด้วย แต่ทว่าก็จะเลี้ยงได้เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น เมื่อโตขึ้น หากยังเลี้ยงในน้ำจืดอยู่ ปลาก็จะตายในที่สุด นอกจากนี้แล้ว ทางกรมประมงยังได้เพาะขยายพันธุ์ลูกผสมระหว่างปลาหมอทะเลกับปลากะรังดอกแดง ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน ได้เป็นผลสำเร็จ โดยลูกปลาขนาดเล็กจะมีลวดลายคล้ายกับปลาเสือตอ ซึ่งเป็นปลาสวยงามน้ำจืดที่มีชื่อเสียง ที่อยู่ต่างวงศ์กัน จนได้รับการเรียกชื่อว่า "ปลาเสือตอทะเล" โดยปลาเสือตอทะเลนั้นได้นำมาเปิดตัวครั้งแรกในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 25 ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน–8 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาหมอทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอทะเล (สกุล)

ปลาหมอทะเล (Epinephelus) เป็นสกุลของปลาทะเลจำพวกหนึ่งในวงศ์ Serranidae นับเป็นปลาขนาดใหญ่ มีรูปร่างโดยรวม คือ ร่างยาวอ้วนป้อม แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็ก สีตามตัวและครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคล้ำทึบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด พบอาศัยอยู่ตามบริเวณแนวปะการัง โขดหินใกล้ชายฝั่งหรือเกาะ บางครั้งอาจพบว่ายเข้ามาหากินบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ด้วย ปลาหมอทะเลกระจายพันธุ์ในทะเลและมหาสมุทรเขตอบอุ่นทั่วโลก ทั้ง มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย มีจำนวนสมาชิกในสกุลนี้ราว 99 ชนิด นับว่ามากที่สุดในวงศ์นี้ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาหมอทะเล (E. lanceolatus) ที่ใหญ่ที่สุดได้เกือบ 3 เมตร และหนักได้ราว 200 กิโลกรัม สำหรับในภาษาไทยจะคุ้นเคยเรียกชื่อปลาในสกุลนี้เป็นอย่างดีในชื่อ "ปลาเก๋า" หรือ "ปลากะรัง".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาหมอทะเล (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางแข็ง

ปลาหางแข็ง หรือ ปลาแข้งไก่ (Torpedo scad, Hardtail scad, Finny scad, Finletted mackerel scad, Cordyla scad) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Megalaspis มีลำตัวเรียวยาวคล้ายกระสวย หัวค่อนข้างแหลมตากลมโต ปากกว้าง หางยาวเรียวและคอด บริเวณโคนหางมีเกล็ดแข็งที่มีลักษณะคล้ายขาไก่ หรือแข้งไก่ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังและครีบก้นมีครีบฝอย ครีบหูเรียวโค้งคล้ายเคียว ลำตัวสีน้ำเงินปนเขียว ด้านหลังมีสีเขียวเข้ม มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 40.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาหางแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออร์

ปลาออร์ หรือ ปลาริบบิ้น (Oarfish, King of herrings; 皇帶魚; พินอิน: huángdài yú) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Regalecus glesne อยู่ในวงศ์ Regalecidae มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับพญานาคตามความเชื่อของไทย หรือมังกรทะเลในความเชื่อในยุคกลางของชาวตะวันตก โดยมีความยาวได้สูงสุดยาวถึง 9 เมตร และหนัก 300 กิโลกรัม แต่ก็มีบันทึกไว้ในบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ด้วยว่า ปลาชนิดนี้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ยาวที่สุดในโลก โดยอาจยาวได้ถึง 11 เมตร ในขณะที่รายงานไม่ยืนยันอีกบางกระแสระบุว่าอาจยาวถึง 15 เมตร หรือกว่านั้น มีส่วนหัวที่ใหญ่ ลำตัวแบนสีเงิน มีจุดสีฟ้าและดำประปราย มีครีบหลังสีชมพูแดง บนหัวที่อวัยวะแลดูคล้ายหงอนเป็นจุดเด่น เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในท้องทะเลลึกระหว่าง 50–250 เมตร จึงพบเห็นได้ยากมาก แต่มีผู้พบเห็นกันเป็นระยะ ๆ ในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของออสเตรเลีย เรื่อยไปจนถึงทะเลนอกชายฝั่งเม็กซิโก และแถบหมู่เกาะเบอร์มิวดา ส่วนใหญ่มักถูกคลื่นซัดออกมาเกยหาด หรือไม่ก็เกิดอาการผิดปกติขึ้นกับปลา เช่น ป่วย หรือใกล้ตาย น้อยครั้งที่จะมีการพบเห็นขณะมีชีวิตอยู่ ภาพถ่ายของปลาออร์ ที่เคยเชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ประเทศลาว เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ไม่เป็นอันตรายและไม่ทำร้ายมนุษย์ แม้จะมีรายงานไม่ยืนยันจากนักวิจัยในนิวซีแลนด์ที่ระบุว่าถ้าหากแตะไปที่ตัวของมันขณะยังมีชีวิตอยู่จะปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาช็อตได้ ปลาออร์เมื่อปรากฏตัวขึ้นมามักจะปรากฏเป็นข่าวครึกโครมอยู่เป็นระยะ ๆ ว่าเป็นพญานาคหรือสัตว์ประหลาด อาทิ ในกลางปี ค.ศ. 1996 ได้ปรากฏภาพถ่ายใบหนึ่งของกลุ่มทหารชาวอเมริกันอุ้มปลาชนิดนี้ แพร่กระจายกันทั่วไปในสังคมไทย ทำให้เกิดความเชื่อว่า นั่นเป็นพญานาคที่จับได้จากแม่น้ำโขง และเชื่อว่า ภาพถ่ายนั้นถ่ายที่ค่ายทหารแห่งหนึ่งในประเทศลาวและถ่ายมานานแล้วกว่า 30 ปี ในยุคสงครามเวียดนาม แต่แท้จริงแล้วเป็นภาพที่ถ่ายในค่ายทหารที่เกาะโคโรนาโด รัฐแคลิฟอร์เนีย ในปีเดียวกันนั้นเอง และเป็นปลาที่อยู่จับได้ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินทรีทะเลสาบเขมร

ปลาอินทรีทะเลสาบเขมร (Chinese seerfish, Chinese mackerel; เขมร: ត្រីស្បៃកា, ត្រីបីកា) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถอาศัยในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) มีรูปร่างเพรียวยาว หัวแหลม ปากมีฟันแหลมคม ครีบหางเว้าลึก ครีบท้องและครีบหลังแหลมและมีรอยหยักไปจรดครีบหาง ชายครีบเป็นสีดำ ปลายครีบอกหรือครีบอกมนกลมไม่แหลม ลำตัวสีเทาเงินเหลือบเขียว ลำตัวไม่มีลวดลายหรือแต้มจุดเหมือนปลาอินทรีชนิดอื่น อาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่สหรัฐอเมริกาแถบชายฝั่งแปซิฟิก, ญี่ปุ่น, จีน, เวียดนาม และพบบางส่วนเข้ามาอาศัยในแหล่งน้ำจืด ที่ปากแม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมรด้วย โดยพบได้ตั้งแต่น้ำตกคอนพะเพ็งในลาวไปจนถึงจังหวัดกระแจะและพนมเปญในกัมพูชา ในประเทศไทยพบได้บ้างแถบจังหวัดจันทบุรี และมีการตกได้ที่เกาะราชาน้อย จังหวัดภูเก็ต เมื่อปลายเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาอินทรีทะเลสาบเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Copperband butterflyfish, Beak coralfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelmon rostratus ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลำตัวแบนข้าง ลบลำตัวมีสีขาวคาดด้วยแถบสีส้มจำนวน 4 แถบ โดย 2 แถบแรกมีขอบสีดำตัดบาง ๆ ทั้งด้านหน้าและหลัง ปลายครีบบนและครีบล่างเจือด้วยปื้นสีส้ม โคนหางมีจุดสีดำเล็ก ๆ และมีจุดสีดำขนาดใหญ่บริเวณโคนครีบบนหนึ่งจุด คล้ายตา เพื่อใช้หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นดวงตาจริง ๆ ในขณะที่ดวงตาแท้ ๆ มีแถบสีส้มคาดเพื่ออำพรางไม่ให้ดูเด่นกว่าจุดวงกลมสีดำนั้น ปากยื่นยาวและมีขนาดเล็กคล้ายหลอด ใช้สำหรับดูดกินหรือแทะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ที่อาศัยตามแนวปะการังที่หลบตามซอกหลีบได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินดอกไม้ทะเลแก้ว (Aiptasia spp.) ซึ่งเป็นดอกไม้ทะเลขนาดเล็กที่หนวดพิษสามารถทำร้ายปะการังได้ด้วย นับเป็นปลาที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในทะเลชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการังของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เช่น ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, หมู่เกาะริวกิว จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่ราคาไม่แพง เลี้ยงง่าย แต่ไม่อาจจะฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้เหมือนปลาผีเสื้อชนิดอื่น ๆ ซึ่งผู้เลี้ยงต้องให้กินอาหารสด เช่น ไรทะเลหรือเนื้อหอยชนิดต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นปลาที่ต้องรวบรวมมาจากแหล่งน้ำรรมชาติ ซึ่งในปลาขนาดกลางที่ไม่เล็กไปหรือใหญ่ไป ราว ๆ 2.5-3.5 นิ้ว เป็นขนาดที่กำลังพอดีที่จะนำมาเลี้ยง เพราะปลาจะปรับตัวให้เข้ากับตู้เลี้ยงได้ไม่ยากนัก ไม่ตื่นกลัวเหมือนปลาใหญ่หรืออ่อนแอเกินไปเหมือนปลาขนาดเล็ก อนึ่ง ปลาผีเสื้อนกกระจิบนั้น ในแวดวงของการดำน้ำยังมีการเรียกปนกับปลาผีเสื้อจมูกยาวในสกุลปลาผีเสื้อจมูกยาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาผีเสื้อจมูกยาวใหญ่ (Forcipiger longirostris) และปลาผีเสื้อจมูกยาวเหลือง (F. flavissimus) ซึ่งปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีสีสันที่แตกต่างออกจากปลาผีเสื้อนกกระจิบพอสมควร โดยมีสีเหลืองสดเป็นสีพื้นเป็นหลัก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาผีเสื้อนกกระจิบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Shortbodied pipefish, Ghost pipefish, Harlequin ghost pipefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Solenostomidae) มีจะงอยปากยาว ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย มีติ่งสั้น ๆ ทั่วทั้งตัว ครีบมีขนาดใหญ่ และมีขอบเป็นเส้นสั้น ๆ ลำตัวค่อนข้างใส มีสีสันหลากหลาย ทั้งสีแดง, ขาวสลับดำหรือเหลือบสีอื่น ๆ โดยปรับเปลี่ยนสีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัย มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 8 เซนติเมตร มักพบในแนวปะการังหรือกัลปังหาที่เขตน้ำลึก ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก มักลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ เพื่อแฝงตัวให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยกิน แพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนขนาดเล็ก เป็นอาหาร โดยเอาส่วนหัวทิ่มลงพื้น ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ มีพฤติกรรมการวางไข่ที่แตกต่างไปจากปลาชนิดอื่นในอันดับเดียวกัน คือ ตัวเมียจะเป็นฝ่ายอุ้มท้อง โดยใช้ครีบหน้าท้องขนาดใหญ่สองครีบไว้สำหรับโอบอุ้มไข่ที่ได้รับการผสม และอุ้มท้องพาไข่ติดตัวไปด้วยตลอดเวลาจนกว่าจะฟักออกเป็นตัว โดยมีปลาตัวผู้ที่มีขนาดเล็กกว่า คอยดูแลอยู่ตลอด ซึ่งถุงครีบใต้ท้องของแม่ปลานั้นจะคอยกระพือเปิดปิดเป็นระยะ ๆ เพื่อให้น้ำทะเลและออกซิเจนที่ผสมอยู่ในน้ำไหลเวียนถ่ายเท เพื่อให้ตัวอ่อนในไข่เจริญเติบโต ซึ่งสามารถมองเห็นเป็นไข่ลูกกลม ๆ ใส ๆ หรือบางครั้งก็สามารถมองเห็นดวงตาจุดดำ ๆ คู่โตในไข่ได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า ปลาจิ้มฟันจระเจ้ปีศาจ เป็นปลาที่พบได้น้อยมาก ในน่านน้ำไทยอาจพบได้ที่หมู่เกาะสิมิลัน ไม่จัดว่าเป็นปลามีความสำคัญทางเศรษฐกิจ และปัจจุบันได้มีการจับมาจากแหล่งธรรมชาติเพื่อขายเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้

ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ (Green ghost pipefish, Bluefinned ghost pipefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (Solenostomidae) มีจะงอยปากยาว ลำตัวแบนข้างเล็กน้อยคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ (S. paradoxus) แต่ตามตัวไม่มีติ่งเนื้อสั้น ๆ สามารถปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมได้ ทั้งสีน้ำตาล, น้ำตาลแดง หรือสีเขียว มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 15 เซนติเมตร พบว่าเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ พบกระจายพันธุ์ตามแนวปะการัง, กอหญ้าทะเล, ปะการังอ่อน หรือกัลปังหา กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก พบได้จนถึงอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้น้อยมาก โดยพบได้เฉพาะทะเลอันดามันเท่านั้น มีพฤติกรรมลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ อาศัยอยู่รวมกันเป็นคู่ กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว

ปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว หรือ ปลาจิ้มฟันจระเข้ท้องคม (Alligator pipefish, Horned pipefish, Twobarbel pipefish, Spiraltail pipefish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง จำพวกปลาจิ้มฟันจระเข้ (Syngnathinae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syngnathoides ลำตัวเป็นปล้อง 15-18 ปล้อง มีปล้องส่วนหาง 40-45 ปล้อง ทั้งสันส่วนบนและส่วนล่างต่อเนื่องกับสันของส่วนหางที่อยู่ในแนวเดียวกัน ส่วนท้ายของสันด้านข้างลำตัวโค้งขึ้นสู่ด้านหลังและสิ้นสุดใกล้กับฐานครีบหลัง ลำตัวแบนจากบนลงล่าง ส่วนกลางของลำตัวกว้างที่สุด ปลายหัวตามแนวกลางมีสันแข็งไม่สูงและขอบเรียบ สันแข็งบริเวณท้ายทอยมักมีหนามแหลม ๆ เล็ก ๆ บนขอบ จุดกำเนิดของครีบหลังอยู่ตรงปล้องลำตัว ไม่มีครีบหาง ปลายหางสามารถม้วนงอได้ มีสีลำตัวสีเขียวจนถึงสีน้ำตาลหรือสีเทา และมีแต้มสีเข้มที่ไม่แน่นอนตางกันไปตามแต่ละตัว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามกอสาหร่ายและหญ้าทะเล โดยมักจะเอาส่วนหางเกาะเกี่ยวกับใบของพืชเหล่านี้ไม่ให้ไหลไปกับกระแสน้ำ แล้วตั้งตัวเป็นมุมฉากเพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูผู้ล่าและดักจับแพลงก์ตอนสัตว์กินเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปัจจุบัน เป็นปลาที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามตามตู้ปลาหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาจิ้มฟันจระเข้เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ

ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ หรือ ปลาทูน่ายักษ์ (Northern bluefin tuna, Atlantic bluefin tuna, Giant blufin tuna; タイセイヨウクロマグロ) ปลาทะเลกระดูกแข็งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอหรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรเขตอบอุ่นระหว่างละติจูดที่ 5-50 องศาเหนือ สามารถอยู่อาศัยบริเวณผิวน้ำในระยะอุณหภูมิกว้างมากพบการแพร่กระจายบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกฝั่งตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก มีลักษณะพิเศษที่เห็นได้เด่นชัดคือ ความกว้างที่สุดของลำตัวปลาอยู่ทางตอนต้นของครีบหลังอันที่หนึ่ง ตัวค่อนข้างอ้วนสั้น หัวโต ตาโต ครีบหลังแยกออกเป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ที่คอดหางมีสีดำ มีขนาดความยาวที่สุดมากกว่า 300 เซนติเมตร แต่ที่พบทั่วไปมีขนาด 200 เซนติเมตร โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่บันทึกได้ คือ ยาว 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม มีอายุยืนยาวกว่า 30 ปี และเป็นสัตว์เลือดอุ่น เพราะร่างกายมีระบบปรับอุณหภูมิอย่างยอดเยี่ยม สามารถดูดซึมออกซิเจนไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสูง มีกลไกการทำงานของหัวใจที่ยอดเยี่ยม จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ นั้นเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับปลาทูน่าชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น เป็นปลาที่ชาวญี่ปุ่นทำการประมงมานานกว่า 5,000 ปี โดยชาวพื้นเมืองชาวไฮดาในแถบแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือหน้า 18 เรื่องเล่าจากต่างแดน, ราชาแห่งมัจฉ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทูน่าเขี้ยวหมา

ปลาทูน่าเขี้ยวหมา หรือ ปลาโอฟันหมา (Dogtooth tuna, Scaleless tuna) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) จัดเป็นปลาโอ หรือปลาทูน่าชนิดหนึ่ง ที่มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Gymnosarda มีรูปร่างเพรียวยาวเป็นทรงกระสวยหรือตอร์ปิโดป้อม ครีบหลังตอนท้ายคล้ายกับของปลาทู ครีบหางเว้าลึก โคนครีบมีสันเล็ก ๆ ผิวเรียบ บริเวณครีบอกมีแถบเกล็ดหนา ครีบอกมีขนาดเล็ก ลำตัวสีเงินอมฟ้า มีลายเส้นสีคล้ำที่ด้านท้าย ด้านท้องสีจาง ครีบสีคล้ำ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร โตเต็มที่ได้ถึง 160 เซนติเมตร หรือ 1.6 เมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่ลำพังเพียงตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในระดับกลางน้ำในทะเลเปิดในแนวปะการังที่ค่อนข้างลึก หรือข้างเกาะ พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่พบได้น้อย นิยมตกเป็นเกมกีฬา และบริโภคเป็นปลาเศรษฐก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาทูน่าเขี้ยวหมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะกรับห้าแถบ

ปลาตะกรับห้าแถบ หรือ ปลาสลิดหินลายบั้ง หรือ ปลาตะกรับเขียวเหลืองหรือปลานายสิบอินโดแปซิฟิก (Indo-Pacific sergeant) เป็นปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาตะกรับห้าแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะคอง

ระวังสับสนกับ: ปลาตะคองจุดเหลือง ปลาตะคอง หรือ ปลาตะคองเหลือง หรือ ปลาทูทอง (Golden trevally, Golden toothless trevally, Yellow jack) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Gnathanodon มีลำตัวด้านข้างแบนข้างมาก ลักษณะลำตัวค่อนไปทางยาวแบนคล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เกล็ดมีขนาดเล็ก ใต้ท้องไม่มีเกล็ด ในปลาวัยอ่อนมีสีเหลืองทอง มีแถบสีดำเล็ก ๆ พาดตามแนวตั้ง ซึ่งจะค่อย ๆ ลดจำนวนและจางลงเมื่อปลาโตขึ้น หัวมีลักษณะกลมป้าน จะงอยปากกลมมน ปากกว้าง ไม่มีฟัน ครีบทุกครีบเป็นสีเหลือง ปลายครีบสีดำ ขนาดโดยทั่วไปประมาณ 50–70 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 120 เซนติเมตร อาศัยอยู่เป็นฝูงในแนวปะการังและกองหิน พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งแต่ชายฝั่งแคลิฟอร์เนียจนถึงเอกวาดอร์, มหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ตลอดจนการเลี้ยงดูไว้ดูเล่นตามบ้าน โดยเฉพาะในลูกปลาที่มีแถบสีดำ เพราะมีสีสันสวยงามและมีความแวววาวบนลำตัว อีกทั้งสามารถเลี้ยงในน้ำที่มีสภาพเป็นน้ำกร่อย ที่มีปริมาณความเค็มต่ำได้ โดยจัดเป็นปลาน้ำกร่อยที่เลี้ยงได้ง่ายมากอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาตะคอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเหลือก

ปลาตาเหลือก หรือ ปลาตาเหลือกสั้น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Megalops cyprinoides; Indo-Pacific tarpon, Pacific tarpon, Oxeye) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อยู่ในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) มีรูปร่างป้อม ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น และมีก้านครีบหลังอันสุดท้ายยื่นยาวเป็นเส้น เกล็ดเป็นสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต จึงเป็นที่มาของชื่อ ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1.5 เมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 15 กิโลกรัม อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบทะเลแดง ชายฝั่งทวีปแอฟริกาและเอเชีย และยังสามารถปรับตัวให้อยู่น้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ด้วย โดยบางครั้งพบว่ายเข้ามาในลำคลองที่ติดกับทะเลหรือนากุ้ง นาเกลือของชาวบ้าน ปลาจะผสมพันธุ์ วางไข่ และลูกปลาวัยอ่อนจะเติบโตที่บริเวณปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน เป็นปลากินเนื้อ อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้งขนาดเล็ก นิยมตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย มีชื่อเรียกแตกต่างไปอีกเช่น "ข้าวเหนียวบูด" ภาษาใต้เรียก "เดือน" และภาษายาวีเรียก "บุหลัน" ซึ่งหมายถึง "ดวงจันทร์" เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น

ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น (Shortspine spurdog, Green-eye spurdog) เป็นปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาฉลามน้ำลึก (Squalidae) ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้นเป็นปลาฉลามที่มีขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่มีขนาดไม่เกิน 1 เมตร มีลักษณะเด่น คือ ครีบหลังมีก้านครีบที่เป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ ปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น เป็นปลาที่หาอาศัยและหากินบริเวณหน้าดินที่เป็นโขดหินในจุดที่ลึกมากถึง 950 เมตร แต่ส่วนใหญ่จะพบในความลึกประมาณ 100-700 เมตร เช่น ไหล่ทวีป แต่บางครั้งอาจพบได้ที่บริเวณชายฝั่ง แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย จนถึงตอนใต้ของออสเตรเลีย ในเขตน่านน้ำไทยจะพบได้ในทะเลอันดามัน ในบริเวณไหล่ทวีปที่ลึกประมาณ 90 เมตร เป็นปลาที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร สามารถจับได้ด้วยอุปกรณ์ประมงแบบน้ำลึก และใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้ เช่น ทำน้ำมันปลา และผิวหนังนำไปทำเป็นกระดาษทร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามหลังหนามหนามสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบขาว

ปลาฉลามครีบขาว (Whitetip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Triaenodon มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับปลาฉลามในวงศ์เดียวกันนี้ รูปร่างเพรียวยาว แต่มีส่วนหัวที่แบนราบกว่า ตาโต มีจุดเด่นอยู่ที่ปลายครีบมีแต้มสีขาวที่ครีบหลังและครีบหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.6 เมตร น้ำหนักราว 18 กิโลกรัม ถือเป็นปลาฉลามขนาดเล็ก มีพฤติกรรมชอบอยู่ลำพังตัวเดียว หรือบางครั้งจะพบได้เป็นฝูง โดยอาจพบได้มากกว่า 30-40 ตัว โดยมากมักจะอาศัยและหากินบริเวณพื้นน้ำในเวลากลางคืน ในช่วงกลางวันจะพักผ่อน อาหารโดยมาก ได้แก่ กุ้ง, หอย, ปู, หมึกยักษ์ และปลาขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ โดยปลาฉลามครีบขาวมีความพิเศษต่างจากปลาจำพวกอื่น ๆ คือ การที่มีส่วนหัวที่แบนราบและลำตัวที่เพรียวยาวคล้ายปลาไหล ทำให้สามารถซอกซอนไปในโขดหินหรือแนวปะการังเพื่อหาอาหารได้ ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 3-5 ตัว ตั้งท้องราว 1 ปี มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 25 ปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5 ปี พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในน่านน้ำไทยจะพบได้ที่บริเวณหมู่เกาะสิมิลัน จัดเป็นปลาฉลามที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ และครีบสามารถนำไปทำเป็นหูฉลามได้เหมือนกับปลาฉลามชนิดอื่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามครีบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบเงิน

ปลาฉลามครีบเงิน (Silvertip shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 เมตร มีลักษณะคล้ายกับปลาฉลามครีบดำ (C. melanopterus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน เพียงแต่มีปลายครีบต่าง ๆ เป็นสีขาวหรือสีเงิน อันเป็นที่มาของชื่อ ลูกปลาแรกเกิดมีความยาวประมาณ 50-80 เซนติเมตร ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 5-6 ตัว ลูกปลาจะหากินในเขตน้ำตื้น เมื่อเติบใหญ่ขึ้นจะลงไปหากินบริเวณที่ลึก ประมาณ 40 เมตร หรือมากกว่า เคยมีรายงานว่าสามารถลงไปได้ลึกถึง 400 เมตร อาหารส่วนที่กิน ได้แก่ ปลาชนิดต่าง ๆ เช่น ปลานกกระจอก, ปลาลิ้นหมา, ปลากระเบนนก, ปลาทูน่า, ปลาปักเป้า, ปลานกแก้ว และหมึกสาย เป็นต้น มีถิ่นหากินในระยะไม่เกิน 2-5 กิโลเมตร พบกระจายพันธุ์ตามแนวปะการังและชายฝั่งของเขตร้อนและเขตอบอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ในน่านน้ำไทยจะหาได้ยาก พบได้ที่บริเวณหมู่เกาะสิมิลัน, เกาะตาชัย หรือบริเวณกองหินที่ห่างไกลจากชายฝั่ง จัดเป็นปลาฉลามอีกชนิดหนึ่ง ที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนัก จึงเป็นที่ชื่นชอบของบรรดานักดำน้ำอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามครีบเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามแซลมอน

ปลาฉลามแซลมอน (lamma ditropis) เป็นสายพันธุ์ของอันดับปลาฉลามขาวพบได้ในภาคเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ปลาฉลามแซลมอนมักชอบล่า ปลาแซลมอน,หมึกกล้วย,ปลาหิมะและปลาอื่นๆปลาฉลามแซลมอนยังมีความสามารถในการรักษาอุณหภูมิร่างกาย (homeothermy).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามแซลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเสือ

ปลาฉลามเสือ (Tiger shark) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกฉลาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galeocerdo cuvier ในวงศ์ Carcharhinidae เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Galeocerdo.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเสือดาว

ำหรับปลาฉลามเสือดาวอีกชนิดหนึ่ง ดูที่ ปลาฉลามเสือดาว (''Triakis semifasciata'') ปลาฉลามเสือดาว (Leopard shark, Zebra shark, Leppard shark) ปลาฉลามชนิดหนึ่งที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stegostoma fasciatum อยู่ในวงศ์ Stegostomatidae และถือเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุล Stegostoma ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาที่มีครีบหางยาวมาก มีส่วนหัวมนกลมสั้นทู่ พื้นลำตัวสีเหลืองสลับลายจุดสีดำคล้ายลายของเสือดาว ยกเว้นส่วนหัวและหาง จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ เมื่อยังเล็กอยู่ ลายบนลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลดำคาดขาวคล้ายลายของม้าลาย บนลำตัวมีสันเป็นเหลี่ยมด้านละสองสัน ผิวหนังหยาบเป็นเม็ด เป็นปลาที่มีไม่มีฟันแหลมคมเหมือนปลาฉลามชนิดอื่น ๆ มีอุปนิสัยชอบนอนอยู่นิ่ง ๆ บนพื้นทรายและแนวปะการังใต้ทะเล ในความลึกตั้งแต่ 5-30 เมตร โดยพบในทะเลบริเวณแถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย โดยใช้เวลาในช่วงกลางวันนอน กลางคืนออกหากิน อาหารได้แก่ สัตว์มีกระดอง และสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เมื่อถูกรบกวนจะว่ายหนีไป โดยใช้อวัยวะคล้ายหนวดที่อยู่รอบ ๆ ปลายส่วนหัวซึ่งเป็นอวัยวะใช้รับสัมผัสในการนำทางและหาอาหาร ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 3 เมตร ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาฉลามที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ในเขตน้ำตื้น ลูกปลาขนาดเล็กอาจจะเข้าไปอยู่ในบริเวณน้ำกร่อยหรือน้ำจืด แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำได้ เมื่อโตขึ้นจึงค่อยย้ายลงสู่ทะเลลึก ดังนั้นลูกปลาขนาดเล็กจึงมักติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมงอยู่บ่อย ๆ ซึ่งในทางประมงแล้ว ปลาฉลามชนิดนี้ไม่จัดว่าเป็นปลาที่ใช้ในการบริโภคแต่อย่างใด นอกจากนี้แล้วยังเป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และมักพบเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉลามเสือดาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากฟันเล็ก

ปลาฉนากฟันเล็ก (Smalltooth sawfish) เป็นปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristis pectinata อยู่ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป มีจะงอยปากมีความยาวประมาณ 1/4 ของขนาดลำตัวและหาง มีรูปทรงที่แคบและยาวเมื่อเทียบกับฉนากชนิดอื่น ๆ มีซี่ฟัน 21-34 คู่ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 7.6 เมตร ขนาดเมื่อแรกเกิด 60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวาง ตั้งแต่บริเวณชายฝั่งของทวีปอเมริกาเหนือ ไปจนถึงทวีปอเมริกาใต้, ประเทศบราซิล, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อย หรือน้ำจืดได้ โดยมีรายงานพบที่ทะเลสาบขนาดใหญ่ที่สหรัฐอเมริกา นอกจากนี้แล้วยังมีรายงานว่า ฉนากฟันเล็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวใส่ปลาฉลามที่ร่วมตู้เดียวกัน ในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉนากฟันเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากเขียว

ปลาฉนากเขียว (Green sawfish, Longcomb sawfish, Narrowsnout sawfish) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristis zijsron ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) มีรูปร่างคล้ายปลาฉนากจะงอยปากกว้าง หรือ ปลาฉนากน้ำจืด (P. microdon) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีจะงอยปากที่ยาวเป็น 1/3 ของความยาวลำตัวและหาง มีซี่ฟันทั้งหมด 24-34 คู่ ครีบหลังอันแรกคู่หลังครีบอก ครีบหางท่อนบนมีขนาดใหญ่ ขนาดโตเต็มที่ได้ 7.3 เมตร พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย, แอฟริกาตะวันออก, มหาสมุทรแปซิฟิคตอนใต้,ทะเลจีนใต้, ปาปัวนิวกินี และตอนเหนือและรัฐนิวเซาท์เวลส์ของประเทศออสเตรเลีย ในบริเวณน้ำขุ่นหรือดินเลน เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อย หรือน้ำจืดสนิทได้ ลูกปลาวัยอ่อนซี่ฟันจะไม่แข็งเหมือนปลาวัยโต และจะแข็งขึ้นเรื่อย ๆ ตามวั.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาฉนากเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าหน้าหมา

ปลาปักเป้าหน้าหมา (Blackspotted puffer, Dog-faced puffer, Brown puffer) เป็นปลาปักเป้าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arothron nigropunctatus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลำตัวสีน้ำตาลเทา มีจุดสีดำกระจัดกระจายอยู่ทั่วลำตัว มีแต้มสีเข้มรอบ ๆ ปาก จะงอยปากยื่นยาวออกมาดูคล้ายปากของสุนัขหรือหมา อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 33 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ได้กว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก จัดเป็นปลาปักเป้าที่เคลื่อนไหวได้อย่างว่องไวและไม่ค่อยจะอยู่นิ่ง อาหารหลักของปลาปักเป้าหน้าหมา มิใช่ครัสเตเชียนหรือหอยเหมือนปลาปักเป้าจำพวกอื่น แต่เป็นปะการังในสกุลปะการังเขากวาง (Acropora spp.) สาหร่ายและฟองน้ำชนิดต่าง ๆ เป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าว แต่กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำอย่างอื่นเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามตามบ้านเรือนทั่วไปหรือในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ โดยปกติแล้ว ปลาปักเป้าชนิดนี้มีสีเทา แต่บางตัวจะมีสีที่แปลกไป คือ สีเหลือง ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาปักเป้าทอง" ซึ่งสีเหลืองนี้จะมีมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันออกไป บางตัวยังมีสีขาวปะปนอยู่เป็นปื้น ๆ อีกด้วย ลักษณะการผิดเพี้ยนของสีสันนี้เป็นลักษณะที่พบได้น้อย ทำให้ปลาปักเป้าหน้าหมาลักษณะนี้มีราคาซื้อขายกันสูงในตลาดค้าปลาสวยงาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาปักเป้าหน้าหมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากแตร

ปลาปากแตร (Painted flute mouth, Chinese trumpetfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาปากแตร (Aulostomidae) มีลำตัวยาว มีปากยาวและใหญ่ ครีบหางรูปพลั่วมีจุดสีดำขนาดเล็ก 2 จุด ตอนปลายไม่มีแส้ยื่นยาวออกไป สีลำตัวมีหลากหลายทั้งสีเหลืองและสีเทาอ่อน มีความยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร แต่พบโดยเฉลี่ย 60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบอินโด-แปซิฟิก พบตั้งแต่ฮาวาย, แอฟริกาตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น อาศัยอยู่บริเวณแนวปะการังที่มีน้ำค่อนข้างใส เช่น บริเวณหมู่เกาะที่อยู่ห่างจากชายฝั่ง กินกุ้งและปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร ล่าเหยื่อโดยการว่ายน้ำตัวแนบติดไปกับปลาอื่น เช่น ปลาเก๋า เพื่อเข้าใกล้เหยื่อ ในเวลากลางคืน พบได้ที่ระดับความลึกตั้งแต่ 3 เมตร จนถึงความลึกมากกว่า 100 เมตร ไม่ได้ใช้เป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีความสำคัญในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ เกาะยาง, เกาะราวี จังหวัดสตูล เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลานโปเลียน

ปลานโปเลียน หรือ ปลานกขุนทองหัวโหนก (Napoleonfish, Humphead wrasse, Mauri wrase) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cheilinus undulatus จัดอยู่ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลานโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเหลือง

ปลาแพะเหลือง (Sunrise goatfish, Sulphur goatfish) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีลำตัวยาวเล็กน้อย คางมีหนวดเรียวยาว 2 เส้น ปากบนและปากล่างมีแถบของฟันซี่เล็ก บนเพดานปากด้านข้างแต่ละข้างมีฟันหนึ่งแถบ และแนวกลางเพดานปากส่วนหน้ามีฟัน 2 หย่อมเล็ก ๆ ช่องระหว่างครีบหลังทั้ง 2 อันมีเกล็ดคั่นกลาง 5 1/2 เกล็ด แนวของคอดหางมีเกล็ด 12-13 เกล็ด ด้านหลังมีสีเขียวออกเงินหรือชมพู และกลายเป็นสีเงินบริเวณด้านข้างและท้อง ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองทองหรือส้ม 2 แถบ พาดตามแนวยาวลำตัว เป็นลักษณะเด่น ขอบปลายสุดของครีบหลังอันแรกเป็นสีดำ ส่วนที่เหลือเป็นสีเหลืองคล้ำ 2 แถบ ขอบท้ายของครีบหางเป็นสีคล้ำ หนวดสีขาว มีความยาวโดยเฉลี่ย 20 เซนติเมตร ยาวที่สุด 23 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่งที่เป็นพื้นโคลน และอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อย ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิคฝั่งตะวันตก มีการประมงบ้าง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาแพะเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนชินูก

ปลาแซลมอนชินูก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oncorhynchus tshawytscha) เป็นสปีชีส์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสกุลปลาแซลมอนแปซิฟิก ตั้งชื่อตามชาวชินูก ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่เคยอาศัยอยู่ชายฝั่งแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ปลาแซลมอนชินูกยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก คือ คิงแซลมอน, ปลาแซลมอนควินแนต และ ปลาแซลมอนใบไม้ผลิ ปลาแซลมอนชินูกเป็นปลาน้ำกร่อยซึ่งกระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ตลอดจนเครือข่ายแม่น้ำในภาคตะวันตกของอเมริกาเหนือ ตั้งแต่รัฐแคลิฟอร์เนียไปจนถึงรัฐอะแลสกา และยังกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชียบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่นไปจนถึงบริเวณทะเลไซบีเรียตะวันออกของรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ปลาสายพันธุ์นี้ก็ยังพบได้ในส่วนอื่น ๆ ของโลกได้เช่นกัน อาทิในนิวซีแลนด์, ภูมิภาคปาตาโกเนีย เป็นต้น ปลาแซลมอนชินูกถือเป็นปลาเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง และมีกรดไขมันโอเมกา-3 ในปริมาณที่สูงซึ่งเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ผลิตปลาแซลมอนชินูกได้มากที่สุดโดยทำตลาดในชื่อว่า "คิงแซลมอน" ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาแซลมอนชินูก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนซ็อกอาย

ปลาแซลมอนซ็อกอาย หรือ ปลาแซลมอนแดง (Sockeye salmon, Red salmon, Blueback salmon) เป็นปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน พบในตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกและแม่น้ำที่ไหลสู่บริเวณดังกล่าว และพบประชากรจำนวนหนึ่งในแหล่งน้ำบนแผ่นดินซึ่งไม่ไหลออกสู่ทะเล โดยรู้จักกันในชื่อ kokanee หรือ "ปลาเทราต์สีเงิน" ปลาแซลมอนแดงเป็นปลาในสกุลปลาแซลมอนแปซิฟิกที่พบได้มากเป็นอันดับสามรองจากปลาแซลมอนสีชมพู (O. gorbuscha) และปลาแซลมอนชัม (O. keta) โดยที่คำว่าชื่อ "Sockeye" แผลงมาจาก suk-kegh ซึ่งเป็นชื่อในภาษาแฮลโคเมเลม ซึ่งเป็นภาษาของชนพื้นเมืองที่อาศัยตามแนวแม่น้ำเฟรเซอร์ตอนล่าง โดยคำว่า Suk-kegh หมายถึง "ปลาสีแดง" เนื่องจากปลาแซลมอนซ็อกอายตัวผู้ จะเปลี่ยนสีลำตัวเป็นสีแดงเข้มและส่วนหัวมีโหนกในฤดูผสมพัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาแซลมอนซ็อกอาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแปซิฟิก

ปลาแซลมอนแปซิฟิก (Pacific salmon) เป็นสกุลของปลาเศรษฐกิจสกุลหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน ใช้ชื่อสกุลว่า Oncorhynchus จัดอยู่ในวงศ์ Salmonidae อันดับ Salmoniformes โดยที่คำว่า Oncorhynchus มาจากภาษากรีกคำว่า nkos หมายถึง "ตะขอ" และ rynchos หมายถึง "จมูก" ซึ่งมาจากการที่ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้ม และมีส่วนปลายปาก (จมูก) งองุ้มเป็นดั้งขอ เป็นปลาแซลมอนที่กระจายพันธุ์อยู่ในตอนเหนือของแคลิฟอร์เนียตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก พบได้ตั้งแต่อาร์กติก, อลาสกา, ทะเลเบริง, สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก จนถึงญี่ปุ่น เป็นปลาที่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เป็นปลาที่ต้องการแหล่งน้ำที่สะอาด มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง น้ำมีอุณหภูมิเย็นและไหลแรงซึ่งมักพบตามปากแม่น้ำต่าง ๆ ขณะที่ปลาเมื่ออยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรก็มักจะว่ายตามผิวน้ำ และเช่นเดียวกับปลาแซลมอนสกุลและชนิดอื่น ๆ ที่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ จะว่ายกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืด อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม แม้จะไกลแค่ไหนก็ตาม โดยแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการวางไข่และเติบโตต่างกัน บางชนิดลูกปลาอาจใช้เวลา 5-7 เดือน ขณะที่บางชนิดอาจต้องใช้เวลานานถึง 1 ปี ในการอาศัยในแหล่งน้ำจืด จึงจะว่ายกลับไปยังทะเล และใช้ระยะเวลาการเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 2-4 ปี แต่ทั้งหมดก็ต้องอาศัยการวางไข่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเหมือนกัน เป็นปลาแซลมอนที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ที่เป็นชนิดที่สำคัญ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาแซลมอนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันหัวเสียม

ปลาโรนันหัวเสียม (Shovelnose guitarfish) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาโรนัน (Rhinobatidae) จัดเป็นปลาโรนันขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 1.5 เมตร มีรูปร่างเหมือนปลาโรนันจุดขาว (Rhynchobatus djiddensis) แต่มีขนาดเล็กกว่าและไม่มีจุดสีขาว เป็นปลาโรนันที่พบกระจายอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่บริเวณอ่าวเม็กซิโก, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, มหาสมุทรแปซิฟิคทางตะวันออก ตลอดจนน่านน้ำในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยจัดเป็น ปลาโรนัน 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้บ่อย (อีก 2 ชนิด คือ ปลาโรนันจุดขาว และปลาโรนิน (Rhina ancylostoma)) แต่เป็นชนิดที่พบได้น้อยกว่าปลาโรนันจุดขาวมาก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาโรนันหัวเสียม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันจุดขาว

ปลาโรนันจุดขาว (Spotted guitarfish, Giant guitarfish) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกปลาโรนันยักษ์ (Rhynchobatidae) มีส่วนหัวแบนราบคล้ายปลากระเบน และเป็นทรงแหลมคล้ายหัวหอก ครีบหูขนาดใหญ่ ปาก และช่องเปิดเหงือกอยู่ด้านล่าง ครึ่งหลังคล้ายปลาฉลาม เพราะลำตัวส่วนนี้ค่อนข้างกลมมีครีบหลังสองอัน และมีแพนหางเหมือนปลาฉลาม พื้นลำตัวสีเขียว มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วลำตัว ปลาโรนันจุดขาว มีความยาวประมาณ 60–180 เซนติเมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร น้ำหนัก 227 กิโลกรัม จัดว่าเป็นปลาโรนันชนิดที่ใหญ่ที่สุด พบได้ตามพื้นทะเลบริเวณชายฝั่ง ของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิค, ตอนใต้ของทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำตื้นมากกว่าน้ำลึก รวมทั้งบางครั้งอาจเข้าไปในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดบริเวณปากแม่น้ำได้ด้วย หากินอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดิน เช่น ปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำมีเปลือกชนิดต่าง ๆ ปลาโรนันจุดขาว ไม่จัดว่าเป็นปลาเศรษฐกิจโดยตรง แต่ในบางครั้งก็ติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมง จึงเจอมีขายเป็นปลาบริโภคในตลาดปลาริมทะเลบางตลาดเป็นบางครั้งบางคราว สถานภาพปัจจุบัน เป็นสัตว์ที่มีแนวโน้มใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาโรนันจุดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีครีบสั้น

ปลาโนรีครีบสั้น หรือ ปลาโนรีหลังเหลือง (Singular bannerfish, Philippine kabubu) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus singularius ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออกเหลืองเข้มกว่า มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบในความลึกประมาณ 2-40 เมตร ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ หมู่เกาะอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น และนิวแคลิโดเนีย เป็นต้น เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาโนรีครีบสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลญี่ปุ่น

ปลาไหลญี่ปุ่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Anguilla japonica) เป็นปลาไหลชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตูหนา (Anguillidae) พบในญี่ปุ่น, เกาหลี, จีน, ไต้หวัน และเวียดนาม ตลอดจนแถบภาคเหนือของฟิลิปปินส์ เช่นเดียวกับปลาไหลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ปลาไหลญี่ปุ่นใช้ชีวิตอยู่ในน้ำจืดเป็นส่วนใหญ่แต่จะไปวางไข่ในน้ำทะเล พื้นที่วางไข่ของปลาไหลญี่ปุ่นคือบริเวณกระแสน้ำศูนย์สูตรเหนือทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกไปจนถึงแถบตะวันตกของหมู่เกาะมาเรียนา ในขณะที่ยังเป็นตัวอ่อน พวกมันจะถูกเรียกว่าปลาเมือก พวกมันจะถูกพัดพาโดยกระแสน้ำเส้นศูนย์สูตรเหนือไปทางตะวันตกของแปซิฟิก ต่อจากนั้นก็จะถูกพัดขึ้นทางเหนือไปยังเอเชียตะวันออกโดยกระแสน้ำญี่ปุ่น (คูโรชิโอะ) ซึ่งในเอเชียตะวันออกนี้เอง พวกมันอาศัยอยู่ตามแม่น้ำ, ทะเลสาบ และปากแม่น้ำ ปลาไหลญี่ปุ่นถือเป็นอาหารที่สำคัญของเอเชียตะวันออก ทำให้เกิดเป็นอุตสาหกรรมประมงบ่อเลี้ยงปลาขึ้นในประเทศส่วนใหญ่ของภูมิภาคนี้ ในญี่ปุ่นจะเรียกปลาชนิดนี้ว่า อูนางิ ถือเป็นวัตถุดิบสำคัญในวัฒนธรรมอาหารของญี่ปุ่น ร้านอาหารจำนวนมากนิยมเสิร์ฟโดยการย่าง กลายเป็นอาหารที่เรียกว่า คาบายากิ (蒲焼) นอกจากนี้ยังถูกใช้ในศาสตร์การแพทย์ของจีนอีกด้วย อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการทำประมงปลาชนิดนี้อย่างมหาศาล แต่จำนวนที่พบในธรรมชาติกลับลดน้อยลงจนเข้าสู่ภาวะเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์ ตามการจัดอันดับของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN), FAO.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาไหลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว

ปลาไหลมอเรย์ตาขาว หรือ ปลาหลดหินตาขาว (White-eyed moray, Slender moray, Greyface moray) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลมอเรย์ยักษ์ (G. javanicus) แต่มีลำตัวเรียวกว่า ฟันเขี้ยวเล็กกว่า ผิวหนังเรียบ ลำตัวสีเหลืองอ่อนถึงเหลืองสด มีจุดด่างสีคล้ำหรือน้ำตาลเข้มกระจายทั่วลำตัว ใต้ท้องและใต้คอมีสีจาง มีม่านตาสีขาวชัดเจน ตาสีดำ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 80 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ในซอกหินตามแนวปะการังเป็นคู่ ซึ่งอาจจะอยู่รวมกับปลาไหลมอเรย์ชนิดอื่นได้ ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาไหลมอเรย์ตาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลริบบิ้น

ปลาไหลริบบิ้น (Ribbon eel, Black leafnosed moray eel, Black ribbon eel, Ribbon moray) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae) และจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinomuraena จัดเป็นปลาไหลมอเรย์ขนาดเล็ก มีสีสันสดใส และสามารถเปลี่ยนเพศได้ตามวัย นั้นคือเมื่อยังเล็ก ลำตัวเป็นสีดำ โดยที่ไม่สามารถรู้ได้ว่าเป็นตัวผู้หรือตัวเมีย แต่เมื่อโตขึ้นลำตัวเป็นสีน้ำเงินและเป็นตัวผู้และเมื่อมีอายุมากขึ้นอีกลำตัวเป็นสีเหลืองและกลายเป็นตัวเมีย กินสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร โดยปลาไหลจะยืดตัวออกจากรูเพื่อหาอาหาร โดยปกติจะซ่อนตัวอยู่ในรูตามพื้นทะเล ซึ่งเป็นทราย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร เป็นปลาที่พบได้น้อย กระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยก็พบได้น้อย โดยพบได้ทั้งทางฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย เช่น เกาะเต่า, หมู่เกาะสิมิลัน เป็นต้น เป็นปลาที่สร้างสีสันให้แก่การดำน้ำ และมีบางส่วนที่ถูกจับไปขายเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาไหลริบบิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์

ปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์ (New Zealand longfin eel; เมารี: Tuna) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกปลาตูหนา (Anguillidae) ปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์ เป็นปลาตูหนาขนาดใหญ่ มีลักษณะที่แตกต่างจากปลาตูหนาชนิดอื่น ๆ จากครีบหลังที่ยาวกว่าครีบท้อง มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 180 เซนติเมตร น้ำหนักกว่า 18 กิโลกรัม โดยตัวที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลกเป็นตัวเมียอายุกว่า 106 ปี น้ำหนักกว่า 24 กิโลกรัม เป็นปลาที่กระจายพันธุ์เฉพาะในแหล่งน้ำจืด ตามแม่น้ำ ลำธาร และทะเลสาบต่าง ๆ ของนิวซีแลนด์ ทั้งเกาะเหนือ และเกาะใต้ จัดเป็นปลาที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าที่สุดด้วย โดยในช่วงปีแรกลูกปลาจะมีความยาวเพียง 1-2 เซนติเมตรเท่านั้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นปลาที่มีการผสมพันธุ์เพียงครั้งเดียวเท่านั้นในชีวิต และจะตายหลังจากนั้น ซึ่งอายุเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้แก่ 23 ปี สำหรับตัวผู้ 24 ปี สำหรับตัวเมีย โดยว่ายน้ำอพยพไปวางไข่กลางมหาสมุทรแปซิฟิค ที่อยู่ไกลไปถึง 8,047 กิโลเมตร ในระหว่างการเดินทางนี้ปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์จะเปลี่ยนตัวเองให้มีสีเข้มขึ้น ส่วนหัวเล็กลง และดวงตาโตขึ้นเกือบ 2 เท่า และไม่กินอาหาร เมื่อปลาตัวผู้ฉีดน้ำเชื้อผสมกับไข่ของตัวเมียแล้ว ทั้งคู่ก็จะตาย ก่อนที่ลูกปลาที่ฟักออกมาจะอพยพกลับมายังนิวซีแลนด์ตามสัญชาตญาณและกระแสน้ำในมหาสมุทรDoole, G. J. (2005).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาไหลครีบยาวนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเรนโบว์เทราต์

ปลาเรนโบว์เทราต์ หรือ ปลาเทราต์สายรุ้ง (Rainbow trout, Steelhead, Trout salmon) เป็นปลาชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) จัดอยู่ในจำพวกปลาแซลมอน อาศัยอยู่ในสาขาแม่น้ำที่ไหลสู่มหาสมุทรแปซิฟิกในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นช่วงที่มีวงจรชีวิตอาศัยอยู่ในทะเล ปกติจะว่ายจากทะเลสู่แม่น้ำเพื่อวางไข่หลังจากอาศัยอยู่ในทะเลไปแล้ว 2-3 ปี ปลาเรนโบว์เทราต์มักถูกนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารและตกเป็นเกมกีฬา ได้ถูกเพาะเลี้ยงและนำเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ที่มิใช่แหล่งกำเนิดดั้งเดิมถึง 87 ประเทศ อาทิ เยอรมนี, ฟินแลนด์, แอฟริกาใต้, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, ญี่ปุ่น ทั้งในประเทศในเขตอบอุ่นและเขตหนาว หรือแม้แต่เขตร้อน เพื่อสนองความต้องการในการบริโภคและตกเป็นเกมกีฬา ปลาเรนโบว์เทราต์ เป็นปลาที่ดั้งเดิมอาศัยอยู่ในลำธารหรือทะเลสาบที่น้ำมีอุณหภูมิที่เย็น (ไม่เกิน 20 องศาเซลเซียส ขณะที่บางข้อมูลระบุว่าไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส) เป็นปลาที่มีสัญชาตญาณนักล่าอยู่ในตัว โดยเป็นปลาที่กินสัตว์น้ำต่าง ๆ ไม่เลือก ทั้งปลาและแมลงน้ำ ด้วยสรีระที่เป็นทรงกระสวย หางมีขนาดใหญ่ช่วยในการว่ายทวนกระแสน้ำได้เป็นอย่างดี ถึงแม้จะไม่มีฟันหรือเขี้ยวขนาดใหญ่ แต่ก็มีจะงอยปากที่เป็นลักษณะตะขอ เมื่อสบกับจะงอยปากบนที่เป็นร่องลึกก็จะประกบกันได้ลงตัวพอดี ทำให้จับเหยื่อได้อย่างมั่นคง มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1.2 เมตร น้ำหนักกว่า 25 กิโลกรัม สีตามลำตัวสวยงาม เนื้อมีรสชาติดี มีก้างน้อย และยังมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิด โอเมกา 3 อยู่ในปริมาณที่มากด้วย จากรายงานของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ในการจัดอันดับชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประสิทธิภาพในการรุกรานสิ่งมีชีวิตพื้นถิ่นให้เสียหายอย่างรุนแรง 100 อันดับแรก มีปลาอยู่ 5 ชนิด และหนึ่งในนั้นก็คือ ปลาเรนโบว์เทราต์ ปลาเรนโบว์เทราต์ ได้ถูกนำเข้ามาในประเทศไทยด้วยการเป็นไข่ปลาจากสหรัฐอเมริกา ที่สถานีเพาะเลี้ยง ในโครงการหลวง ที่ดอยอินทนนท์ เมื่อปี พ.ศ. 2541 จนประสบความสำเร็จ มีลูกปลาที่รอดจากการฟักถึงร้อยละ 90 สามารถผลิตปลาได้ปริมาณสูงถึง 18-20 ตันต่อปี แต่ก็มีประชากรบางส่วนที่หลุดรอดไปสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ มีรายงานการพบลูกปลาขนาดเล็กมีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร หลุดรอดออกมาจากสถานีเพาะเลี้ยง และพบปลาขนาดใหญ่ราว 1 ฟุตอยู่ในลำธารใกล้ ๆ สถานีเพาะเลี้ยง และมีการจับปลาขนาดใหญ่ได้ในช่วงท้ายน้ำของผู้คนพื้นถิ่น จากการให้สัมภาษณ์ของคนพื้นถิ่นพบว่า ตั้งแต่มีปลาเรนโบว์เทราต์เข้ามา ลูกปลาชนิดต่าง ๆ ก็ได้หายไปเป็นจำนวนมาก จึงหวั่นเกรงกันว่าจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมต่อไปปลาเทราต์สายรุ้ง การรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น หน้า 28-32 โดย siamensis.org.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาเรนโบว์เทราต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเขี้ยวก้าง

ปลาเขี้ยวก้างหรือปลาสตอปไลต์ลูสจอว์ (Stoplight loosejaw) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ใต้ทะเลลึก มีรูปร่างคล้ายปลาฉลาม โดยชื่อ สตอปไลต์ มาจาก Stoplight ซึ่งหมายถึงสัญญาณไฟจราจรนั่นเอง จะสามารถพบพวกมันได้มากที่ความลึก500เมตรลงไป พวกมันอยู่ในสกุล Aristostomias และ Pachystomias และมันสามารถเรืองแสงได้โดยแสงของมันนั้นจะมีแสงสีส้มหรือสีแดง และพวกมันยังมีเอกลักษณ์เฉพาะในหมู่สัตว์ที่ใช้คลอโรฟิลล์อนุพันธ์เพื่อรับรู้แสงสีแดงได้ด้วย ชื่อวิทยาศาสตร์ของมันนั้นมาจากภาษากรีกโดย malakos ความหมาย "อ่อน" และ osteon แปลว่า "กระดูก"ส่วนสาเหตุที่ใช้ชื่อนี้ก็มาจากขากรรไกรของมันที่ดูผิดปกติขากปลาอื่นๆนั้นเอง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาเขี้ยวก้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฉลียบ

ปลาเฉลียบ,ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปลาเฉลียบ · ดูเพิ่มเติม »

ปาตาโกเนีย

แผนที่ในปี ค.ศ. 1775 ปาตาโกเนีย (Patagonia) เป็นภูมิภาคที่ตั้งอยู่ปลายใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศอาร์เจนตินาและชิลี ประกอบด้วยบริเวณทางใต้ของเทือกเขาแอนดีส ไปถึงทางตะวันตกเฉียงใต้ จนถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และส่วนตะวันออกของเทือกเขา ไปถึงหุบเขาตามแม่น้ำโคโลราโด ไปทางใต้จนถึงเมืองการ์เมนเดปาตาโกเนส บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก ส่วนทางตะวันตกรวมถึงเมืองบัลดีเบียไปจนถึงกลุ่มเกาะเตียร์ราเดลฟวยโก คำว่า ปาตาโกเนีย มาจากคำว่า ปาตากอน (patagón)Antonio Pigafetta, Relazione del primo viaggio intorno al mondo, 1524: "Il capitano generale nominò questi popoli Patagoni." The original word would probably be in Magellan's native Portuguese (patagão) or the Spanish of his men (patagón).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปาตาโกเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ปานามาซิตี

ทิวทัศน์กรุงปานามาซิตี มองจากเนินเขาเซร์โรอันซอง ยอดโบสถ์การ์เมง (Iglesia del Carmen) ในเขตกัสโกเวียโฮ (Casco Viejo) กรุงปานามาซิตีสมัยใหม่ ผ่านอ่าวปานามา มองจากท่าเรือเก่าใกล้ตลาดสาธารณะ (Mercado Publico) ในเขตซันเฟลีเป (กัสโกเวียโฮ) ถนนที่เชื่อมระหว่างเกาะนาโอส เกาะเปรีโก และเกาะฟลาเมงโกเข้ากับแผ่นดินใหญ่ มีช่องทางจักรยานขนานไปกับถนน ปานามาซิตี (Panama City) หรือ ซิวดัดเดปานามา (Ciudad de Panamá) เป็นเมืองหลวงของประเทศปานามา ตั้งอยู่ทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ปากทางเข้าคลองปานามา ที่พิกัดภูมิศาสตร์ ปานามาซิตีเป็นศูนย์กลางการเมือง การบริหาร และวัฒนธรรมของประเทศ ฮวน การ์โลส นาบาร์โรเป็นนายกเทศมนตรีคนปัจจุบัน ปัจจุบันกรุงปานามาซิตีมีจำนวนประชากร 708,738 คน รวมเขตนครหลวงทั้งหมดมี 1,063,000 คน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปานามาซิตี · ดูเพิ่มเติม »

ปาเปเอเต

ปาเปเอเต หรือ ปาปีติ (ตาฮีตี: Pape’ete, Papeete, เสียงอ่าน) คือเมืองหลวงของเฟรนช์พอลินีเชียซึ่งเป็นดินแดนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ปาเปเอเตตั้งอยู่บนเกาะตาฮีตีในหมู่เกาะวินด์เวิร์ด ชื่อ ปาเปเอเต มีความหมายว่า "น้ำจากตะกร้า".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปาเปเอเต · ดูเพิ่มเติม »

ปูก้ามดาบ

ปูก้ามดาบ หรือ ปูเปี้ยว (Fiddler crabs, Ghost crabs) เป็นปูทะเลขนาดเล็กสกุลหนึ่ง อยู่ในสกุล Uca ในวงศ์ Ocypodidae.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปูก้ามดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปูมะพร้าว

ปูมะพร้าวขณะอยู่บนพื้น ปูมะพร้าว (Coconut crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Birgus latro) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ที่วิวัฒนาการมาจากปูเสฉวน และเป็นสัตว์ขาปล้องขนาดใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน กิตติศัพท์ที่ว่าปูมะพร้าวสามารถเจาะลูกมะพร้าวด้วยก้ามอันทรงพลังนั้นเป็นที่รู้จักกันดี ในบางครั้งปูมะพร้าวถูกเรียกว่า ปูปล้น หรือ ปาล์มขโมย (เยอรมัน: Palmendieb) ทั้งนี้เนื่องจากปูมะพร้าวมักจะขโมยข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่ส่องประกาย อย่างเช่น หม้อ หรือถ้วยสแตนเลส บางคนเรียกปูมะพร้าวว่า ปูเสฉวนบก แต่อันที่จริงนอกจากปูมะพร้าวแล้ว ยังมีปูชนิดอื่นอีกที่จัดได้ว่าเป็นปูเสฉวนบกเช่นกัน นอกจากนี้ ปูมะพร้าวอาจมีชื่อเรียกต่างกันไปอีกในแต่ละที่ เช่น ที่เกาะกวม เรียกปูมะพร้าวว่า อายูยู.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปูมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปูอัด

ปูอัด เป็นอาหารประเภทคามาโบโกะ มีส่วนผสมในการผลิตคือปลาเนื้อสีขาว (ซูริมิ) มีรูปร่างคล้ายก้ามปูหรือขาปูโดยที่เห็นบ่อย ๆ ในตลาดจะมีรูปแบบคล้ายขาของปูหิมะหรือปูแมงมุมญี่ปุ่น ส่วนมากปูอัดจะทำมาจากปลาอะแลสกาพอลล็อกซึ่งสามารถพบในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ และส่วนผสมอื่น ๆ เช่น ข้าวสาลีหรือไข่ขาวหรืออาจเพิ่มสารประกอบอื่น ๆ ด้วย เช่นกลิ่นปูเทียม และจะมีการเพิ่มสีแดงที่ด้านนอกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและปูอัด · ดูเพิ่มเติม »

นกร่อนทะเลหางแดง

''Phaethon rubricauda'' นกร่อนทะเลหางแดง หรือ นกนวลหางยาว Birds of Thailand.net (Red-tailed tropicbird) เป็นนกทะเลที่พบในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในกลุ่มนกร่อนทะเลที่พบเห็นได้ยากแต่ยังมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้างจึงยังไม่จัดว่าถูกคุกคาม อยู่เป็นอาณานิคมทำรังวางไข่บนเกาะกลางทะเล.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกร่อนทะเลหางแดง · ดูเพิ่มเติม »

นกอัญชันคิ้วขาว

นกอัญชันคิ้วขาวหนังสือคู่มือดูนกหมอบุญส่ง เลขะกุล,นกเมืองไทย,โดยคณะบุคคลนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล,หน้า136 (White-browed Crake)) จัดอยู่ในวงศ์นกอัญชัน (Rallidae) เป็นนกอัญชันขนาดเล็ก นกชนิดนี้หากินตาม ทะเลสาบ บึง หนอง พรุ นากุ้ง นาข้าว ห้วย คลอง หรือ พื้นที่ที่ชุ่มน้ำต่างๆที่มีพืชลอยน้ำปกคลุมหนาแน่นในพื้นที่ราบ อาหารของนกชนิดนี้ได้แก่เมล็ดของพืชน้ำ แมลง ไข่แมลง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเล็ก ๆ ที่หาพบได้ตามกอพืชรก ๆ หรือบริเวณชายน้ำในแหล่งน้ำที่อาศัย โดยนกจะเดินจิกกินไปเรื่อย ๆ พร้อมกับกระดกหางขึ้น ๆ ลง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกอัญชันคิ้วขาว · ดูเพิ่มเติม »

นกอัลบาทรอสคิ้วดำ

นกอัลบาทรอสคิ้วดำ (Black-browed albatross; หรือ melanophris) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกนกอัลบาทรอส (Diomedeidae) นกอัลบาทรอสคิ้วดำ เป็นนกอัลบาทรอสขนาดกลาง มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่าลูกเบสบอลเล็กน้อย มีคิ้วสีดำที่โดดเด่นคาดเหนือดวงตาสีดำขลับ จะงอยปากยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีโทนสีไล่กันจากโคนสีเหลืองนวลเป็นสีชมพูอ่อนและชมพูเข้มตอนปลาย นกในช่วงวัยรุ่นจะมีจะงอยปากสีเข้ม นกขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัว 80–95 เซนติเมตร (31–37 นิ้ว) ความกว้างปีก 200–240 เซนติเมตร (79–94 นิ้ว) น้ำหนักโดยเฉลี่ย 2.9–4.7 กิโลกรัม (6.4–10 นิ้ว) และมีอายุขัยได้มากกว่า 70 ปี นกอัลบาทรอสคิ้วดำ กระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกใต้ ทั้งมหาสมุทรแอตแลนติก และแปซิฟิก โดยเฉพาะในหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และอาจพบได้ถึงเกาะแคมป์เบลล์ ในนิวซีแลนด์ นกวัยรุ่นจะกลับเข้าหาฝั่งเป็นครั้งแรกหลังจากใช้ชีวิตอยู่ในทะเลนาน 4-5 ปี เพื่อหาคู่ โดยจะอวดท่วงท่าลีลา รำแพนหาง และส่งเสียงขันคู หรือโก่งคอเข้าหาคู่และเอียงจะงอยปากแนบกัน เพื่อแสดงความพร้อมในการผสมพันธุ์ การหาคู่มักใช้เวลานานราว 2 ปี นกที่เข้าคู่กันได้ดีและนั่งอยู่ด้วยกันเป็นเวลานาน เพื่อทำความรู้จักและเข้าคู่กัน เพราะการเลี้ยงลูกต้องอาศัยทั้งตัวผู้และตัวเมีย โดยทำรังบนหน้าผาชายฝั่ง นกอัลบาทรอสคิ้วดำ จำนวน 399,000 คู่ หรือ 2 ใน 3 ของนกอัลบาทรอสคิ้วดำทั่วโลกจะบินมาวางไข่ที่หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แต่จำนวนของนกลดลงอย่างน่าใจหาย เนื่องจากการประมงเบ็ดราวและอวนลากในมหาสมุทรของซีกโลกใต้ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกอัลบาทรอสคิ้วดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกจมูกหลอดลาย

นกจมูกหลอดลาย (Streaked Shearwater) เป็นนกทะเลชนิดหนึ่ง ลำตัวยาวประมาณ 48 ซม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกจมูกหลอดลาย · ดูเพิ่มเติม »

นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่

นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่ (Greater crested tern) เป็นนกทะเลชนิดหนึ่งในวงศ์นกนางนวลแกลบ (Sternidae) จัดเป็นนกนางนวลแกลบที่มีขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัวพอ ๆ กับนกนางนวลทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวลู่ลมตามประสานกนางนวลแกลบ แต่ก็มีขนาดใหญ่กว่านกนางแกลบด้วยกันอย่างเห็นได้ชัดเจน มีจะงอยปากแหลมสีเหลืองที่ใช้ในการหาอาหาร ปลายปีกแหลมยาว และลักษณะเด่นอันที่มาของชื่อสามัญ คือ มีขนกระจุกบริเวณท้ายทอยเหมือนหงอน ซึ่งนอกฤดูผสมพันธุ์จะมีลายดำเปรอะเป็นขีด ๆ ตั้งแต่รอบตา แต่เมื่อเข้าสู่ฤดูผสมพันธุ์หงอนจะมีสีเข้ม เหมือนใส่หมวกสีดำ แลดูสะดุดตามากยิ่งขึ้น มีถิ่นกระจายพันธุ์กว้างไกล พบได้ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนใต้ของแอฟริกา เรื่อยมาตามริมชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจนมาถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และรอบทวีปออสเตรเลีย รวมถึงหมู่เกาะในแถบนั้น เป็นนกที่หากินด้วยการพุ่งตัวลงไปในทะเลจับปลากินเป็นอาหาร สามารถลงไปได้ลึกถึง 1 เมตร และบินได้ห่างจากชายฝั่งไกลถึง 10 กิโลเมตร ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่จะอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่หนาแน่ตามชายฝั่งและเกาะ โดยจะวางไข่ครั้งละ 2 ฟองบนหลุมที่ขุดขึ้นบนดิน โดยในฝูงจะมีการป้องกันตัวจากนักล่าและปกป้องซึ่งกันและกัน ในประเทศไทย พบได้ตามอ่าวตะบูนและแหลมผักเบี้ย ในจังหวัดเพชรบุรี จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกนางนวลแกลบหงอนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกแก้วคาคาโป

นกแก้วคาคาโป (เมารี: kākāpō) เป็นภาษามาวรี มีความหมายว่า "นกแก้วกลางคืน" เป็นนกที่อยู่ในวงศ์ Strigopidae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Strigops habroptilus นกแก้วคาคาโป บ้างก็เรียกว่า "นกแก้วฮูก" ซึ่งเป็นนกแก้วที่บินไม่ได้ที่พบในนิวซีแลนด์เท่านั้น ถือเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของวิวัฒนาการบนเกาะโดดเดี่ยว ทำให้มีรูปลักษณ์พิเศษ โดยบรรพบุรุษร่วมของนกแก้วคาคาโปและนกในสกุล Nestor ในวงศ์ใหญ่เดียวกัน คือ วงศ์ Strigopoidea ได้แยกไปอยู่ต่างหากจากนกแก้วชนิดอื่น ๆ หลังจากนิวซีแลนด์แยกตัวออกจากทวีปกอนด์วานา เมื่อประมาณ 82 ล้านปีก่อน จากนั้นอีก 12 ล้านปีต่อมาหรือประมาณ 70 ล้านปีก่อน นกแก้วคาคาโปจึงแยกออกจากนกสกุล Nestor ชัดเจน จากสภาพแวดล้อมที่ไม่มีสัตว์นักล่าบนเกาะนิวซีแลนด์ ทำให้นกแก้วคาคาโปมีวิวัฒนาการเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่บินไม่ได้ และยังครองสถิติอีกหลายอย่าง คือเป็นนกแก้วที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลก มีขนาดตัวระหว่าง 59-64 เซนติเมตร และหนักถึง 4 กิโลกรัม นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่ามันเป็นนกแก้วที่มีอายุยืนที่สุดด้วย โดยมีสถิติพบอายุยืนที่สุดถึง 100 ปี อีกทั้งเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่หากินตอนกลางคืน และมีระบบการผสมพันธุ์ที่ตัวผู้จะอยู่ในอาณาเขตหรือรังของตัวเองและส่งเสียงเรียกตัวเมีย ซึ่งมีเสียงร้องคล้ายเสียงกบและจะร้องติดต่อกันนานถึง 3 เดือน วันละ 8 ชั่วโมง และเสียงร้องจะได้ยินไปไกลถึง 5 กิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนกแก้วคาคาโป · ดูเพิ่มเติม »

นักล่า-เก็บของป่า

นักล่า-รวบรวมพืชผล (hunter-gatherer) หมายถึงมนุษย์ในสังคมที่ได้อาหารส่วนมากหรือทั้งหมด จากการเก็บพืชในป่าหรือล่าสัตว์ป่า เปรียบเทียบกับสังคมเกษตร ที่โดยหลักพึ่งพืชสัตว์พันธุ์ที่ปรับนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร การหากินวิธีนี้เป็นการปรับตัวแบบแรกและที่ยืนยงที่สุดของคน โดยเป็นวิธีหากินใน 90 เปอร์เซนต์ของประวัติศาสตร์มนุษย์ แต่ว่าหลังจากการเกิดขึ้นของสังคมเกษตรกรรมโดยมากในโลก สังคมเกษตรและสังคมเลี้ยงสัตว์ก็ได้แทนที่หรือพิชิตสังคมนักล่า-รวบรวมพืชผล โดยมีกลุ่มที่จัดเป็นนักล่า-รวบรวมพืชผลเหลือเพียงไม่กี่สังคมในปัจจุบัน และหลายกลุ่มจริง ๆ ก็มีการปลูกพืชสวนและเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนักล่า-เก็บของป่า · ดูเพิ่มเติม »

นากทะเล

ำหรับนากทะเลที่อยู่ในสกุล Lontra ดูที่: นากทะเลอเมริกาใต้ นากทะเล (Sea otters) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล ประเภทหนึ่งโดยอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในวัยเจริญพันธุ์จะมีน้ำหนักประมาณ 14–45 กิโลกรัม (31–99 ปอนด์) นากทะเลเป็นสัตว์ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ชนิดหนึ่ง และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดอีกด้วย นากทะเลนั้นไม่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลทั่วไปเพราะมีฉนวนกันความร้อนด้วยขนที่หนาแน่น จึงทำให้นากทะเลสามารถหาอาหารในทะเลเป็นเวลานาน ๆ ได้ นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่ง โดยจะดำดิ่งสู่พื้นทะเลเพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ สาหร่ายทะเล (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) เม่นทะเล หอยต่าง ๆ กุ้งบางชนิด และปลาบางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้ ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะถูกล่าอย่างหนักในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนากทะเล · ดูเพิ่มเติม »

นาริตะ

มืองนาริตะ เป็นเมืองในจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งเป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ให้บริการสำหรับพื้นที่ของกรุงโตเกียวและเมืองโดยรอ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนาริตะ · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนาโงยะ · ดูเพิ่มเติม »

นิกกีและเปาลู

นิกกี เฟอร์นันเดซและเปาลู (Nikki Fernandez and Paulo) เป็นสองตัวละครที่เป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์แนวดรามาทางช่องเอบีซีเรื่อง อสุรกายดงดิบ ซึ่งทั้งคู่อยู่ร่วมกับอีก 40 ชีวิตหลังเหตุการณ์เครื่องบินตกบนเกาะร้างแห่งหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ นักแสดงหญิงคือคีลี ซานเชซและนักแสดงชายชาวบราซิล โรดรีกู ซานโตรู รับบทเป็นนิกกีและเปาลู ตามลำดับ ซึ่งเป็นผู้รอดชีวิตจากอุบัติเหตุสายการบินโอเชียนิกเที่ยวบินที่ 815 ตก ทั้งคู่ปรากฏตัวครั้งแรกในช่วงต้นฤดูกาลที่ 3"Further Instructions." Lost, ABC.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนิกกีและเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

นิวแคลิโดเนีย

นิวแคลิโดเนีย (New Caledonia) หรือ นูแวล-กาเลดอนี (Nouvelle-Calédonie) ชื่ออื่น ๆ ที่นิยมเรียกได้แก่ "คานากี" (Kanaky) และ "เลอกายู" (Le Caillou) เป็น "อาณานิคมพิเศษ (sui generis collectivity)" (ในทางปฏิบัติ ดินแดนโพ้นทะเล) ของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะหลัก (เกาะกร็องด์แตร์, Grande Terre) และเกาะเล็ก ๆ อื่น ๆ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเมลานีเซียในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกเฉียงใต้ นิวแคลิโดเนียมีเนื้อที่ 18,575.5 ตารางกิโลเมตร มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของเกาะไต้หวัน ประชากรที่สำรวจได้เมื่อพ.ศ. 2547 มีอยู่ 230,789 คน มีรหัสประเทศโดเมนระดับบนสุดในอินเทอร์เน็ต ว่า.nc เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของนิวแคลิโดเนียคือ นูเมอา (Nouméa) หน่วยเงินคือ ฟรังก์ซีเอฟพี ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนิวแคลิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

นีวเว

นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและนีวเว · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาลปี๊บ

น้ำตาลปึก น้ำตาลปี๊บ หรือ น้ำตาลปึก เป็นส่วนผสมในอาหารและขนมที่ใช้กันทั่วในเอเชีย ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ซึ่งให้รสหวานเหมือนน้ำตาล ทำมาจากน้ำเลี้ยงจากงวงเกสรตัวผู้หรือ"จั่น" ของพืชวงศ์ปาล์ม ในประเทศไทยส่วนใหญ่ผลิตจากงวงมะพร้าว ซึ่งเรียกอีกอย่างว่าน้ำตาลมะพร้าว ส่วนน้ำตาลที่ผลิตจากงวงตาลเรียกน้ำตาลโตนด ประเทศไทยมีการผลิตน้ำตาลปี๊บในหลายจังหวัดทางภาคกลาง เช่น เพชรบุรี และภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและน้ำตาลปี๊บ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำแม่กก

น้ำแม่กก (45px) เป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งในภาคเหนือของประเทศไทย มีต้นกำเนิดจากทิวเขาแดนลาวและทิวเขาผีปันน้ำตอนเหนือของเมืองกก จังหวัดเชียงตุงภายในอาณาเขตของรัฐชานในประเทศพม่า ไหลเข้าสู่ประเทศไทยที่ช่องน้ำแม่กก อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ไหลมาเรื่อย ๆ จนผ่านตัวอำเภอเมืองเชียงราย หลังจากนั้นก็ไหลลงแม่น้ำโขงที่บริเวณสบกก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาว 285 กิโลเมตร (ในประเทศไทยยาว 130 กิโลเมตร) ลำน้ำสาขาที่สำคัญได้แก่ น้ำแม่ฝาง น้ำแม่ลาว และน้ำแม่สรว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและน้ำแม่กก · ดูเพิ่มเติม »

น้ำแม่ลาว

น้ำแม่ลาว เป็นแม่น้ำสายหนึ่งในจังหวัดเชียงราย มีต้นน้ำเกิดจากดอยนางแก้วในทิวเขาผีปันน้ำ ในเขตบ้านขุนลาว ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ไหลผ่าน อำเภอเวียงป่าเป้า อำเภอแม่สรวย จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตอำเภอพานกับอำเภอแม่ลาว เข้าอำเภอแม่ลาว อำเภอเมืองเชียงราย เข้าสู่อำเภอเวียงชัย และท้ายน้ำเป็นเส้นกั้นเขตระหว่างอำเภอเวียงชัยกับอำเภอเมืองเชียงราย บรรจบน้ำแม่กกท้ายฝายเชียงร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและน้ำแม่ลาว · ดูเพิ่มเติม »

แบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน

แบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน (Battleship) เป็นภาพยนตร์แนวนิยายวิทยาศาสตร์สงครามยุทธนาวีของอเมริกัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

แพลไมราอะทอลล์

แพลไมราอะทอลล์ แพลไมราอะทอลล์ (Palmyra Atoll) เป็นเกาะอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีสภาพภูมิอากาศแบบเขตร้อน มีพื้นที่มั้งหมด 11.9 ตารางกิโลเมตร มีจุดสูงสุดที่ 2 เมตร มีเกาะประมาณ 50 เกาะที่มีผักและมะพร้าวขึ้นอยู่บนเกาะ มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่ที่ลากูนตะวันตก ในอดีตแพลไมราอะทอลล์เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฮาวาย ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ผนวกเกาะแห่งนี้พร้อมกับฮาวายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตน มีการสร้างถนนซึ่งสร้างในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หมวดหมู่:เกาะในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2502.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแพลไมราอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แพขยะใหญ่แปซิฟิก

gyre) หนึ่งในห้าของโลก แพขยะใหญ่แปซิฟิก (Great Pacific Garbage Patch) ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า แพขยะตะวันออก หรือ วงวนขยะแปซิฟิก (Pacific Trash Vortex) คือวงวนใหญ่ของขยะมหาสมุทร (marine litter) ที่อยู่ส่วนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือตำแหน่งประมาณ 135 -135° ตะวันตก ถึง 155-155° ตะวันตก และเส้นขนานที่ 35° เหนือ ถึงเส้นขนานที่ 42° เหนือ และประมาณขนาดใหญ่ได้เป็น 2 เท่าของเนื้อที่รัฐเท็กซัสซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับประเทศไทย แพขยะมีลักษณะของการรวมตัวอย่างเข้มของขยะพลาสติกและขยะอื่นที่ถูกกักรวมได้ด้วยกระแสวงวนใหญ่แปซิฟิกเหนือ แม้ขนาดแพขยะนี้จะมีขนาดใหญ่มหาศาลและหนาแน่นแต่ก็ไม่อาจเห็นได้จากดาวเทียมเนื่องจากตัวขยะทั้งหมดอยู่ใต้หรือใกล้ผิวน้ำ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแพขยะใหญ่แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แมวน้ำมีหู

แมวน้ำมีหู (Eared seals) เป็นวงศ์ที่จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ มี 15 สปีชีส์ ใน 7 สกุล (อีกสปีชีส์หนึ่งสูญพันธุ์ไปแล้วในช่วงปี ค.ศ. 1947) วงศ์แมวน้ำมีหูมีสองวงศ์ย่อย ได้แก่ วงศ์ย่อยสิงโตทะเล กับ วงศ์ย่อยแมวน้ำขน (fur seals) วงศ์แมวน้ำมีหูเป็นวงศ์ที่แตกต่างจากวงศ์แมวน้ำแท้ (true seals) และ วงศ์วอลรัส แมวน้ำมีหูเป็นสัตว์กึ่งบกกึ่งน้ำ โดยออกหากินและเดินทางในน้ำ แต่ผสมพันธุ์และพักผ่อนบนแผ่นดินหรือน้ำแข็ง อาศัยอยู่ในอากาศที่ค่อนข้างหนาว อยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ มหาสมุทรอินเดียตอนใต้และมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ จะไม่ค่อยอาศัยในมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมวน้ำมีหู · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุน

แมงกะพรุน หรือ กะพรุน จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมไนดาเรีย ไฟลัมย่อยเมดูโซซัว แบ่งออกเป็นอันดับได้ 5 อันดับ (ดูในตาราง) ลักษณะลำตัวใสและนิ่มมีโพรงทำหน้าที่เป็นทางเดินอาหารมีเข็มพิษที่บริเวณหนวดที่อยู่ด้านล่าง ไว้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ เมื่อโตเต็มวัย ส่วนประกอบหลักในลำตัวเป็นน้ำร้อยละ 94-98 ด้านบนเป็นวงโค้งคล้ายร่ม ด้านล่างตอนกลางเป็นอวัยวะทำหน้าที่กินและย่อยอาหาร พบได้ในทะเลทุกแห่งทั่วโลก แมงกะพรุนส่วนใหญ่จัดอยู่ในอันดับไซโฟซัว แต่ก็บางประเภทที่อยู่ในอันดับไฮโดรซัว อาทิ แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส (Physalia physalis) ซึ่งเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก และแมงกะพรุนอิรุคันจิ (Malo kingi) ที่อยู่ในอันดับคูโบซัว ก็ถูกเรียกว่าแมงกะพรุนเช่นกัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมงกะพรุน · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส หรือ แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส (Portuguese man-of-war, Portuguese Man o' War, Blue bubble, Floating terror) เป็นไซโฟโนฟอร์ชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมไนดาเรีย ในชั้นไฮโดรซัว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Physalia physalis แม้จะถูกเรียกว่าเป็นแมงกะพรุน แต่เป็นสัตว์คนละชั้นกับแมงกะพรุนแท้ทั่วไป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิก

แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิก หรือ แมงกะพรุนบลูบอตเทิล (Blue Bottle, (Indo-Pacific) Portuguese Man-of-War) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกแมงกะพรุน ที่มิใช่แมงกะพรุนแท้ ๆ ชนิดหนึ่ง ที่พบในทะเล มีรูปร่างคล้ายกับแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสหรือแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส (P. physalis) ที่เป็นชนิดที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด ที่พบในมหาสมุทรแอตแลนติก หากแต่แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิก จะพบได้ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และมีขนาดเล็กกว่ามาก (6 นิ้วเมื่อเทียบกับ 12 นิ้ว) แต่มีหนวดที่ยาวเหมือนกัน และมีปากมากกว่าหนึ่งปาก เป็นสัตว์ที่อยู่เป็นอาณานิคม และเป็นสัตว์ที่เกิดมาจากเอมบริโอของสัตว์ที่แตกต่างกันหลายชนิดมารวมกัน ซึ่งแต่ละตัวจะมีลักษณะเด่นและมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป ขณะกำลังลอยน้ำที่หาดแมกมาสเตอส์ มีการแพร่กระจายพันธุ์ที่กว้างขวางกว่า โดยพบอย่างมากที่ชายฝั่งออสเตรเลียรวมถึงน่านน้ำฮาวาย โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นไม่เป็นทางการว่า ili mane‘o หรือ palalia และอาจเป็นไปได้ว่าเป็นชนิดที่พบที่ชายฝั่งประเทศไทย เช่น จังหวัดภูเก็ต ที่ชายฝั่งของออสเตรเลียมีผู้ที่ถูกแมงกะพรุนในสกุล Physalia ต่อยมากถึงปีละ 10,000 หรือ 30,000 ราย ส่วนใหญ่จะเกิดที่น่านน้ำฝั่งตะวันออก มีเพียง 500 รายเท่านั้นที่เกิดที่ฝั่งตะวันตกและทางใต้ แต่ไม่เหมือนกับแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส เพราะไม่มีบันทึกของผู้เสียชีวิตที่เกิดจากการต่อยของแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิก แหล่งข้อมูลบางแหล่งจัดให้แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิกเป็นชนิดเดียวกันกับแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส โดยถือเป็นชื่อพ้องซึ่งกันและกัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสอินโด-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาญี่ปุ่น

แมงดาญี่ปุ่น หรือ แมงดาจีน (Japanese horseshoe crab, Chinese horseshoe crab; 鱟; カブトガニ) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tachypleus tridentatus เป็นแมงดาหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุล Tachypleus แมงดาญี่ปุ่นมีส่วนหางเป็นสันขึ้นมาเป็นเหมือนสามเหลี่ยม ตัวผู้มีรอยหยักสองรอยทำให้มีลักษณะโค้งเป็นลอนสามลอน บริเวณขอบด้านหน้าของกระดอง ขอจับพองออกเป็นกระเปาะสองคู่ ตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาวสามคู่แรก และขนาดสั้นสามคู่หลัง ส่วนในตัวผู้มีขนาดความยาวใกล้เคียงกัน ขนาดใหญ่สุดมีความยาวตลอดตัว ประมาณ 74 เซนติเมตร สีของกระดองเป็นสีเขียวและอ่อนกว่าแมงดาถ้วย (Carcinoscorpius rotundicauda) พบในชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณชายฝั่งของญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, มาเลเซีย และบริเวณเกาะบอร์เนียวเหนือ โดยไม่พบในน่านน้ำไทย ในญี่ปุ่น เป็นแมงดาเพียงชนิดเดียวที่พบได้ที่นั่น โดยพบบริเวณชายฝั่งของทะเลเซโตะในฤดูใบไม้ผลิ จากนั้นในฤดูหนาวจะอพยพไปยังเกาะของเกาะฮนชูและเกาะคีวชูเพื่อจับคู่ผสมพันธุ์ แมงดาญี่ปุ่นหรือแมงดาจีนนั้นสามารถนำมารับประทานได้เช่นเดียวกับแมงดาจาน (T. gigas) ซึ่งเป็นแมงดาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุลเดียวกัน โดยในตำรับอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่นนิยมรับประทานเนื้อและไข่ แต่ก็ยังมีพิษอยู่บ้างในบางท้องที่และบางฤดูกาล เช่นในสิงคโปร์ เคยพบรายงานของแมงดาที่มีพิษ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมงดาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

แมงดาจาน

แมงดาจาน เป็นแมงดาเพียงหนึ่งในสองชนิดที่พบได้ในประเทศไทย และจัดเป็นหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุล Tachypleus แมงดาจานมีลักษณะกระดองแบนราบและกว้างกว่าแมงดาถ้วย หางมีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมาเป็นสามเหลี่ยม มีสันซึ่งมีหนามเล็ก ๆ เรียงเป็นแถวตามความยาวอยู่ตรงกลางด้านบนของหาง ตัวผู้มีขอจับพองออกเป็นกระเปาะ 2 คู่ ตัวเมียมีหนามบริเวณขอบด้านข้างของส่วนท้องขนาดยาว 3 คู่แรก และสั้น 3 คู่หลังในตัวผู้มีขนาดความยาวใกล้เคียงกัน ด้านท้องมีสีน้ำตาลอ่อนและมีสีเข้มตอนขอบหน้า ขนาดใหญ่สุดมีความกว้างของกระดอง ไม่เกิน 25 เซนติเมตร หรือประมาณเท่าจานข้าวใบใหญ่ อันเป็นที่มาของชื่อ สีของกระดองอ่อนกว่าแมงดาถ้วย ความยาวของกระดองประมาณ 35–40 เซนติเมตร พบกระจายทั่วไปในเขตชายฝั่งของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย, ทางตะวันออกของอ่าวเบงกอล, อินโดนีเซีย, เวียดนาม, ซาราวะก์, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ไทย ไปจนถึงจีน สำหรับในประเทศไทยซึ่งพบแพร่กระจายชุกชุมทั้ง 2 ฟาก ในฝั่งทะเลอันดามันพบได้ตั้งแต่บริเวณจังหวัดสมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, เพชรบุรีถึงชุมพร ในฝั่งอ่าวไทยพบได้ที่ จังหวัดสมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, ชลบุรีจนถึงจันทบุรี แมงดาจานนั้น มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า แมงดาทะเลหางเหลี่ยม หรือ แมงดาทะเลหางสามเหลี่ยม ตามลักษณะของหาง จัดเป็นแมงดาชนิดที่รับประทานได้ โดยนิยมนำไข่และเนื้อมาย่าง หรือทำเป็นห่อหมก โดยที่พิษของแมงดาจานนั้น ในประเทศไทยยังไม่เคยมีรายงานพบ แต่ทว่าในต่างประเทศ มีรายงานพบประมาณร้อยละ 10 เช่นที่ สิงคโปร์ แมงดาจานอาศัยอยู่บริเวณน้ำตื้นตามชายฝั่งทะเล โดยวางไข่ไว้บนหาดทรายด้วยการขุดหลุมประมาณ 8–12 หลุม วางไข่แต่ละครั้งประมาณ 9,000 ฟอง ช่วงต้นฤดูร้อนประมาณตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน โดยจะวางไข่ในช่วงน้ำขึ้นสูงสุดประมาณ 2–3 วัน ทุก ๆ รอบ 15 วัน ไข่มีสีเหลืองอ่อน และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 มิลลิเมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแมงดาจาน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำอิชิกะริ

แม่น้ำอิชิกะริ เป็นแม่น้ำสายสำคัญในฮกไกโด เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในฮกไกโดและยาวเป็นอันดับสามของญี่ปุ่น มีความยาวทั้งสิ้น 268 กิโลเมตร มีพื้นที่ลุ่มน้ำกว่า 14,330 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับสองของญี่ปุ่น มีต้นกำเนิดมาจากเขาอิชิกะริในเขตหมู่ภูเขาไฟไดเซะสึซัง และไหลผ่านเมืองอะซะฮิกะวะและนครซัปโปะโระ ในอดีตเมื่อราว 40,000 ปีก่อนแม่น้ำสายนี้เคยไหลลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่เนื่องจากการปะทุของภูเขาไฟและลาวาไหลไปขวางเส้นทางเดิมไว้ ทำให้แนวแม่น้ำไหลไปออกที่ทะเลญี่ปุ่นแทน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแม่น้ำอิชิกะริ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำงาว

น้ำแม่งาว เป็นแม่น้ำสายหนึ่งที่มีต้นกำเนิดในอำเภองาวจังหวัดลำปาง โดยต้นน้ำเกิดมีแหล่งกำเนิดจากดอยปากบ่องผาแดง เป็นภูเขาสายหนึ่งของทิวเขาผีปันน้ำ ตะวันออกในเขตบ้านขุนแม่งาว ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปาง ไหลผ่านที่ราบลุ่มจากที่ภูเขาสูงลงสู่อำเภองาว จากนั้นไหลบรรจบสู่แม่น้ำยมที่อำเภอสอง จังหวัดแพร่ เป็นลำน้ำสาขาหลักของแม่น้ำยม หนึ่งในแม่น้ำสี่สายต้นกำเนิดแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแม่น้ำงาว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโทะเนะ

แม่น้ำโทะเนะ ในแม่น้ำในภูมิภาคคันโต ประเทศญี่ปุ่น มีต้นกำเนิดจากยอดเขาโอมินะกะมิ ในเทือกเขาเอะชิโงะ ในบริเวณจังหวัดกุมมะและจังหวัดนีงะตะ ไหลลงสู่อ่าวโตเกียว ในจังหวัดชิบะ มีความยาวทั้งสิ้น 322 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับที่สองของญี่ปุ่นรองจากแม่น้ำชินะโนะ ก่อให้เกิดที่ราบปากแม่น้ำกินอาณาเขตกว่า 16,840 ตารางกิโลเมตร แม่น้ำโทะเนะแยกออกเป็นแม่น้ำสายย่อยอีก เช่น แม่น้ำอะงะซึมะ แม่น้ำวะตะระเซะ แม่น้ำคินุ แม่น้ำโคไก และแม่น้ำเอะโดะ ท.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแม่น้ำโทะเนะ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโคลัมเบีย

แม่น้ำโคลัมเบีย แม่น้ำโคลัมเบีย (Columbia River) เป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือฝั่งแปซิฟิกของอเมริกาเหนือ แม่น้ำไหลจากเทือกเขาร็อกกีในรัฐบริติชโคลัมเบียของแคนาดา ไหลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ วกอ้อมทางตอนเหนือของภูเขาเซลเคิร์กแล้วลงไปทางใต้ ขยายกว้างเป็นทะเลสาบแอร์โรว์ จากนั้นไหลตัดเขตแดนรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โค้งไปทางตะวันตก ใกล้ ๆ เขตแดนรัฐออริกอน มีแควสายใหญ่ที่สุดมาบรรจบ คือแม่น้ำสเนก จากนั้นไหลไปทางตะวันตก เป็นเขตแดนด้านตะวันตกระหว่างรัฐวอชิงตันกับรัฐออริกอน ไปลงมหาสมุทรแปซิฟิก แม่น้ำโคลัมเบียมีพื้นที่รับน้ำขนาดราวประเทศฝรั่งเศส ไหลผ่าน 7 รัฐของสหรัฐอเมริกาและ 1 รัฐของแคน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแม่น้ำโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

แยป

แยป หรือ ยาป (Yap) หรือ วาอับ (แยป: Waqab) เป็นหมู่เกาะในหมู่เกาะแคโรไลน์ ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ในรัฐแยปของประเทศไมโครนีเซีย หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 4 เกาะซึ่งอยู่ติด ๆ กัน มีเกาะแยปเป็นเกาะใหญ่ที่สุด จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแยป · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งพายุหมุนเขตร้อน

thumb ตามธรรมเนียม พายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวขึ้นแยกกันภายในทั้งหมดเจ็ดแอ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ, ด้านตะวันออกและตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก, ด้านตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอาหรับ และ อ่าวเบงกอล) ซึ่งในเจ็ดแอ่งนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกมีการกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนบ่อยที่สุด และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดียมีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยของพายุหมุนเขตร้อน ที่มีความรุนแรงในระดับมากกว่าพายุโซนร้อน ทั่วโลกอยู่ที่ 86 ลูก ในจำนวนนี้ 47 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่น และอีก 20 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงอยู่ในระดับ 3).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแอ่งพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็กฟิช

แฮ็กฟิช (hagfish, slim eel) เป็นปลาในชั้นปลาไม่มีขากรรไกรเพียงหนึ่งในสองจำพวกที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกหนึ่งจำพวก คือ ปลาแลมป์เพรย์) ที่อยู่ในชั้น Myxini ซึ่งมีเพียงอันดับเดียว คือ Myxiniformes และวงศ์เดียว คือ Myxinidae แฮ็กฟิชเป็นปลาที่อยู่ในทะเล โดยการกินปลาตาย หรือใกล้ตายรวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม เช่น หนอนปล้อง มอลลัสคาและครัสเตเชียนเป็นอาหาร จึงต่างจากปลาแลมป์เพรย์ที่ใช้ชีวิตเหมือนเป็นปรสิต และไม่ได้เป็นสัตว์ล่าเหยื่อ แต่ค่อนมาทางกินซากสัตว์มากว่า แฮ็กฟิชมีต่อมเมือกทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่กระจายอยู่ที่ผิวหนังและมีต่อมเมือกเรียงตัวเป็นแนวอยู่ทางด้านข้างตลอดความยาวของลำตัว มีคำกล่าวว่า แฮ็กฟิช 1 ตัว สามารถทำให้น้ำ 1 ถัง แปรสภาพเป็นก้อนวุ้นสีขาวภายใน 1 นาที จากเมือกของตัวที่ปล่อยออกมา ซึ่งมีความเหนียวมากกว่าใยแมงมุมด้วยซ้ำ สามารถใช้ในการห้ามเลือดได้ และนักวิทยาศาสตร์กำลังศึกษาเพื่อที่นำไปพัฒนาในการสร้างใยสังเคราะห์ แฮ็กฟิชมีประมาณ 67 ชนิด ชนิดที่รู้จักกันดีในทวีปอเมริกาเหนือ ในมหาสมุทรแอตแลนติก คือ ชนิด Myxine glutinosa และในมหาสมุทรแปซิฟิก คือ แฮ็กฟิชแปซิฟิก (Eptatretus stonti) แฮ็กฟิชจะกินปลาตายหรือปลาใกล้ตายโดยการกัดไชเข้าไปทางทวารหรือถุงเหงือก ซึ่งปากของแฮ็กฟิชจะอยู่ส่วนล่างของหัวต่ำลงมาเมื่อเปรียบเทียบกับปลาแลมป์เพรย์ แล้วกินส่วนของตัวปลาที่อ่อนนุ่มเหลือไว้แต่หนังและกระดูก นอกจากนี้แฮ็กฟิชยังกินปลาที่ติดอวนลอยอยู่ ทำความเสียหายให้แก่ชาวประมง แต่หลังจากมีการประมงโดยใช้อวนลากขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพสูง ปัญหาที่เกิดจากแฮ็กฟิชจึงลดลง และในบางประเทศ ก็มีการปรุงแฮ็กฟิชรับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับปลาแลมป์เพรย์ เช่น ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ เป็นต้น ในน่านน้ำไทยเคยมีรายงานพบแฮ็กฟิชด้วย ในฝั่งทะเลอันดามันในเขตที่ลึกกว่า 200 เมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแฮ็กฟิช · ดูเพิ่มเติม »

แผนที่โลก

แผนที่โลกซึ่งเป็นการทำแบบ Winkel tripel projection, ซึ่งจะมีข้อผิดพลาดค่อนข้างต่ำ''http://www.physics.drexel.edu/~goldberg/projections/goldberg_gott.pdf Large-Scale Distortions in Map Projections'', 2007, David M. Goldberg & J. Richard Gott III, 2007, V42 N4. ซึ่งถูกสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิกใช้ในการอ้างอิงเอกสารและสื่อต่างๆ แผนที่โลกของOrtelius (Typus Orbis Terrarum)ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1564 แผนที่โลกคือแผนที่ที่แสดงพื้นที่ส่วนใหญ่หรือพื้นที่ทั้งหมดของโลก โดยแผนที่โลกนั้นไม่ดีมีเพียงภาพวาดหรือภาพพิมพ์แต่ยังรวมไปถึงภาพถ่ายจากดาวเทียมหรือภาพถ่ายทางอากาศด้วย แผนที่โลกส่วนมากนั้นจะมีการบิดเบือนไปจากความจริงเล็กน้อยตรงบริเวณขั้วโลก แผนที่โลกนั้นมีมาตั้งแต่ก่อนคริสตศักราชแล้วซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามความรู้ที่นักภูมิศาสตร์ในสมัยนั้นมี แผนที่ของโลกส่วนมากนั้นจะเน้นทางด้านการเมืองหรือลักษณะทางกายภาพของพื้นผิวโลก,ขอบเขตอาณาเขตและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์,แผนที่ทางกายภาพแสดงลักษณะทางภูมิศาสตร์เช่นภูเขาชนิดของดินหรือการใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่ทางธรณีวิทยา หรือแผนที่ที่ใช้สีและความเข้มของสีเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภูมิภาคต่างๆเช่นสถิติประชากรศาสตร์หรือสถิติทางเศรษฐก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผนที่โลก · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547

แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในอิยาเปล พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในอิยาเปล..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นดินไหวในอิยาเปล พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557

แผ่นดินไหวในอีกีเก หรือ แผ่นดินไหวในนอร์เตกรัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในจังหวัดมิยะงิ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในจังหวัดมิยะง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นดินไหวในจังหวัดมิยะงิ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นแปซิฟิก

แผ่นแปซิฟิกแสดงในสีเหลือง แผ่นแปซิฟิก (Pacific Plate) คือแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่ครอบคลุมพื้นที่ส่วนของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ประมาณ 103 ล้านตารางกิโลเมตรจึงถือว่าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ใหญ่ที่สุด แผ่นแปซิฟิกมีจุดร้อนภายในที่ทำให้เกิดหมู่เกาะฮาว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแผ่นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอังกัช

แคว้นอังกัช (Ancash) เป็นแคว้นทางตอนเหนือของประเทศเปรู ติดต่อกับแคว้นลาลีเบร์ตัด ทางทิศเหนือ, ติดกับแคว้นอัวนูโกและแคว้นปัสโก ทางทิศตะวันออก, ติดกับแคว้นลิมา ทางทิศใต้ และติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตก มีเมืองหลวงของรัฐคือเมือง อัวรัซ มีเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเมืองท่าคือเมืองชิมโบเต ชื่อของแคว้นมาจากคำในภาษาเกชัว คำว่า anqash แปลว่า สีน้ำเงิน อังกัช หมวดหมู่:แคว้นอังกัช.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแคว้นอังกัช · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอาเรกีปา

แคว้นอาเรกีปา (Arequipa) เป็นแคว้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเปรู ติดกับแคว้นอีกา แคว้นไออากูโช แคว้นอาปูรีมัก และแคว้นกุสโก ทางทิศเหนือ ติดกับแคว้นปูโนทางทิศตะวันออก ติดกับแคว้นโมเกกวาทางทิศใต้ และติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก มีเมืองหลวงคือ อาเรกีปา เมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเปรู อาเรกีปา.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแคว้นอาเรกีปา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโกกิมโบ

แคว้นโกกิมโบ (Región de Coquimbo) เป็นแคว้นหนึ่งในสิบห้าแห่งตามการปกครองของประเทศชิลี ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ ทิศเหนือมีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นอาตากามา ทิศใต้ติดต่อกับแคว้นบัลปาราอีโซ ทิศตะวันออกเป็นพื้นที่ภูเขา ส่วนหนึ่งของเทือกเขาแอนดีส ติดต่อกับรัฐซานควนของประเทศอาร์เจนตินา และทิศตะวันตกเป็นที่ราบชายฝั่งติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก แคว้นโกกิมโบมีประชากรราว 770,000 คน เมืองหลักของแคว้นคือ ลาเซเรนา เมืองใหญ่แห่งอื่นได้แก่ โกกิมโบ (ประชากร 202,000 คน) โอบาเย (ประชากร 113,000 คน) และอียาเปล (ประชากร 30,000 คน).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแคว้นโกกิมโบ · ดูเพิ่มเติม »

แคสเซิลบราโว

แคสเซิลบราโว (Castle Bravo) เป็นสมญานามของระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์หรือระเบิดไฮโดรเจนแบบเชื้อเพลิงแห้งลูกแรกของสหรัฐอเมริกา ระเบิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 1954 ณ บิกีนีอะทอลล์, หมู่เกาะมาร์แชลล์ เป็นการทดลองการระเบิดครั้งแรกในปฏิบัติการแคสเซิล แคสเซิลบราโว ยังเป็นระเบิดนิวเคลียร์ที่ทรงอานุภาพที่สุดเท่าที่สหรัฐอเมริกาเคยใช้งาน โดยมีแรงระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 15 เมกะตัน (มีขนาดเพียงหนึ่งในสามของระเบิดนิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการระเบิดมา) เกินจากที่คาดไว้ที่ 4 ถึง 6 เมกะตันอย่างมาก ทำให้เกิดการปนเปื้อนจากกัมมันตภาพตรังสีรุนแรงที่สุดเท่าที่สหรัฐอเมริกาเคยก่อ แคสเซิลบราโว (Castle Bravo) เป็นชื่อรหัสที่กำหนดให้สำหรับการทดสอบระเบิดไฮโดรเจนเทอร์โมนิวเคลียร์นิวเคลียร์ ที่ใช้เชื้อเพลิงแห้งเป็นครั้งแรก การทดสอบได้ดำเนินการในวันที่ 1 มีนาคม 1954 ที่เกาะปะการังบิกินี หมู่เกาะมาร์แชลล์ เมื่ออาวุธถูกจุดระเบิดและการระเบิดเกิดขึ้น ทำให้เกิดเป็นปากปล่องภูเขาไฟ เส้นผ่าศูนย์กลาง 6,500 ฟุต (2,000 เมตร) ลึก 250 ฟุต (75 เมตร) แคสเซิลบราโวเป็นอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด กว่าที่เคยถูกจุดระเบิดมาโดยสหรัฐอเมริกา โดยมีพลังงานได้ออกมาถึง 15 เมกะตัน ซึ่งมากเกินกว่าระดับพลังงานที่คาดหวังไว้คือ 4-6 เมกะตัน ในส่วนนี้เป็นผลมาจากการคำนวณที่ผิดพลาด อันนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุอันรุนแรงทางด้านการปนเปื้อนทางรังสี ยิ่งกว่าครั้งใดที่สหรัฐอเมริกาเคยทำให้เกิดขึ้น โดยถ้าคิดในแง่ของความเทียบเท่ากับลูกระเบิดทีเอ็นทีเป็นตันแล้ว แคสเซิลบราโวมีพลังงานที่มากกว่าประมาณ 1,200 เท่าของลูกระเบิดอะตอมที่ทิ้งในฮิโรชิมาและนางาซากิ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ยิ่งไปกว่านั้น เมฆของรังสีทำให้เกิดการปนเปื้อนปกคลุมพื้นที่มากกว่า 7พันตารางไมล์รอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งหมู่เกาะเล็ก ๆ เช่น Rongerik และ Rongelap และ Utirik ผู้คนบนเกาะต้องถูกอพยพออก แต่ในลูกหลานในรุ่นต่อมาได้รับผลกระทบ ชาวบ้านท้องถิ่นได้รับความทรมานจากความไม่สมบูรณ์ทางร่างกายตั้งแต่เกิด เรือประมงของญี่ปุ่นชื่อ Daigo Fukuryu Maru ได้รับการสัมผัสปนเปื้อนฝุ่นกัมมันตรังสี เป็นสาเหตุให้ลูกเรือทั้งหมดเกิดการเจ็บป่วยมีผู้เสียชีวิตไปหนึ่งราย ปลา น้ำ พื้นดิน เกิดการปนเปื้อนทางกัมมันตรังสีอย่างรุนแรง ทำให้แคสเซิลบราโวเป็นหนึ่งในอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ที่เลวร้ายที.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแคสเซิลบราโว · ดูเพิ่มเติม »

แซนตามอนิกา (รัฐแคลิฟอร์เนีย)

แซนตามอนิกา (Santa Monica) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของลอสแอนเจลิสเคาน์ตี รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ติดกับอ่าวแซนตามอนิกา มีเมืองล้อมรอบ 3 ด้าน ได้แก่ ลอสแอนเจลิส - แปซิฟิกพาลิเสดส์ทางทิศตะวันออกตกเฉียงเหนือ เมืองเบรนท์วูด ทางทิศเหนือ เวสต์ลอสแอนเจลิสทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มาร์วิสตาทางทิศตะวันออก และเวนิสติดทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และมีทะเลล้อมรอบ 1 ด้าน คือมหาสมุทรแปซิฟิกติดทางทิศตะวันตก สำนักสำรวจสำมะโนประชากรสหรัฐอเมริกา ประมาณการประชากรของแซนตามอนิกาเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแซนตามอนิกา (รัฐแคลิฟอร์เนีย) · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิก-เทน

right แปซิฟิก-เทนคอนเฟอเรนซ์ (อังกฤษ: Pacific-10 Conference) นิยมเรียกย่อๆ ว่า แพ็ค-เทน (Pac-10) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่อยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก 10 แห่ง ที่รวมตัวกันเพื่อแข่งขันกีฬาระหว่างสถาบัน ปัจจุบันจัดการแข่งขันกีฬาประเภทชาย 11 รายการ ประเภทหญิงอีก 11 รายการ ที่สำคัญเช่น อเมริกันฟุตบอล (ชาย), บาสเกตบอล (ชายและหญิง), เบสบอล (ชาย), ซอฟต์บอล (หญิง), โปโลน้ำ (ชายและหญิง) เป็นต้น ประวัติของแปซิฟิก-เทน ย้อนหลังไปถึง 15 ธันวาคม ค.ศ. 1915 (พ.ศ. 2458) เมื่อมีการก่อตั้ง แปซิฟิกโคสคอนเฟอร์เรนซ์ (Pacific Coast Conference, PCC) นับแน่นั้นมามีการเปลี่ยนแปลงชื่อและสมาชิกจนกระทั่งเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแปซิฟิก-เทน · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิค ริม สงครามอสูรเหล็ก

แปซิฟิค ริม สงครามอสูรเหล็ก (Pacific Rim) เป็นภาพยนตร์แนวไซไฟสัตว์ประหลาดอเมริกันปี ค.ศ. 2013 กำกับโดยกีเยร์โม เดล โตโร และเขียนบทโดยกีเยร์โม เดล โตโร และทราวิส บีแชม ผลิตโดยเลเจนดารี พิกเจอร์ส และจัดจำหน่ายโดยวอร์เนอร์บราเธอร์สพิกเจอร์ส ออกฉายในวันที่ 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและแปซิฟิค ริม สงครามอสูรเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์

รกแห่งฟิลิปปินส์ (Baroque Churches of the Philippines) คือชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของโบสถ์ยุคสเปน 4 แห่งในฟิลิปปินส์ ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก ใน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

โกกิมโบ

กกิมโบ (Coquimbo) เป็นเมืองท่าแห่งหนึ่งในประเทศชิลี มีฐานะเป็นอำเภอ (comuna) และเมืองหลักของจังหวัดเอลกี แคว้นโกกิมโบ จากการสำรวจสำมะโนประชากรเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโกกิมโบ · ดูเพิ่มเติม »

โมะบะระ

มะบะระ เป็นเมืองในจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 100.01 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโมะบะระ · ดูเพิ่มเติม »

โมโอเรอา

มโอเรอา (ตาฮีตี: Mo’orea, เสียงอ่าน: /ˌmō-ō-ˈrā-ä/) เป็นเกาะหนึ่งของหมู่เกาะโซไซเอตี อยู่ห่างจากเกาะตาฮีตีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 17 กิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโมโอเรอา · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ไรน์โฮลด์ ฟอร์สเตอร์

ันน์ ไรน์โฮล์ด ฟอร์สเตอร์ (Johann Reinhold Forster) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1729 - (9 ธันวาคม ค.ศ. 1798) ฟอร์สเตอร์เป็นชาวเยอรมันเชื้อสายสกอตแลนด์ผู้มีอาชีพเป็นนักเทศน์ (pastor) นิกายลูเทอรัน และเป็นนักธรรมชาติวิทยา ฟอร์สเตอร์มีบทบาทสำคัญในสมัยแรกของสาขาปักษาวิทยาของยุโรป และอเมริกาเหนือ แต่สิ่งสร้างความสำคัญให้แก่ฟอร์สเตอร์คือการร่วมในการเดินทางสำรวจมหาสมุทรแปซิฟิกครั้งที่สองของเจมส์ คุกในฐานะนักธรรมชาติวิทยากับลูกชายจอร์จ ฟอร์สเตอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโยฮันน์ ไรน์โฮลด์ ฟอร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยโกซูกะ

กซูกะ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2010 มีจำนวนประชากรประมาณ 419,067 คน เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 ในเขตพื้นที่ปริมณทลโตเกียว และอันดับที่ 12 ในเขตภูมิภาคคันโต โยโกซูกะเป็นเมืองที่ตั้งของฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโยโกซูกะ · ดูเพิ่มเติม »

โรบินสัน ครูโซ

รบินสัน ครูโซ (Robinson Crusoe หรือมีชื่อเต็มภาษาอังกฤษว่า The Life and Strange Surprizing Adventures of Robinson Crusoe of York, Mariner: Who lived Eight and Twenty Years, all alone in an un-inhabited Island on the coast of America, near the Mouth of the Great River of Oroonoque; Having been cast on Shore by Shipwreck, where-in all the Men perished but himself. With An Account how he was at last as strangely deliver'd by Pyrates. Written by Himself) เป็นนวนิยายของแดเนียล เดโฟ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโรบินสัน ครูโซ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต หลุยส์ สตีเวนสัน

รเบิร์ต หลุยส์ สตีเวนสัน (Robert Louis Stevenson; 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2393 – 3 ธันวาคม พ.ศ. 2437) เป็นนักเขียนและกวีชาวสกอตแลนด์ มีผลงานที่สำคัญ ได้แก่ Teasure Island (เกาะมหาสมบัติ) และ Strange Case of Dr Jekyll and Mr Hyde (เรื่องวิปลาสของด็อกเตอร์จีคอลกับมิสเตอร์ไฮด์).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโรเบิร์ต หลุยส์ สตีเวนสัน · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โลมาอิรวดี

ำหรับโลมาน้ำจืดจำพวกอื่น ดูที่: โลมาแม่น้ำ โลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Irrawaddy dolphin, Ayeyarwaddy dolphin) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180-275 เซนติเมตร น้ำหนักไม่มีรายงาน มีการกระจายอย่างกว้างขวางในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยและทะเลสาบหรือน้ำจืด เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น แม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมร ในปี พ.ศ. 2459 มีรายงานว่าพบอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยา และเคยมีผู้จับได้ที่คลองรังสิต ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ถูกค้นพบครั้งแรกที่แม่น้ำอิรวดีในประเทศพม่า จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันในน้ำจืด สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ ทะเลสาบชิลิก้า ประเทศอินเดีย, แม่น้ำโขง, ทะเลสาบสงขลา, แม่น้ำมหาคาม ประเทศอินโดนีเซีย และปากแม่น้ำบางปะกง โดยสถานที่ ๆ พบได้น้อยที่สุดและถือเป็นแหล่งวิกฤตที่สุด คือ ทะเลสาบสงขลา ในส่วนที่เป็นน้ำจืดหรือน้ำกร่อย หรือที่เรียกว่า ทะเลน้อย มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-150 วินาที แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 เดือน ลูกที่เกิดมามีขนาด 40 % ของตัวโตเต็มวัย อาหารได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพจัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของไซเตส (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์ โลมาอิรวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ในภาษาใต้ และ "ปลาข่า" (ປາຂ່າ) ในภาษาลาว เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโลมาอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

โสร่ง

ผ้าโสร่งของผู้ชาย ในภาพเป็นนักดนตรีโปงลางของอีสาน โสร่ง เป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง ที่ใช้ผ้าผืนเดียว เพลาะชายสองข้างเข้าด้วยกันเป็นถุง แบบเดียวกับผ้าถุง หรือผ้าซิ่น ใช้นุ่งอย่างแพร่หลาย ทั้งหญิงและชาย ในหลายประเทศของเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านด้วย นอกจากนี้ยังนิยมใช้ในหลายท้องถิ่นในหมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิก โดยที่แต่ละท้องถิ่น จะมีชื่อเรียกต่างกันไป ทว่าอาจเรียกรวม ๆ ได้ว่า โสร่ง ในบางท้องถิ่น โสร่งอาจนิยมใช้อย่างลำลอง สำหรับแต่งกายอยู่กับบ้าน แต่ในบางประเทศ เช่น พม่า เราจะพบว่าโสร่งเป็นผ้านุ่งที่นิยมใช้กันทั่วไป ทั้งในหมู่ชนชั้นสูง ระดับผู้บริหารประเทศ นักการเมือง กระทั่งพ่อค้าแม่ขาย นักศึกษา และผู้คนทั่วไป.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโสร่ง · ดูเพิ่มเติม »

โอะมะเอะซะกิ

มืองโอะมะเอะซะกิ เป็นเมืองในจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนแหลมของปากอ่าวซุรุงะ ที่เชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก;เมืองใกล้เคียง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโอะมะเอะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

โอดาวาระ

อดาวาระ เป็นเมืองทางทิศตะวันตกในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2010 มีจำนวนประชากรประมาณ 198,466 มีขนาดพื้นที่ 114.09 ตารางกิโลเมตร เป็นเมืองที่ตั้งของปราสาทโอะดะวะระที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโอดาวาระ · ดูเพิ่มเติม »

โอเชียเนีย

อเชียเนีย (Oceania) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก การใช้ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะพอลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์) หมู่เกาะเมลานีเซีย (รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ในวงกว้างจะรวมออสเตรเลียเข้าไปด้วย และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนำไปใช้ในความหมายที่รวมเอาเกาะอื่นๆ เข้าไว้ เช่น ญี่ปุ่นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่พบน้อยมาก "โอเชียเนีย" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีปออสเตรเลียซึ่งเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุด เนื้อที่ราว 7.7 ล้านตารางกิโลเมตร เล็กกว่าทวีปเอเชียถึง 6 เท่า ประกอบด้วย ผืนแผ่นดินที่เป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะพอลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็นกลุ่มของหมู่เกาะจำนวนมากนับพันเกาะ อย่างไมโครนีเซียมีในครอบครองกว่า 600 เก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โจรสลัด

รสลัด (Pirate, Buccaneer, Frigate) คือบุคคลที่ปล้นหรือโจรกรรมในทะเล หรือบางครั้งตามชายฝั่งหรือท่าเรือต่างๆ โจรสลัดในปัจจุบันจะแตกต่างกับโจรสลัดในอดีตที่มีลักษณะเฉพาะคือจะมีผ้าคาดหัว ใช้ดาบใบกว้างหรือปืนพกและเรือโจรสลัดขนาดใหญ่ ในปัจจุบันโจรสลัดนิยมใช้เรือเร็ว และใช้ปืนกลแทนที่ดาบ เป้าหมายส่วนใหญ่ที่โจรสลัดเลือกคือเรือสินค้าและเรือโดยสาร สำหรับรูปแบบที่ใช้ในการบุกเข้าปล้นมีทั้งชูธงหลอกล่อเป้าหมายว่าเป็นเรือสินค้าบ้าง เรือของกองทัพหรือของศาสนจักรบ้าง หรือแม้กระทั่งใช้กำลังบุกเข้าโจมตีโดยตรงเลยก็มี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโจรสลัด · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุ

ทโฮกุ แปลตรงตัวว่า "ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ" เป็นอนุภูมิภาคของญี่ปุ่น ดินแดนที่ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสี่ทางเหนือของเกาะฮนชู มีชื่อเดิมว่า "มิชิโนะกุ" แปลว่าถนนภายในหรือถนนสายแคบ เนื่องจากในอดีตนั้นยากต่อการเข้าถึง ด้วยภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาขรุขระ และฤดูหนาวอันโหดร้าย โทโฮกุเป็นดินแดนที่ยังคงธรรมชาติอันสวยงาม และเป็นแหล่งของน้ำพุร้อนจำนวนนับไม่ถ้วน นอกจากนั้น โทโฮกุยังเป็นดินแดนแห่งตำนานเรื่องเล่าขานมากมาย และเป็นแห่งสุดท้ายที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตขนบประเพณีญี่ปุ่นโบราณอยู่ รวมถึงหัตถกรรมพื้นเมืองที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ภายใต้ความเจริญและอารยธรรมสมัยใหม่ที่หลั่งไหลเข้ามา อนุภูมิอากาศในโทโฮกุ ถูกแบ่งโดยเทือกเขาที่เป็นแนวยาวจากเหนือลงมาเป็นสองด้าน คือทางด้านฝั่งทะเลญี่ปุ่น จะมีอากาศหนาวเย็น หิมะตกหนักในฤดูหนาว ในขณะที่ทางด้านฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีอากาศอบอุ่นกว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในแถบโทโฮกุ ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 9 ล้านคน ลดลงจากปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโทโฮกุ · ดูเพิ่มเติม »

โทไก

ทไก เป็นอนุภูมิภาคของญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของเกาะฮนชู อยู่ในพื้นที่ทางตอนกลางของประเทศที่เรียกกันว่า ภาคชูบุ (ภาคกลาง) ชื่อ "โทไก" นั้นหมายถึง "ทะเลตะวันออก" มาจากคำว่า "โทไกโด" หรือถนนสายทะเลตะวันออก หนึ่งในเส้นทางการคมนาคมหลักของญี่ปุ่นในยุคเอะโดะ ซึ่งปัจจุบัน อนุภูมิภาคโทไกนั้นประกอบไปด้วย จังหวัดชิซุโอะกะ, จังหวัดไอชิ, จังหวัดกิฟุ และจังหวัดมิเอะ เมืองที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคนี้ คือ เมืองนะโงยะ และอาณาเขตของเมืองนะโงยะและปริมณฑลที่เชื่อมต่อกันกลายเป็นมหานครก็กินพื้นที่ขนาดใหญ่และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่น นอกจากนี้แล้วเศรษฐกิจของเมืองนะโงยะยังส่งผลไปถึงเมืองต่างๆรอบๆ ในสามจังหวัด คือ ไอจิ, กิฟุ และมิเอะ ซึ่งบางทีก็จะถูกเรียกว่า ภาคชูเกียว โทไกจัดได้ว่าเป็นเขตอุตสาหกรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น และมีเศรษฐกิจที่พึ่งพิงกับภาคอุตสาหกรรมเป็นหลัก อนุภูมิภาคโทไกเคยประสบกับภัยแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หลายครั้งในอดีต และจากงานวิจัยของ คิโย โมะงิ ทีความเป็นไปได้ที่ภูมิภาคนี้จะประสบกับเหตุแผ่นดินไหวขนาด 8.0 ขึ้นไปในอนาคตอันใกล้ เมืองนะโงยะ, ชิซุโอะกะ และเมืองใหญ่อื่นๆอาจจะได้รับผลกระทบอย่างหนัก โดยอาจจะเป็นภัยพิบัติที่ร้ายแรงที่สุดอันหนึ่งของโลก ดังนั้นรัฐบาลญี่ปุ่นจึงได้กำหนดให้ภูมิภาคนี้เป็นเขตเผ้าระวังในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโทไก · ดูเพิ่มเติม »

โทเคอเลา

ทเคอเลา (Tokelau) เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โทเคอเลาเคยมีชื่อเดิมว่า หมู่เกาะยูเนียน (Union Islands) จนกระทั่งปี พ.ศ. 2519 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นชื่อปัจจุบัน สหประชาชาติได้จัดให้โทเคอเลาอยู่ในรายชื่อประเทศที่ไม่ได้ปกครองตนเอง โทเคอเลาเป็นประเทศและดินแดนที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่น้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโทเคอเลา · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2513 โดย สำนักพิมพ์โชงะกุกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทะซุกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจาก นิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็นหนึ่งในวีรบุรุษของ ทวีปเอเชีย จาก ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมของ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัท บันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิต หุ่นยนต์ โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า "My Doraemon" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552 ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ .

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โซโลมอน (แก้ความกำกวม)

ซโลมอน (Solomon) เป็นชื่ออีกรูปแบบของซาโลมอน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและโซโลมอน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮดาไกว

กว (Haida Gwaii) หรือ หมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ (Queen Charlotte Islands) เป็นกลุ่มเกาะทางชายฝั่งตอนเหนือของรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา มีช่องแคบเฮเคตคั่นระหว่างหมู่เกาะนี้กับแผ่นดินใหญ่ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเฮย์ดา ไฮดาไกวประกอบด้วยเกาะสำคัญสองเกาะคือ เกาะแกรมทางทิศเหนือ และเกาะมอร์สบีทางทิศใต้ และมีเกาะเล็ก ๆ อีก 150 เกาะ มีพื้นที่รวม 10,180 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและไฮดาไกว · ดูเพิ่มเติม »

ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์

ทสัน อาร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไข้ซิกา

้ซิกา หรือโรคไวรัสซิกา เป็นโรคติดเชื้ออย่างหนึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสซิกา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการ หรือมีอาการเล็กน้อยคล้ายกับไข้เดงกี อาการมักคงอยู่ไม่เกินเจ็ดวัน โดยอาการเหล่านี้เช่น ไข้ ตาแดง ปวดข้อ ปวดหัว ผื่นแดง เป็นต้น ยังไม่มีรายงานว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคนี้ ภาวะนี้สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการกิลแลงบาร์เรอีกด้วย ไข้ซิกาติดต่อผ่านทางการถูกยุง Aedes เช่น ยุงลาย กัด เป็นส่วนใหญ่ และยังอาจติดต่อผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์และการถ่ายเลือดได้ด้วย เชื้ออาจติดต่อผ่านทางมารดาไปยังทารกและทำให้ทารกมีศีรษะเล็กได้ การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจหา RNA ของไวรัสในเลือด ปัสสาวะ หรือน้ำลายจากผู้ป่วย การป้องกันทำได้โดยการลดโอกาสการถูกยุงกัดในพื้นที่ที่มีการระบาด ทำได้โดยการใช้สารไล่แมลง การปกคลุมร่างกาย การใช้มุ้ง และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงเช่นในน้ำนิ่ง ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่ได้ผลดี บุคลากรทางสาธารณสุขเริ่มให้คำแนะนำแก่คู่สามีภรรยาในพื้นที่ระบาดว่าให้ชะลอการมีบุตรออกไปก่อน และแนะนำให้สตรีมีครรภ์งดการเดินทางไปยังพื้นที่ระบาด การรักษาทำได้ด้วยวิธีรักษาประคับประคอง ยังไม่มีการรักษาจำเพาะที่มีประโยชน์ ส่วนใหญ่ใช้ยาแก้ปวดลดไข้เข่นพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการ ส่วนใหญ่ไม่มีความจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ไวรัสนี้ถูกแยกได้สำเร็จครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1947 การระบาดในมนุษย์มีบันทึกไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 2007 ในสหพันธรัฐไมโครนีเซีย จนถึงมกราคม ค.ศ. 2016 มีการพบโรคนี้ในกว่า 20 พื้นที่ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังพบได้ในแอฟริกา เอเชีย และในเขตแปซิฟิก องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคนี้เป็นหัวข้อฉุกเฉินนานาชาติทางสุขภาพเมื่อกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 หลังจากมีการระบาดของโรคนี้ในประเทสบราซิลเมื่อ ค.ศ. 2015.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและไข้ซิกา · ดูเพิ่มเติม »

ไต้ฝุ่น

ต้ฝุ่นสามลูกขณะหมุนอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตกเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2549 พายุไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนความเร็วลมสูงสุด ซึ่งก่อตัวขึ้นทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่าง 180° กับ 100° ตะวันออก ซึ่งภูมิภาคนี้ถูกตั้งชื่อว่า "แอ่งแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ" สำหรับจุดประสงค์เกี่ยวกับองค์กร มหาสมุทรแปซฟิกตอนเหนือถูกแบ่งออกเป็นสามเขต ได้แก่ ทางตะวันออก (ทวีปอเมริกาเหนือจนถึงลองติจูด 140° ตะวันตก) ตอนกลาง (140° ตะวันตกถึง 180°) และทางตะวันตก (180° ถึง 100° ตะวันออก) ปรากฏการณ์พายุแบบเดียวกันที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางตะวันออกจะถูกเรียกว่า เฮอร์ริเคน และพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่ไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกจะถูกเรียกว่า ไต้ฝุ่น ศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (RSMC) ซึ่งมีหน้าที่พยากรณ์การเกิดพายุหมุนเขตร้อนตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น และศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนอื่น ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งอยู่ในโฮโนลูลู (ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น) ฟิลิปปินส์และฮ่องกง ขณะที่ RSMC ตั้งชื่อในแต่ละระบบ ตัวรายชื่อหลักนั้นเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 18 ประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นทุกปี ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ พายุไต้ฝุ่นไม่มีการกำหนดฤดูกาลอย่างเป็นทางการ เพราะพายุไต้ฝุ่นก่อตัวขึ้นตลอดทั้งปี เช่นเดียวกับพายุหมุนเขตร้อนทั่วไป ปัจจัยที่ทำให้พายุไต้ฝุ่นก่อตัวและมีความเร็วเพิ่มขึ้นนั้นมีหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อุ่นเพียงพอ ความไม่แน่นอนของสภาพอากาศ ระดับความชื้นสัมพัทธ์สูงในชั้นโทรโพสเฟียร์ระดับล่างถึงกลาง แรงโคริโอลิสที่มากพอที่จะสร้างศูนย์ความดันอากาศต่ำ การรบกวนหรือจุดรวมระดับต่ำที่มีอยู่แล้ว และวินเชียร์แนวดิ่งต่ำ พายุไต้ฝุ่นส่วนมากก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนพฤศจิกายน ขณะที่พายุหมุ่นเขตร้อนก่อตัวขึ้นอย่างน้อยก็ระหว่างเดือนธันวาคมและพฤษภาคม โดยเฉลี่ยแล้ว มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือเป็นบริเวณที่เกิดพายุหมุนเขตร้อนบ่อยครั้งที่สุดและรุนแรงที่สุดในโลก เช่นเดียวกับแอ่งอื่น ๆ พายุจะถูกนำทางโดยลิ่มความกดอากาศสูงเหนือเขตร้อนไปทางตะวันตกหรือตะวันตกเฉยงเหนือ โดยมีบางลูกที่ย้อนกลับมาใกล้ทางตะวันออกของญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการขึ้นฝั่ง จีนและญี่ปุ่นได้รับผลกระทบน้อยกว่าบ้าง พายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ได้พัดเข้าถล่มจีน ทางตอนใต้ของจีนมีบันทึกผลกระทบของพายุไต้ฝุ่นที่ยาวนานที่สุด ซึ่งสามารถย้อนหลังไปได้นับพันปีผ่านเอกสารในหอจดหมายเหตุ ไต้หวันเคยประสบกับพายุไต้ฝุ่นที่เปียกที่สุดเท่าที่เคยบันทึกมาในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและไต้ฝุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน แฮร์ริสัน

นจามิน แฮร์ริสัน (Benjamin Harrison) เกิดวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเบนจามิน แฮร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์พอลินีเชีย

ฟรนช์พอลินีเชีย (French Polynesia; Polynésie française; ตาฮีตี: Pōrīnetia Farāni) เป็นดินแดนของฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ มีฐานะเป็น "overseas collectivity" พร้อมกับ "overseas country" ซึ่งเป็นตำแหน่งเฉพาะตัว ประกอบด้วยกลุ่มเกาะหลายเกาะในภูมิภาคโพลินีเซีย เกาะที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ตาฮีตีในหมู่เกาะโซไซตี ซึ่งยังเป็นเกาะที่มีผู้อยู่อาศัยมากที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของดินแดน (ปาเปเอเต) อีกด้วย และแม้จะไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่เกาะกลีแปร์ตอนก็ถูกบริหารโดยเฟรนช์พอลินีเชี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเฟรนช์พอลินีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน

ฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan), ฟือร์เนา ดือ มากัลไยช์ (Fernão de Magalhães) หรือ เฟร์นันโด เด มากายาเนส (Fernando de Magallanes) เป็นนักเดินเรือชาวโปรตุเกส มีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา เขาเกิดที่เมืองซาบรอซา ทางภาคเหนือของประเทศโปรตุเกส หลังจากรับราชการทหารที่อินเดียตะวันออกและโมร็อกโก มาเจลลันได้เสนอตัวทำงานให้กับพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งสเปนเพื่อค้นหาเส้นทางเดินเรือทางทิศตะวันตกสู่ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" (หมู่เกาะโมลุกกะในประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน) เขาจึงได้รับสัญชาติสเปนด้วย มาเจลลันได้เดินเรือออกจากเมืองเซบียาในปี พ.ศ. 2062 การเดินทางในช่วง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน · ดูเพิ่มเติม »

เพบเบิลบีช

ลบีช (Pebble Beach) เป็นชุมชนเอกชนลักษณะคล้ายเมือง ตั้งอยู่แถบชายฝั่งทะลบริเวณเคาน์ตีมองเตอเรย์ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย เพบเบิลบีชบริหารงานโดยบริษัทเพบเบลบีช และมีการบริหารงานคล้ายเมือง แต่เพบเบิลบีชไม่ได้บริหารงานภายใต้โดยรัฐบาล ผู้อาศัยอยู่ในเพบเบิลบีช จ่ายเงินให้กับทางบริษัท แทนที่จะจ่ายภาษีให้กับรัฐบาล เพบเบิลบีช ตั้งอยู่ในคาบสมุทรมองเตอเรย์ อยู่ละติจูด 36°35′27″ เหนือ และลองจิจูด 121°56′46″ ตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกในทิศตะวันตก อยู่ทางใต้ห่างจากเมืองซานฟรานซิสโกประมาณ 192 กิโลเมตร (120 ไมล์) เพบเบิลบีชเป็นที่รู้จักของที่ตั้งสนามกอล์ฟที่มีชื่อเสียงสองแห่งคือ สนามกอล์ฟเพบเบิลบีช และ สนามกอล์ฟไซเพรซซ์พอยนต.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเพบเบิลบีช · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินฮัมโบลต์

นกวินฮัมโบลต์ หรือ เพนกวินเปรู (Humboldt penguin, Peruvian penguin) หรือ ปาตรังกา (Patranca) เป็นเพนกวินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Spheniscus humboldti จัดเป็นเพนกวินขนาดกลาง มีความสูงเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม เมื่อโตเต็มที่มีจุดเด่นคือ มีสีดำคาดที่หน้าอก บริเวณใต้คอและรอบดวงตาสีขาว จะงอยปากเป็นเนื้อสีชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกในทวีปอเมริกาใต้ทางแถบประเทศเปรูและชิลี และถือว่าเป็นเพนกวินเพียงชนิดเดียวที่สามารถพบได้ในพื้นที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย ออกลูกเป็นไข่ครั้งละ 2 ฟอง อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งและโขดหินริมทะเล โดยตัวผู้เป็นฝ่ายกกไข่ ทำรังด้วยการขุดโพรงตามพุ่มไม้หรือป่าละเมาะริมทะเล สร้างรังด้วยก้อนหิน กิ่งไม้หรือใบไม้ เป็นสัตว์สังคมอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ติดต่อสื่อสารกันด้วยเสียงร้อง ลูกเพนกวินฮัมโบลต์ที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เมื่อพ่อแม่นกมิได้อยู่ดูแล จะมีการป้องกันตัวเองด้วยการถ่ายมูลใส่ผู้คุกคามหรือหันหลังถีบเศษหินเศษกรวดใส่ เพนกวินชนิดนี้นิยมเลี้ยงกันตามสวนสัตว์ ในประเทศไทย มีการเลี้ยงที่สวนสัตว์ดุสิต สวนสัตว์สงขลา และสวนสัตว์เปิดเขาเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเพนกวินฮัมโบลต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบอลส์พีระมิด

กาะบอลส์พีระมิด (Ball's Pyramid) เป็นเกาะที่ถูกลมและคลื่นกัดกร่อนส่วนเหลืออยู่ของของดินและหินที่อุดตันแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดซึ่งเกิดขึ้นประมาณ 6.4 ล้านปีที่แล้ว เกาะนี้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลอร์ด โฮเว่ในมหาสมุทรแปซิฟิกประมาณ ความสูงอยู่ที่ เมตรเหนือน้ำทะเล มีความยาว และกว้างเพียง เมตร ทำให้เกาะแห่งนี้เป็นเกาะหินโด่งที่สูงที่สุดในโลก เกาะบอลส์พีระมิดเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานทางทะเลเกาะลอร์ด โฮเว่ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะบอลส์พีระมิด · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชัวเซิล

กาะชัวเซิล (Choiseul Island) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด (มีพื้นที่ 2 971 กม²) ของจังหวัดชัวเซิล หมู่เกาะโซโลมอน ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ตำแหน่ง เกาะมีแนวปะการังเกือบล้อมรอบเกาะ ระหว่าง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะชัวเซิล · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบานาบา

กาะบานาบา เกาะบานาบา (Banaba Island) หรือ เกาะโอเชียน (Ocean Island) เป็นเกาะตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและตั้งอยู่ห่างจากนาอูรูไปทางตะวันออก ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศคิริบาส มีพื้นที่ทั้งสิ้น 6 ตารางกิโลเมตร จุดสูงสุดของเกาะแห่งนี้เป็นจุดสูงสุดของประเทศคิริบาสโดยมีความสูง 81 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง เกาะบานาบาเป็นเกาะที่มีทรัพยากรฟอสเฟตเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็น 1 ใน 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยอีก 2 แห่งคือนาอูรูและมาเกเตอาในเฟรนช์โปลินีเซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะบานาบา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชิโกกุ

กกุ เป็นเกาะที่เล็กที่สุดในบรรดาสี่เกาะหลักของญี่ปุ่น มีพื้นที่ 18,783 ตารางกิโลเมตร ถูกล้อมรอบ 3 ด้านด้วยเกาะฮนชูและเกาะคีวชู ตอนกลางของเกาะมีภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,000-2,000 เมตร มีประชากรประมาณ 4.2 ล้านคนอาศัยอยู่กระจายตามที่ลุ่มชายฝั่งทะเล หากเทียบกับอีก 3 เกาะหลักของญี่ปุ่นแล้ว ชิโกกุมีความเงียบสงบและยังคงบรรยากาศแบบธรรมชาติไว้ได้ โดยที่ไม่ถูกกลืนโดยวัฒนธรรมสมัยใหม่ ชิโกกุถูกแบ่งออกเป็นตอนเหนือและตอนใต้โดยภูเขาสูงชัน ทางเหนือมีปริมาณน้ำฝนน้อยและมีเมืองอุตสาหกรรมอยู่ตลอดแนว ส่วนทางใต้ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกนั้นจะเป็นป่ารก อากาศจะอบอุ่น ปริมาณน้ำฝนมีมาก อากาศบนเกาะจะอบอุ่นสบายในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ และช่วงเริ่มฤดูใบไม้ร่วง นอกจากอุตสาหกรรมผลิตเหล็กและเคมีแล้ว การประมงกับการเกษตรกรรมแบบเร่งผลผลิตทำกันอย่างแพร่หลาย บนที่ราบของเมืองโคจิชายฝั่งทะเลแปซิฟิก มีการมีการทำไร่ผลไม้ และการปลูกผักในเรือนกระจก เกาะชิโกกุถูกเชื่อมต่อกับเกาะฮนชูด้วยสะพานเซโตโอฮาชิ ซึ่งเป็นสะพานหกสาย ใช้เกาะเล็ก ๆ 5 แห่งเป็นจุดเชื่อมต่อ ด้วยความยาวถึง 12.3 กิโลเมตร ทำให้สะพานแห่งนี้ เป็นหนึ่งในสะพานสองชั้นที่มีความยาวมากกว่าสะพานแห่งอื่น ๆ ในโลกเก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะชิโกกุ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบูเกนวิลล์

กาะบูเกนวิลล์ (Bougainville Island) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะโซโลมอน ส่วนหนึ่งของประเทศปาปัวนิวกินี เกาะมีพื้นที่ 9,300 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะบูเกนวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะกลีแปร์ตอน

เกาะกลีแปร์ตอน (Île de Clipperton) เป็นเกาะปะการัง ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 10°18′เหนือ และ 109°13′ตะวันตก เกาะกลีแปร์ตอนเป็นดินแดนของประเทศฝรั่งเศส เช่นเดียวกับดินแดนโพ้นทะเลอื่น ๆ เกาะกลีแปร์ตอนมีพื้นที่ 6 ตารางกิโลเมตร และไม่มีประชากรอาศัยอยู่ หมวดหมู่:ประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะกลีแปร์ตอน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะอีสเตอร์

กาะอีสเตอร์ (Easter Island); เกาะราปานูอี (ราปานูอี: Rapa Nui) หรือ เกาะปัสกวา (Isla de Pascua) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในการปกครองของประเทศชิลี ตัวเกาะห่างจากฝั่งประเทศชิลีไปทางทิศตะวันตกกว่า 3,600 กิโลเมตร เกาะที่ใกล้เกาะอีสเตอร์มากที่สุดอยู่ห่างฝั่งจากถึง 2,000 กิโลเมตร จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่อันโดดเดี่ยวแห่งหนึ่งของโลก ลักษณะของเกาะมีขนาดเล็ก มีพื้นที่เพียง 160 ตารางกิโลเมตร มีความยาว 25 กิโลเมตร เกาะอีสเตอร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะอีสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะอีซาเบลา (กาลาปาโกส)

กาะอีซาเบลา (Isabela) เป็นเกาะใหญ่สุดของหมู่เกาะกาลาปาโกส ประเทศเอกวาดอร์ มีพื้นที่ 4,640 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะอีซาเบลา (กาลาปาโกส) · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮาวแลนด์

กาะฮาวแลนด์ (Howland Island) อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นพื้นที่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ภูมิประเทศเป็นเกาะปะการัง มีพื้นที่ทั้งหมด 1.6 ตารางกิโลเมตร และมีทรัพยากรที่สำคัญคือมูลค้างคาว แต่ไม่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเหมือนกับจอห์นสตันอะทอลล์ พอลไมราอะทอลล์ เกาะเบเกอร์ สถานะของเกาะฮาวแลนด์มีสภาพเดียวกันกับเกาะเบเกอร์ ปัจจุบันมีสนามบินอยู่ 1 แห่ง แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะฮาวแลนด์ เป็นที่ตั้งของ กระโจมกลางวัน แอร์ฮาร์ต ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต นักบินสตรี ที่หายสาบสูญ ระหว่างความพยายามทำการบินรอบโลก เกาะฮาวแลนด์‎ Howland Island seen from space Orthographic projection centered over Howland Island ฮาวแลนด์ ฮาวแลนด์ หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะฮาวแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะจาร์วิส

กาะจาร์วิส เกาะจาร์วิส (Jarvis Island) มีพื้นที่ทั้งหมด 4.5 ตารางกิโลเมตรเป็นเกาะเดี่ยวในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง อยู่ในเขตร้อนชื้น มีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว เกาะจาร์วิสไม่มีน้ำจืดอยู่บนเกาะ เกาะจาร์วิสมีสนามบินอยูหนึ่งแห่งซึ่งสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะจาร์วิสก็เหมือนกับอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือคือไม่มีรัฐบาล ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และไม่มีคนอยู่อาศัย จาร์วิส หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา จาร์วิส จาร์วิส.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะจาร์วิส · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซาฮาลิน

เกาะซาฮาลิน (ภาษารัสเซีย: Сахали́н) เป็นเกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 45° 50’ และ 54° 24' เหนือ โดยตั้งอยู่เหนือเกาะฮกไกโดของญี่ปุ่นเพียงเล็กน้อย เกาะซาฮาลินเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของรัสเซียและครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้นซาฮาลิน ในปี ค.ศ. 1905 เกาะซาฮาลินถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือเหนือและใต้ โดยเกาะซาฮาลินใต้นั้นถูกยึดครองโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งในปี ค.ศ. 1907 ญี่ปุ่นได้จัดตั้งจังหวัดคาราฟูโตะ ขึ้นบนเกาะซาฮาลินใต้ โดยมีเมืองเอกคือ โอโตมาริ ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เกาะซาฮาลินทั้งหมดจึงตกเป็นของสหภาพโซเวียต และเป็นของรัสเซียในปัจจุบัน เกาะซาฮาลินเป็นที่อยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ท้องถิ่นหลายกลุ่ม กลุ่มที่สำคัญและเป็นที่รู้จักทั่วไปคือชาวไอนุ ซึ่งปัจจุบันชาวไอนุส่วนใหญ่ได้ย้ายไปอยู่ในเกาะฮอกไกโด หลังจากที่ญี่ปุ่นต้องสูญเสียเกาะซาฮาลินให้กับโซเวียต ซาฮาลิน หมวดหมู่:เกาะในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:รัสเซียตะวันออกไกล หมวดหมู่:ซาฮาลินโอบลาสต์.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะซาฮาลิน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะปริ่มน้ำ

กาะเฮรอน, ออสเตรเลีย เกาะปริ่มน้ำ เป็นเกาะเล็กที่มีทรายกองบนพื้นผิวของแนวปะการังสูงเหนือระดับน้ำทะเลเล็กน้อย สามารถเกิดขึ้นในบริเวณที่มีอากาศร้อนทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแอตแลนติก (รวมทั้งในทะเลแคริบเบียนและแนวปะการังเกรตแบร์ริเออร์รีฟและเบลีซแบร์ริเออร์รีฟ).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะปริ่มน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนอร์ฟอล์ก

เกาะนอร์ฟอล์ก เป็นดินแดนของออสเตรเลีย เป็นเกาะเล็ก ๆ ที่มีประชากรอาศัยอยู่ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีอาณาเขตตั้งอยู่ระหว่าง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนิวแคลิโดเนีย โดยมีเพื่อนบ้านคือ 2 เกาะที่เป็นเขตเกาะของประเทศออสเตรเลีย อยู่ใกล้ ๆ กัน เกาะนอร์ฟอล์กมีเมืองหลวงชื่อคิงส์ตัน แต่ว่าเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะคือเบินต์ไพน์ น หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะนอร์ฟอล์ก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแคโรไลน์

กาะแคโรไลน์ (Caroline Island) หรือ แคโรไลน์อะทอลล์ (Caroline Atoll) บ้างเรียก เกาะมิลเลนเนียม (Millennium Island) และ เกาะเบสซีซา (Beccisa Island) เป็นเกาะปะการังวงแหวนไร้คนอาศัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะไลน์ใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง ชาวยุโรปพบเกาะนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะแคโรไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโอกินาวะ

เกาะโอกินาวะ (ウチナー อุชินา;; คุนิงะมิ: ฟุชินา) ทางตอนใต้ของเกาะคีวชู อยู่ในกลุ่มหมู่เกาะรีวกีวซึ่งประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ที่อยู่กระจัดกระจายในบริเวณกว้าง มีหาดทรายขาวสวย น้ำทะเลสีคราม และปะการังที่ยังสมบูรณ์ ทำให้โอกินาวะเป็นแหล่งท่องเที่ยวพักร้อนในฝันของชาวญี่ปุ่น โอกินาวะ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะโอกินาวะ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะไซปัน

แผนที่เกาะไซปัน เกาะไซปัน (サイパン島; Saipan) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐอเมริกา ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ประมาณ 115 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากเกาะกวมไปทางเหนือประมาณ 190 กิโลเมตร ในอดีตเกาะไซปันเคยเป็นถิ่นฐานของชาวยุโรปจากประเทศสเปน ต่อมาได้ถูกยึดครองโดยเยอรมนีตั้งปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะไซปัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเบเกอร์

แผนที่เกาะเบเกอร์ เกาะเบเกอร์ (Baker Island) เป็นเกาะทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ไม่มีประชากรอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แต่มีทรัพยากรที่มีคุณค่าเช่น ฟอสเฟต เกาะเบเกอร์มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง เกาะบาร์เกอร์มีพื้นที่ทั้งหมด 1.4 ตารางกิโลเมตร หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา บเกอร์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะเบเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเลย์เต

ที่ตั้งของเกาะเลย์เตเทียบกับประเทศฟิลิปปินส์ เกาะเลย์เต (Leyte) เป็นเกาะในหมู่เกาะวิซายาส์ของฟิลิปปิน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะเลย์เต · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

กาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา (United States Minor Outlying Islands) เป็นชื่อเรียกขานเชิงสถิติซึ่งกำหนดโดยรหัสประเทศ ISO 3166-1 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประกอบด้วยพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกาเก้าแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ได้แก่ เกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ เกาะจาร์วิส จอห์นสตันอะทอลล์ คิงแมนรีฟ มิดเวย์อะทอลล์ เกาะนาวาสซา แพลไมราอะทอลล์ และเกาะเวก ส่วนดินแดนแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์และเซร์รานียาแบงก์ ก็ถูกรวมเข้ามาโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเช่นกัน แต่การอ้างสิทธิ์ยังคงเป็นข้อพิพาทกับประเทศอื่น ในจำนวนนี้ แพลไมราอะทอลล์เท่านั้นที่เป็นดินแดนที่ผนวกเข้ากับสหรัฐอเมริกา เกาะเหล่านี้ไม่มีเกาะใดที่ประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวรจนถึง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเวก

กาะเวก (Wake Island) เป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีพื้นทีทั้งหมด 6.5 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง ใต้น้ำมีภูเขาไฟอยู่ด้วยและมีแนวปะการังรอบเกาะ เกาะเวกมีเพียงแค่บุคคลในราชการทหารสหรัฐเท่านั้นที่อาศัยอยู่ เกาะเวกมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทางด้านอาหาร มีระบบโทรศัพท์ดินแดนโพ้นทะเล (OTS) มีสถานีวิทยุแต่ไม่สถานีโทรทัศน์ เกาะเวกมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่งบนเกาะเวกแต่ไม่มีท่าเรือ เกาะเวกต่างจากบรรดาดินแดนอาณานิคมของสหรัฐในแปซิฟิกเหนือบางดินแดนเนื่องจากมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเคยเป็นสมรภูมิในสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเกาะเวก · ดูเพิ่มเติม »

เมลานีเซีย

แผนที่แสดงอาณาเขตเมลานีเซีย คำว่า "เมลานีเซีย" (Melanesia) แปลว่า หมู่เกาะสีดำ (Black Island) เป็นคำใช้เรียกภูมิภาคที่อยู่ในเขตหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตกของทวีปโอเชียเนียและบางส่วนของทวีปเอเชีย ประชากรที่อาศัยอยู่ ณ ที่นี้ส่วนใหญ่เป็นประชากรผิวดำ มีภาษาพูดกว่า 800 ภาษา ทำให้มีอัตราความหนาแน่นของภาษามากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และยังมีบางภาษาที่ใช้กันไม่ถึง 2,000 คน ส่วนประเทศมีทั้งหมด 5 ประเทศ และ 3 ดินแดนที่อยู่ในเขตนี้ ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเมลานีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เม็กกาโลดอน

ม็กกาโลดอน (Megalodon; มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า μέγας (megas) "ใหญ่, ทรงพลัง" และ ὀδoύς (odoús), "ฟัน"—ต้นกำเนิดคือ odont-, ตามที่เห็นในรูปแบบสัมพันธ์รูปแบบ ὀδόντος, odóntos; หมายความโดยรวม คือ ฟันใหญ่) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เม็ก (Meg) ปลาฉลามขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Carcharocles megalodon โดยเดิมใช้ชื่อวิทยาศาตร์ว่า Carcharodon megalodon ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันกับปลาฉลามขาว (C. carcharias) ด้วยเชื่อว่ามีพฤติกรรมและลักษณะคล้ายคลึงกัน แม้ว่าเม็กกาโลดอนจะมีขนาดใหญ่กว่ามาก และจัดอยู่ในวงศ์ Lamnidae แต่ปัจจุบันได้มีการพิจารณาใหม่ให้ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Carcharocles megalodon และอยู่ในวงศ์ Otodontidae ซึ่งเป็นวงศ์ของปลาฉลามขนาดใหญ่ที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในอันดับ Lamniformes.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเม็กกาโลดอน · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงวอร์สไปท์ (03)

รือหลวงวอร์สไปท์ (HMS Warspite 03) เป็นเรือประจัญบานในชั้นควีนอลิซาเบธของราชนาวี เธอได้เข้าร่วมรบในสงครามตั้งแต่เริ่มสงครามโลกครั้งที่ 1 จนจบสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลอดช่วงเวลา 30 ปี เธอได้ออกปฏิบัติการทางทะเลมาแล้วนับไม่ถ้วนไม่ว่าจะเป็นใน มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรอาร์กติกและมหาสมุทรแปซิฟิก เธอล้วนเคยไปมาแล้ว ในตอนสงครามโลกครั้งที่ 1การปะทะหลักๆที่เหมือนเป็นการเปิดตัววอร์ไปท์ คือ ยุทธนาวีจัตแลนด์ อันดุเดือดระหว่างอังกฤษกับเยอรมณี โดยทีเธอเป็นหนึ่งในเรือในกองเรือ Grand Fleet ของนายพล John R. Jellicoe โดยที่สังกัดภายใต้กองเรือลาดตระเวนประจันบาญที่บัญชาการโดย พลโท David Beatty และต่อมาระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 วอร์สไปท์ได้รับการปรับปรุงเรือใหม่โดยที่ได้รับการพัฒนามากมาย ทั้งระบบขับเคลื่อน เกราะ และยุทโธปกรณ์ รวมถึงเครนขนเครื่องบินน้ำอีกด้วย ทำให้เป็นเรือที่ทันสมัยมากขึ้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเรือหลวงวอร์สไปท์ (03) · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำในอาเซียน

นื่องด้วยสภาพภูมิประเทศของบรรดาสมาชิกอาเซียน มีภูมิศาสตร์ติดกับทะเลและเป็นหมู่เกาะ อีกทั้งเมื่อนับความยาวของชายฝั่งและทะเลแล้ว ยังมีความยาวมากที่สุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งทรัพยากรธรรมทั้งน้ำมัน แหล่งอาหาร รวมถึงมีแหลมสุมาตราและช่องแคบมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ของ การขนส่งสินค้า และการเดินทางโดยเรือ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเรือดำน้ำในอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบานชั้นยะมะโตะ

รือประจัญบานชั้นยะมะโตะ เป็นเรือประจัญบานของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJN) ดำเนินการจัดสร้างขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยระวางขับน้ำเต็มที่ถึง 72,000 ตัน ทำให้ยะมะโตะเป็นชั้นเรือประจัญบานที่ใหญ่ที่สุดและติดอาวุธหนักที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา เรือชั้นนี้ติดตั้งปืนใหญ่ขนาด 460 มม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเรือประจัญบานชั้นยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบานมุซาชิ

รือประจัญบานมุซาชิ เป็นเรือประจัญบานของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง และเป็นเรือธงแห่งกองเรือผสม ได้รับการตั้งชื่อตามจังหวัดมุซาชิซึ่งเป็นชื่อจังหวัดในสมัยโบราณของญี่ปุ่น เป็นเรือลำที่สองในชั้นยามาโตะต่อจากเรือประจัญบานยามาโตะ เป็นเรือที่หนักและติดอาวุธหนักที่สุดเท่าที่เคยมีการสร้างขึ้นมา ด้วยระวางขับน้ำเต็มที่ถึง 72,800 ตันและติดตั้งปืนใหญ่ขนาด 460 มม.ถึง 9 กระบอก เรือสร้างขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเรือประจัญบานมุซาชิ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในประเทศชิลี

ซาลัสอีโกเมซ เวลาในประเทศชิลี แบ่งเขตเวลาออกเป็น 3 แบบ ได้แก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเวลาในประเทศชิลี · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเรียกของคธูลู

"เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาใต้

้นขนานที่ 10 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ บางส่วนของชายแดนระหว่างประเทศบราซิลและประเทศเปรูถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 10 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

้นขนานที่ 10 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง 43 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 11 ชั่วโมง 33 นาที ในระหว่างเหมายัน ส่วนของเขตแดนระหว่างประเทศกินีและประเทศเซียร์ราลีโอนถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้ ช่องแคบสิบองศาในมหาสมุทรอินเดียตั้งชื่อตามเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 15 องศาใต้

้นขนานที่ 15 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 15 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 15 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ

้นขนานที่ 15 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 15 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา เอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง แคริเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก ในเหตุการณ์ความขัดแย้งชาด–ลิเบียระหว่างปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาใต้

้นขนานที่ 20 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 20 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 25 องศาใต้

้นขนานที่ 25 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลกทางใต้ของทรอปิกออฟแคปริคอร์น เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 25 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ

้นขนานที่ 25 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก, ทวีปอเมริกาเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นชายแดนจุดเหนือสุดของมาลีซึ่งแบ่งกับมอริเตเนีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 42 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาใต้

้นขนานที่ 30 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 83.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 36.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 30 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ

้นขนานที่ 30 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก โดยมีระยะทางเป็นหนึ่งในสามระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกเหนือ เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก โดยเส้นนี้เป็นเส้นแบ่งเขตโดยประมาณทางด้านใต้ของละติจูดม้าในซีกโลกเหนือ หมายถึง พื้นที่แผ่นดินส่วนมากที่เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือสัมผัส เป็นพื้นที่แห้งแล้งหรือมีภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง หากมีลมพัดจากแหล่งน้ำพื้นที่นั้นก็มีโอกาสเป็นพื้นที่กึ่งเขตร้อน ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ที่ละติจูดนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 31 องศาเหนือ

้นขนานที่ 31 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 31 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก โดยมีระยะทางเป็นหนึ่งในสามระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกเหนือ เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 8 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 31 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาใต้

้นขนานที่ 35 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 35 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ

้นขนานที่ 35 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ในสหรัฐอเมริกา เส้นขนานนี้กำหนดเป็นเส้นแบ่งเขตทางใต้ของรัฐเทนเนสซี, และเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐจอร์เจีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ

้นขนานที่ 36 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 36 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาใต้

้นขนานที่ 40 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ในวันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์ทำมุม 26.17° กับขอบฟ้า และ 73.83° ในวันที่ 21 ธันวาคม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 40 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ

้นขนานที่ 40 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 1 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 20 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ

้นขนานที่ 41 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 8 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 43 องศาใต้

้นขนานที่ 43 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 43 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 43 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 44 องศาใต้

้นขนานที่ 44 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 44 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 44 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 45 องศาใต้

้นขนานที่ 45 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 45 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นขนานนี้เป็นจุดกึ่งกลางทางทฤษฎีระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกใต้ จุดกึ่งกลางที่แท้จริงอยู่ที่ 16.2 กิโลเมตร (10.1 ไมล์) ทางใต้ของเส้นขนานเนื่องจากโลกไม่ได้เป็นทรงกลมที่สมบูรณ์ แต่ป่องที่บริเวณเส้นศูนย์สูตรและแบนที่บริเวณขั้วโลก แตกต่างจากคู่เส้นขนานทางซีกโลกเหนือซึ่งเกือบทั้งหมดของเส้นขนานนี้ (ร้อยละ 97) ผ่านพื้นที่ที่เป็นมหาสมุทร เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเชีย (ผ่านนิวซีแลนด์แต่พึ่งพ้นจากรัฐแทสเมเนีย) มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 37 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 46 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 45 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 46 องศาใต้

้นขนานที่ 46 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 46 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 46 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 47 องศาใต้

้นขนานที่ 47 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 47 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 47 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 48 องศาใต้

้นขนานที่ 48 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 48 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 48 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 49 องศาใต้

้นขนานที่ 49 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 49 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก และ ทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 49 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 5 องศาใต้

้นขนานที่ 5 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 5 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ

้นขนานที่ 5 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาใต้

้นขนานที่ 50 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 63.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 16.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 50 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ

้นขนานที่ 50 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน โดยดวงอาทิตย์จะมีมุมเงยสูงสุดในครีษมายันที่ 63.5 องศา และเหมายันที่ 16.5 องศา ที่ละติจูดนี้ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลโดยเฉลี่ยระหว่าง..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาใต้

้นขนานที่ 55 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 55 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ

้นขนานที่ 55 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 56 องศาใต้

้นขนานที่ 56 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 56 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 56 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 57 องศาใต้

้นขนานที่ 57 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 57 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 57 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 58 องศาใต้

้นขนานที่ 58 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 58 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 58 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 59 องศาใต้

้นขนานที่ 59 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 59 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 59 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาใต้

้นขนานที่ 60 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 61 องศาใต้

้นขนานที่ 61 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 61 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 61 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 62 องศาใต้

้นขนานที่ 62 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 62 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 62 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 63 องศาใต้

้นขนานที่ 63 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 63 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 63 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 64 องศาใต้

 เส้นขนานที่ 64 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 64 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติกา .

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 64 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 65 องศาใต้

 เส้นขนานที่ 65 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 65 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 66 องศาใต้

้นขนานที่ 66 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 66 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 66 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 70 องศาใต้

้นขนานที่ 70 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 70 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรใต้และ ทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นขนานที่ 70 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นนัซกา

้นนัซกา (Nazca Lines) เป็นลายเส้นลึกลับที่กินอาณาเขตพื้นที่กว่า 520 ตารางกิโลเมตรบนทะเลทรายนัซกา ระหว่างเมืองนัซกากับเมืองปัลปาในแคว้นอีกา ประเทศเปรู สันนิษฐานว่าชาวนัซกาโบราณ (ซึ่งครอบครองดินแดนเปรูมาก่อนยุคจักรวรรดิอินคา) ขุดลายเส้นเหล่านี้ขึ้นเมื่อประมาณ 200 ปีก่อนคริสตกาลถึงประมาณปี ค.ศ. 500 ชาวนัซกาโบราณเป็นเกษตรกรเพาะปลูกอยู่บนที่ราบชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ไม่ได้ทิ้งหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรไว้เลย ที่พอจะเข้าใจได้บ้างก็มาจากการศึกษาสุสานและข้าวของเครื่องใช้ในหลุมฝังศพเท่านั้น ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าเพราะเหตุใดพวกเขาจึงทำลวดลายเหล่านี้ขึ้น ลายเส้นนัซกาที่ทำขึ้นเป็นแบบวิธีเดียวกันหมด คือ ขุดเอาหินทรายสีแดงบนพื้นผิวทะเลทรายออก แล้วเปิดให้เห็นชั้นหินสีเหลืองอ่อนที่อยู่ข้างใน ไม่มีร่องรอยการใช้สัตว์ช่วยแม้แต่น้อย และภาพเป็นเส้นเดียวไม่ขาดตอน ภาพของลายเส้นนัซกาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือภาพที่เป็นรูปทรงและภาพที่เป็นเส้นลายเฉย ๆ มีภาพสัตว์ นก รูปเรขาคณิต เป็นต้น เส้นนัซกาได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นนัซกา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นแบ่งเขตวันสากล

รูปแสดงเส้นแบ่งเขตวันสากล (สีดำกลางภาพ) เส้นแบ่งเขตวันสากล (International Date Line: IDL) เป็นเส้นสมมติที่ลากในแนวเหนือ-ใต้บนพื้นผิวของโลก ผ่านใจกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งกำหนดสถานที่ซึ่งวันตามปฏิทินเริ่มต้น เส้นดังกล่าวอยู่ที่ประมาณลองติจูด 180 องศา ตรงข้ามกับเส้นเมริเดียนแรก แต่ลากอ้อมบางดินแดนและกลุ่มเกาะบางกลุ่ม เวลาทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากลช้ากว่าทางตะวันตกอยู่ 1 วัน เมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันออกจึงต้องหักวันออกหนึ่งวัน และเมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันตกต้องเพิ่มวันเข้าหนึ่งวัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นแบ่งเขตวันสากล · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก

ซด, รัฐเนแบรสกา เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 79 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 101 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 106 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 106 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 74 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 106 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 71 องศาตะวันตก  .

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตก

ในแคนาดา เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตกนี้มีความหมายว่าเป็นเส้นแบ่งเขตส่วนหนึ่ง ระหว่างนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์และนูนาวุต และยังเป็นเส้นแบ่งเขตโดยประมาณระหว่างรัฐแอลเบอร์ตาและรัฐซัสแคตเชวัน เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันออก ในแคนาดา เส้นเมริเดียนนี้ถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นเขตแดนระหว่างนูนาวุตและนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ ทางเหนือของเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ ซึ่งแต่เดิมเส้น 110 องศาตะวันตกนี่ มีความตั้งใจที่จะใช้เป็นเมริเดียนที่สี่สำหรับการสำรวจการปกครองที่ดิน แต่เพราะวิธีการสำรวจที่เวลาไม่สมบูรณ์ เส้นเมริเดียนนี้จึงถูกกำหนดไว้ ห่างเพียงไม่กี่ร้อยเมตรจากเส้นลองจิจูดนี้ และเส้นเมริเดียนที่สี่นี้ได้ถูกใช้เป็นแนวเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐแอลเบอร์ตาและรัฐซัสแคตเชวัน ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันออก ระหว่างเส้นศูนย์สูตรและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ ถูกใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันออกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์แปซิฟิกใต้ และใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันตกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์ละตินอเมริกัน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 120 องศา มีความหมายเป็นส่วนหนึ่งของเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐบริติชโคลัมเบีย และรัฐแอลเบอร์ตาในแคนาดา และใช้เป็นเส้นแบ่งเขตโดยประมาณระหว่างรัฐแคลิฟอร์เนีย และรัฐเนวาดาในสหรัฐอเมริกา เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออก ในแคนาดา เส้นเมริเดียนนี้ถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นเขตระหว่างรัฐบริติชโคลัมเบียและรัฐแอลเบอร์ตา และในสหรัฐอเมริกา เส้นนี้มีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐเนวาดา สำหรับเวลาสุริยเฉลี่ย เส้นนี้มีความหมายเป็นการกำหนดเขตเวลาแปซิฟิก (UTC−08:00) ในช่วงเวลามาตรฐานซึ่งถูกใช้เป็นส่วนมากในปี อย่างไรก็ตาม เส้นนี้ยังถูกใช้สำหรับเวลาออมแสงอลาสกา ซึ่งเป็นเวลาออมแสงที่ถูกใช้เป็นเวลาตามฤดูกาลเกือบ 2/3 ของปี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 121 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 122 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 123 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 124 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 56 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 56 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 126 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 54 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 54 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 127 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 53 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 53 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 128 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 52 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 52 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 129 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 131 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 132 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 133 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 134 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก สำหรับเขตเวลาอลาสก้า เส้นนี้เป็นฐานของเวลาสุริยะเฉลี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 136 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 137 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 138 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 139 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นนี้เป็นเส้นแบ่งพื้นที่รับผิดชอบระหว่างศูนย์เฮอร์ริเคนแห่งชาติกับศูนย์เฮอร์ริเคนแปซิฟิกกลาง ในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 141 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 142 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 143 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 144 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 146 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 34 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 34 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 147 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 33 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 33 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 148 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 32 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 32 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 149 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 31 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 31 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ (ทั้งหมดอยู่ภายในรัฐอลาสก้า) มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้ มีความหมายเป็นเส้นเขตแดนทางตะวันออกสุดของดินแดนอ้างสิทธิ์ของนิวซีแลนด์ โดยดินแดนต่อมาในด้านตะวันออกไม่ได้ถูกอ้างสิทธิ์โดยชาติใด เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออก สำหรับเขตเวลาฮาวาย-อะลูเชียน เส้นนี้เป็นฐานของเวลาสุริยะเฉลี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 151 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 152 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 153 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 154 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 156 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 157 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 158 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 159 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้มีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างดินแดนแอนตาร์กติกาของออสเตรเลียกับรอสส์ดีเพนเดนซี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 161 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 162 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 163 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 164 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 166 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 167 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 168 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 169 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออก

้นเมริเดียน 170 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 10 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 8 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 8 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 5 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 5 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา

'''เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา''' เส้นแบ่งเขตวันสากลจะซิกแซกอยู่รอบ ๆ เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา หรือ แอนติเมริเดียน คือเส้นเมริเดียนซึ่งอยู่ ณ ตำแหน่ง 180° ตะวันออกหรือตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก ซึ่งใช้เป็นเส้นหลักของเส้นแบ่งเขตวันสากลเพราะส่วนใหญ่ของเส้นลากผ่านมหาสมุทรแปซิฟิก อย่างไรก็ตามเส้นเมริเดียนนี้ยังลากผ่านรัสเซียและฟิจิ รวมทั้งแอนตาร์กติกาด้วย เส้นนี้เริ่มต้นจากขั้วโลกเหนือมุ่งหน้าลงไปทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาลากผ่านพื้นที่ดังนี้ ! Width.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ สำหรับเขตเวลาตะวันออก (ขณะที่ใช้มาตรฐานเวลาที่ UTC−05:00) เส้นนี้ถือเป็นเส้นฐานของเวลาสุริยะเฉลี่ย เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้มีความหมายเป็นเส้นเขตแดนทางตะวันตกของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี และผ่านกลางอ้างสิทธิ์ของชิลี ซึ่งเป็นพื้นที่ทับซ้อนกัน เส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 98 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกากลาง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ อ่าวเม็กซิโก อเมริกากลาง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้มีความหมายเป็นเส้นเขตแดนทางตะวันตกของอ้างสิทธิ์ของชิลี ซึ่งดินแดนทางตะวันตกจากนี้ไปไม่ได้ถูกอ้างสิทธิ์โดยชาติใด เส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 94 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 94 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ อ่าวเม็กซิโก ทวีปอเมริกากลาง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 94 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 86 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 94 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ อ่าวเม็กซิโก ทวีปอเมริกากลาง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เอมีลีโอ อากีนัลโด

อมีลีโอ ฟามี อากีนัลโด (Emilio Famy Aguinaldo) เป็นนักปฏิวัติในการเรียกร้องเอกราชของฟิลิปปินส์จากสเปน รุ่นเดียวกับโฮเซ รีซัล และอันเดรส โบนีฟาซีโอ เขาเป็นผู้นำในการลุกฮือขึ้นต่อสู้กับสเปนด้วยอาวุธหลังการถูกประหารชีวิตของรีซัล เป็นนักปฏิวัติชาวฟิลิปปินส์ที่มีบทบาทในการจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 แยกออกมาจากการเป็นอาณานิคมของสเปนในครั้งแรก เมื่อ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอมีลีโอ อากีนัลโด · ดูเพิ่มเติม »

เอลนีโญ

อลนีโญ (El Niño) เป็นรูปแบบสภาพอากาศที่เกิดขึ้นตลอดมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน โดยเกิดขึ้นเฉลี่ยทุกห้าปี ลักษณะของเอลนีโญ คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุณหภูมิผิวน้ำทะเลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก โดยอุ่นขึ้นหรือเย็นลงผิดปกติ ซึ่งเรียกว่า เอลนีโญและลานีญาตามลำดับ และความดันบรรยากาศบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเขตร้อน ซึ่งเรียกว่า ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้สองกรณี: เอลนีโญ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ส่วนลานีญา เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรเย็นลงผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศต่ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก กลไกที่ทำให้เกิดความผันแปรดังกล่าวยังคงอยู่ในระหว่างการศึกษาวิจัย เอนโซก่อให้เกิดสภาพอากาศเลวร้าย อย่างเช่น อุทกภัย ภัยแล้ง หรือการรบกวนสภาพอากาศในหลายภูมิภาคของโลก ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีเศรษฐกิจเน้นเกษตรกรรมและการประมง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับผลกระทบมากที่สุด ส่วนใหญ่แล้ว ปรากฏการณ์เอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ มักถูกเรียกย่อเหลือเพียง "เอลนีโญ" ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน ซึ่งแปลว่า "เด็กชาย" และหมายความถึงบุตรพระคริสต์ เนื่องจากมีการสังเกตว่าความอุ่นขึ้นผิดปกตินี้มักเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลคริสต์มาส ลักษณะที่เกิดจากเอนโซเป็นไปได้ว่าก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอันเป็นผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อน และเป็นเป้าหมายสำหรับการวิจัยในการนี้.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอลนีโญ · ดูเพิ่มเติม »

เอลเซท 127 กรัฟ เซพเพลิน

กราฟ เซปเปลิน LZ 127 กำลังลดระดับเพื่อร่อนลงจอด ภาพถ่ายประมาณปี 1929-30 โดย Alexander Cohrs แอลแซด 127 กราฟ เซปเปลิน (Deutsches Luftschiff Zeppelin #127; หมายเลขทะเบียน: D-LZ 127) เป็นเรือเหาะของบริษัท ลุฟชิฟบาว เซปเปลิน เยอรมนี.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอลเซท 127 กรัฟ เซพเพลิน · ดูเพิ่มเติม »

เออัว

อีอูอา เป็นเกาะขนาดเล็กแต่มีความสำคัญมากเกาะหนึ่งของประเทศตองกา เออัวตั้งอยู่ใกล้กับเขตการปกครองโตงาตาปู แต่มีการปกครองที่ไม่ขึ้นต่อกัน โดยเออัวมีพื้นที่ทั้งสิ้น 87.44 km2 และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเออัว · ดูเพิ่มเติม »

เอปตาเซีย

อปตาเซีย หรือ ดอกไม้ทะเลแก้ว หรือ แอนนีโมนแก้ว (Glass anemones, Glassrose anemones, Rock anemones) เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกดอกไม้ทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aiptasia จากการสำรวจเมื่อปี ค.ศ. 1831 พบว่าเอปตาเซียมีจำนวนทั้งหมด 17 ชนิด โดยสามารถพบได้ทั่วไปในทะเลเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนทั่วไป จำนวนชนิดของเอปตาเซียส่วนใหญ่จะกระจายอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ขณะที่ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกมี 2 ชนิด คือ Aiptasia californica และA. pulchella ที่พบได้เฉพาะมหาสมุทรแห่งนี้ เอปตาเซียมีลักษณะทางกายวิภาค คือ มีรูปร่างคล้ายต้นปาล์ม เจริญเป็นตัวเดี่ยว ๆ หรืออาจพบเจริญเป็นกลุ่ม แต่จะไม่มีเนื้อเยื่อเชื่่อมถึงกันเหมือนกับปะการัง เนื้อเยื่อทั้งตัวของเอปตาเซียเรียกว่า โพลิป ซึ่งในโพลิปจะประกอบด้ว.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอปตาเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียแปซิฟิก

อเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific) หรืออาจเรียกว่า เอแปก (Apac) เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย คำว่า "เอเชีย-แปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

เผือก

ผือก (var. esculenta) เป็นพืชล้มลุกอายุยืนในวงศ์ Araceae ต้นตรง ไม่มีเนื้อไม้ มีหัวใต้ดินสะสมอาหาร ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านดอกอวบใหญ่ สั้นกว่าก้านใบ ดอกตัวผู้และตัวเมียขนาดเล็กอยู่แยกกันบนแกนช่อ ดอกตัวเมียสีเขียวอยู่โคน ดอกตัวผู้สีขาวอยู่ปลาย ผลมีเนื้อเป็นกระจุกแน่น มี 1-10 เมล็ด เผือกเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือตอนใต้ของเอเชียกลาง ปัจจุบันใช้ปลูกเป็นพืชอาหารในหมู่เกาะเวสต์อินดีสต์ แอฟริกาและเอเชีย เป็นอาหารหลักในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และปาปัวนิวกินี รวมทั้งชาวเกาะในอินโดนีเซีย เผือกรับประทานได้หลายส่วน โดยหัว หัวย่อย ไหล ใบและก้านใบเมื่อต้มสุกสามารถรับประทานได้ แป้งจากเผือกรับประทานทั้งเป็นอาหารหลักและอาหารว่าง ใช้ใบเผือกห่อปลาเค็มหรืออาหารอื่นก่อนนำไปนึ่ง ในฮาวายนำหัวเผือกมาต้ม ตำให้ละเอียด ปล่อยให้เกิดการหมัก กลายเป็นอาหารที่เรียก "ปอย".

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คุก

องเจมส์ คุก นักสำรวจชาวอังกฤษ วาดโดยนาธาเนียล แดนซ์ ปีค.ศ. 1775 จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ทางทะเลแห่งชาติ ในเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เจมส์ คุก (27 ตุลาคม ค.ศ. 1728 - 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1779) เป็นนักสำรวจและนักเดินเรือชาวอังกฤษ และยังเป็นนักทำแผนที่อีกด้วย เขาได้เดินทางไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกสามครั้ง ซึ่งก็ได้ทำแผนที่แนวชายฝั่งไว้ส่วนใหญ่ กัปตัน เจมส์ คุก เป็นบุคคลหนึ่งที่ได้เข้ามาสำรวจประเทศออสเตรเลีย และยึดออสเตรเลียเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นผู้ค้นพบเกาะฮาวายนอกจากนี้เขายังเป็นผู้คนพบเกาะอีกหลายแห่ง เช่น เกาะนิวซิแลนด์ เป็นต้น เจมส์ คุก ถูกฆ่าตายระหว่างการต่อสู้กับชนพื้นเมืองฮาวาย ที่อ่าวเกียลาคีกัว เกาะฮาวายในปี ค.ศ. 1779.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเจมส์ คุก · ดูเพิ่มเติม »

เจงกีส ข่าน

งกีส ข่าน (Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan; หรือ,; Genghis Khan; พ.ศ. 1705 หรือ 1708 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 1770) เจงกีส แปลว่า “เวิ้งสมุทร, มหาสมุทร” (ซึ่งเปรียบได้ว่า เจงกีส ข่าน มีความยิ่งใหญ่ ดั่งเวิ้งมหาสมุทรนั่นเอง) จักรพรรดินักรบชาวมองโกลผู้พิชิต ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิมองโกล เดิมมีนามว่า เตมูจิน (Temüjin) ตามสถานที่เกิดริมฝั่งแม่น้ำโอนอน เป็นผู้นำครอบครัวแทนบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ปราบเผ่า “ไนแมน” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “ตันกุต” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “อุยกูร์” ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเจงกีส ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เทพลิขิต

''ความเจริญของเอมริกา'' ค.ศ. 1872 โดยจอห์น เกสต์ แสดงให้เห็นถึงภาพเชิงเปรียบเทียบของกระบวนการพัฒนาพื้นที่ฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นภาพที่แสดงถึง ''โคลัมเบีย'' บุคลาธิษฐานของสหรัฐอเมริกานำพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่ฝั่งตะวันตกพร้อมกับเหล่าผู้ตั้งรกราก ถือตำราเรียนและร้อยสายโทรเลขไปตามทางขณะลอยเคลื่อนไปทิศตะวันตก ซึ่งเน้นด้วยผู้บุกเบิกที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันพร้อมกับระบบขนส่งทางราง ขณะที่ชนอเมริกันพื้นเมืองและฝูงสัตว์ต่างหลีกหนีด้วยความตื่นกลัว เทพลิขิต หรือ โองการของพระเจ้า (Manifest Destiny) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภารกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก วลี Manifest Destiny ซึ่งมีความหมายว่า ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภารกิจที่ปฏิเสธไม่ได้ นี้ จอห์น โอ ซัลลิแวน นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี ค.ศ. 1845 เมื่อเขาเขียนว่า มันเป็นชะตากรรมของชาติที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว ให้ขยายพรมแดนออกไปและเข้าครอบครองทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด ซึ่งพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า ที่กำหนดให้แก่เรานี้ก็เพื่อพัฒนาประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ของเสรีภาพ และ รัฐบาลสหพันธรัฐที่ ทรงประทานให้แก่เรา แม้ว่าแนวคิดเทพลิขิตไม่เคยถูกระบุว่าเป็นนโยบายพิเศษหรืออุดมการณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ก็เป็นเจตจำนงค์ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ อันเกิดขึ้นจากการผสมผสานแนวคิดรากฐานสำคัญ 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ ลัทธิที่เชื่อว่าคนอเมริกันนั้นมีความพิเศษเหนือชาติอื่น, ลัทธิชาตินิยม และ ลัทธิการแพร่ขยายอาณาเขต นักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่าแนวคิดในบางแง่มุมของเทพลิขิตนั้นยังคงประกอบอยู่เป็นส่วนหนึ่งในนโยบายและมุมมองต่อโลกภายนอกของอเมริกันชนอยู.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเทพลิขิต · ดูเพิ่มเติม »

เทาเทาโมนา

ทาเทาโมนา (Taotao Mona, Taotao Mo'na, Taotaomona, Taotaomo'na; ชามอร์โร: เทาเทา–taotao หมายถึง "บุคคล" หรือ "ผู้คน" และ โมนา–mo'na หมายถึง "ยุคก่อน" โดยรวมความแล้วหมายถึง "คนยุคก่อนประวัติศาสตร์" หรือ "คนโบราณ") เป็นผีหรือวิญญาณชนิดหนึ่งตามความเชื่อของชาวชามอร์โร ซึ่งเป็นกลุ่มชาติปฐมภูมิของดินแดนแถบหมู่เกาะมาเรียนา ในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งได้แก่ เกาะลูตา, เกาะไซปัน, เกาะทีเนียน, เกาะกวม ในประเทศไมโครนีเซีย เชื่อว่าเป็นวิญญาณบรรพบุรุษ สิงสถิตอยู่ตามป่าเขาหรือในถ้ำตามธรรมชาติ เทาเทาโมนา เป็นความเชื่อที่มาแต่ตั้งเดิมของชาวชามอร์โร ก่อนที่ชาวสเปนในยุคล่าอาณานิคมในยุคศตวรรษที่ 17 และ 18 จะเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และพยายามเปลี่ยนความเชื่อทั้งหมดของชาวพื้นเมือง แต่ถึงปัจจุบันความเชื่อเรื่องเทาเทาโมนาก็ยังคงมีอยู่ในหมู่ชาวชามอร์โร ทั้งนี้เชื่อว่า เทาเทาโมนาสิงสถิตอยู่ตามธรรมชาติ หากใครจะล่วงล้ำเข้าในป่าหรือเพื่อเก็บผลไม้ต้องกระทำพิธีการขออนุญาตเสียก่อน เนื่องจากเทาเทาโมนาจะไม่พอใจผู้ที่ล่วงล้ำเข้าไป ทั้งนี้เทาเทาโมนาอาจมาคุกคามผู้คนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมืองได้ โดยเทาเทาโมนาจะไม่ชอบผู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ชาวชามอร์โรจะใช้น้ำหอมและสวมเสื้อผู้ชายของสามี รวมถึงสวมหน้ากากอยู่กับบ้านในเวลากลางคืน เพื่อเป็นการขับไล่เทาเทาโมนา บ้างก็บอกว่าเทาเทาโมนามีรูปร่างเหมือนมนุษย์ที่ตัวผอมแห้ง เนื้อตัวเหม็นเหมือนซากศพและกำลังผุกร่อน แต่ทว่ามีพละกำลังเหนือมนุษย์คล้ายซอมบี บ้างก็บอกว่าไม่มีหัว เทาเทาโมนาสิงอยู่ตามต้นไม้ใหญ่ในป่า เช่น ไม้จำพวกต้นไทร หรือหินที่เรียกว่า หินแลตเต ซึ่งเป็นหินก้อนใหญ่ที่วางตั้งอยู่ทั่วไปทั้งในเมืองและในป่า ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์คล้ายกับสโตนเฮนจ์หรือโมอาย แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยที่ไม่มีใครทราบว่าหินเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร จึงเชื่อว่าเป็นการกระทำของเทาเทาโมนา เทาเทาโมนาจะไม่พอใจผู้ที่ลบหลู่และจะสร้างความเสียหายให้แก่ผู้นั้น เช่น ทำร้ายร่างกาย ครอบครัวรอดริเกซ ครอบครัวชาวชามอร์โรครอบครัวหนึ่ง เชื่อว่าพวกตนสามารถบันทึกเสียงของเทาเทาโมนาไว้ได้ด้วยเทปบันทึกเสียง ในปี..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเทาเทาโมนา · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาเกรตดิไวดิง

ทือกเขาเกรตดิไวดิง (Great Dividing Range) หรือ อีสเทิร์นไฮแลนส์ (Eastern Highlands) เป็นเทือกเขาที่อยู่ทางตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย วางตัวตามแนวชายฝั่ง พาดตามรัฐควีนส์แลนด์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ และรัฐวิกตอเรีย เป็นระยะทาง 3,700 กิโลเมตร (2,300 ไมล์) ถือว่าเป็นเทือกเขาที่มีความยาวเป็นอันดับสามของโลก มันเป็นแนวสันปันน้ำ มีแม่น้ำที่ไหลด้านตะวันออกจากที่ราบสูงกับมหาสมุทรแปซิฟิก มียอดเขาคอสซีอัสโก เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขานี้และประเทศออสเตรเลีย โดยมีความสูง 2,230 เมตร (7,316 ฟุต) การสำรวจเทือกเขานี้ครั้งแรกนั้น สำรวจโดยชาวยุโรปที่ย้ายเข้าไปอยู่ในประเทศออสเตรเลียในปี ค.ศ. 1813 โดยภูมิศาสตร์ของที่นี่เหมาะสำหรับการเกษตรกรรม และการทำเหมืองแร่ นอกจากนี้มันยังมีสถานที่ท่องเที่ยว เช่น อุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเทือกเขาเกรตดิไวดิง · ดูเพิ่มเติม »

เทียนจิน

ทียนจิน หรือ เทียนสิน (พินอินระบบไปรษณีย์: Tientsin) คือหนึ่งใน 4 เทศบาลนครของจีน เทศบาลนครเทียนจินมีระดับเทียบเท่ากับมณฑลและปกครองจากรัฐบาลกลางโดยตรง พื้นที่ของเทียนจินเป็นเมืองที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศจีน มีฉายา "เซี่ยงไฮ้ทางเหนือ" เนื่องจากประวัติที่เดิมเคยเป็นเมืองเช่าของตะวันตก การส่งออกอุตสาหกรรมหนัก เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่และมีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเทียนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อม (พืช)

ระวังสับสนกับ ไม้เท้ายายม่อม เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์ Taccaceae เป็นพืชที่มีหัว มีใบ 1-3 ใบ แต่ละใบจักเป็นสามแฉก เว้าแบบขนนก ดอกเป็นช่อยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 20 - 40 ดอก ผลกลม หัวของพืชชนิดนี้นำไปทำแป้งที่เรียกแป้งเท้ายายม่อม พืชชนิดนี้เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเหนือ นิวกินี ซามัว หมู่เกาะไมโครนีเซีย และฟิจิ และมีการแพร่กระจายไปในหมู่เกาะแปซิฟิกเนื่องมาจากการอพยพของคน ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ ได้แก่ Polynesian Arrowroot (ภาษาอังกฤษ) Pia (ฮาวาย, โพลีเนเซียฝรั่งเศส, Niue, และ หมู่เกาะคุก), Masoa (ซามัว), Mahoaa (ตองกา), Yabia (ฟิจิ) Gapgap (กวม) และ Taka (อินโดนีเซีย).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเท้ายายม่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เขายอดราบใต้สมุทร

อดราบใต้สมุทร เขายอดราบใต้สมุทร (guyot) คือภูเขาใต้ทะเลชนิดหนึ่งมีลักษณะพิเศษคือบนยอดเขานั้นจะเป็นพื้นที่ราบเรียบมักพบในมหาสมุทรที่มีความลึก 1,200-1,800 เมตรบางแห่งอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้างถึง 10 กิโลเมตร Encyclopædia Britannica Online, 2010.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเขายอดราบใต้สมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิทธิพล

ในสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขตอิทธิพล (sphere of influence; SOI) หมายถึงพื้นที่หรือภูมิภาคซึ่งมีรัฐหรือองค์กรหนึ่ง ๆ มีอิทธิพลเหนือกว่าในด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การทหารหรือการเมือง ขณะที่อาจมีการจัดตั้งพันธมิตรอย่างเป็นทางการหรือพันธกรณีในรูปสนธิสัญญาอื่น ๆ ระหว่างดินแดนที่แผ่อิทธิพลและดินแดนที่อยู่ภายใต้อิทธิพล การจัดการอย่างเป็นทางการในรูปแบบเขตอิทธิพลนี้ไม่จำเป็น และบ่อยครั้งที่อิทธิพลสามารถเป็นตัวอย่างของอำนาจอย่างอ่อน และเช่นเดียวกัน พันธมิตรอย่างเป็นทางการก็ไม่จำเป็นจะต้องหมายความว่าประเทศหนึ่งอยู่ในเขตอิทธิพลของอีกประเทศหนึ่งด้วย ในกรณีสุดขั้ว ประเทศที่อยู่ใน "เขตอิทธิพล" ของอีกประเทศหนึ่งนั้นอาจเป็นรองรัฐนั้นและเป็นเสมือนกับรัฐบริวารหรืออาณานิคมในทางพฤตินัย ระบบเขตอิทธิพลซึ่งชาติทรงอำนาจเข้าแทรกแซงกิจการภายในของอีกประเทศหนึ่งนั้นยังคงมีสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน และบ่อยครั้งมักจะถูกวิเคราะห์ในรูปแบบของอภิมหาอำนาจ มหาอำนาจ และ/หรือรัฐระดับกลาง ยกตัวอย่างเช่น ระหว่างช่วงที่รุ่งเรืองที่สุดของจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง จักรวรดิญี่ปุ่นมีเขตอิทธิพลขนาดใหญ่มาก รัฐบาลญี่ปุ่นได้ปกครองดินแดนบางส่วนโดยตรงในกรณีของเกาหลี แมนจูเรีย เวียดนาม ไต้หวัน และบางส่วนของจีน ดังนั้น "วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา" จึงสามารถถูกวาดอย่างง่าย ๆ บนแผนที่มหาสมุทรแปซิฟิกเป็นวงขนาดใหญ่ล้อมรอบหมู่เกาะญี่ปุ่นและชาติเอเชียและแปซิฟิกที่อยู่ภายใต้การควบคุมนั่นเอง บางครั้งหลายส่วนของประเทศอาจอยู่ภายใต้เขตอิทธิพลสองเขตที่แตกต่างกัน ในสมัยอาณานิคม อิหร่านและไทยมีสถานะเป็นรัฐกันชนตั้งอยู่ระหว่างจักรวรรดิของอังกฤษกับรัสเซียและอังกฤษกับฝรั่งเศสตามลำดับ ถูกแบ่งแยกระหว่างเขตอิทธิพลของรัฐจักรวรรดิ เช่นเดียวกัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็นเขตยึดครองสี่ส่วน ซึ่งในภายหลังได้รวมตัวกันเป็นเยอรมนีตะวันตกกับเยอรมนีตะวันออก อดีตสมาชิกของนาโต และประเทศหลังเป็นสมาชิกของสนธิสัญญาวอร์ซอ หมวดหมู่:รัฐศาสตร์ หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:สังคมวิทยา.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเขตอิทธิพล · ดูเพิ่มเติม »

เขตคารากา

ตคารากา หรือ เขตบริหารคารากา หรือ เขตที่ 13 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะมินดาเนา เขตนี้ถูกก่อตั้งโดย กฎหมายสาธารณรัฐที่ 7901 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเขตคารากา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเบอไลต์

อไลต์ (Belait) เป็น 1 ใน 4 เขตการปกครองของประเทศบรูไน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ โดยทางทิศตะวันออกติดกับเขตตูตง ทิศตะวันตกและทิศใต้ติดกับรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย และทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเขตเบอไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

เข็มขัดไทเฮโย

ซันโย ชิงกันเซ็ง เข็มขัดไทเฮโย หรือ เข็มขัดแปซิฟิก หรือ ระเบียงเศรษฐกิจโทไกโด เป็นชื่อของเขตอภิมหานครในประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่จังหวัดอิบะระกิในภาคกลางไปจนถึงจังหวัดชิซุโอะกะในเกาะคีวชู ซึ่งมีระยะทางกว่า 1,200 กิโลเมตร เขตเมืองทางยาวนี้ ขนาดไปกับชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่นตั้งแต่ภาคคันโตถึงโอซะกะ และบริเวณทะเลในไปจนถึงฟุกุโอะกะ ซึ่งเป็นแนวเส้นทางของทางรถไฟสายโทไกโด-ซันโย ทั้งนี้ ภาพถ่ายดาวเทียมในตอนกลางคืนจะเห็นแสงไฟของเข็มขัดไทเฮโยเป็นแนวยาวได้อย่างชัดเจน.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเข็มขัดไทเฮโย · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย

อะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง The Thin Red Line กำกับโดย เทอร์เรนซ์ มาลิค นำแสดงโดย จิม คาวีเซล, ฌอน เพนน์, เบน แชปลิน, นิค โนลเต้, แดนนี่ ไมฮ็อค, อีเลียส โคเทียส์, วู้ดดี้ ฮาเรลสัน, จอห์น คูแช็ค, จอห์น ซาเวจ, จอห์น ซี. ไรลี่ย์, เอเดรียน โบรดี้, ทิม เบลค เนลสัน, จาเร็ด เลโต, จอห์น ทราโวลต้า, จอร์จ คลูนีย์ ความยาว 170 นาที.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย · ดูเพิ่มเติม »

เตยทะเล

ตยทะเล หรือ Pandanus odoratissimus ชื่ออื่นๆคือลำเจียก ปะหนัน ปะแนะ เตยเล Hala (ภาษาฮาวาย), Bacua (ภาษาสเปน), และ Vacquois (ภาษาฝรั่งเศส) เป็นพืชท้องถิ่นในไทย มาเลเซีย ออสเตรเลียตะวันออก และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นไม้ยืนต้น สูง 4-8 เมตร มีหนามสั้นๆทู่ๆ ที่ผิวของลำต้น ที่โคนต้นมีรากค้ำจุน ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อ แยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้เป็นช่อดอกยาว 30 - 60 ซม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเตยทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เต่ายักษ์กาลาปาโกส

ต่ายักษ์กาลาปาโกส หรือ เต่ากาลาปาโกส (Galápagos tortoise, Galápagos giant tortoise) สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกเต่า จัดเป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง นับเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีลักษณะเด่น คือ กระดองหนา มีสีเทาเข้มจนถึงสีดำ มีคอที่ยาวมากเพื่อใช้ในการหาอาหาร หัวมีขนาดเล็ก ตัวผู้มีกระดองยาว 122 เซนติเมตร น้ำหนักได้ถึง 250 กิโลกรัม ตัวเมียจะตัวเล็กกว่า กระดองยาว 91 เซนติเมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 159 กิโลกรัม วางไข่ประมาณ 9-25 ฟอง ไข่จะฟักในอุณหภูมิประมาณ 35-40 องศาเซลเซียส แต่จะเหลือลูกเต่าไม่ถึงครึ่งที่มีชีวิตรอดจากการวางไข่แต่ละครั้ง ชอบอาศัยในที่พุ่มไม้เตี้ย ในบึง และเนินทรายชายฝั่ง และมีอายุยืนได้นานมากกว่า 100 ปี หรือเกือบ ๆ 200 ปี เต่ายักษ์กาลาปาโกส เป็นเต่าที่กินพืชเป็นอาหาร โดยสามารถกินพืชที่ขึ้นที่แห้งแล้งชนิดต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย รวมถึงพืชที่มีหนามแหลมอย่างกระบองเพชรด้วย และจากการศึกษาจากนักวิทยาศาสตร์พบว่าเมื่อถึงฤดูแล้งที่สภาพอาหารเหือดแห้ง เต่ายักษ์กาลาปาโกสสามารถปรับตัวให้หัวใจเต้นเพียงครั้งละ 1 ครั้งต่อ 1 นาทีได้ด้วย เพื่อประหยัดพลังงานในการเผาผลาญอาหาร และในช่วงฤดูผสมพันธุ์ จากการติดเครื่องติดตามดาวเทียมพบว่า เต่ายักษ์กาลาปาโกสมีพื้นที่อพยพ 6 ไมล์ จากยอดภูเขาไฟอัลเซโด มาจนถึงระดับน้ำทะเล เพื่อผสมพันธุ์ ซึ่งบางตัวอาจใช้เวลาเดินทางนานถึง 2 เดือน หน้า 100, Close Encounters.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเต่ายักษ์กาลาปาโกส · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหญ้า

ต่าหญ้า หรือ เต่าสังกะสี หรือ เต่าหญ้าแปซิฟิก (Olive ridley sea turtle, Pacific ridley) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lepidochelys olivacea เป็นเต่าทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60-70 เซนติเมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-40 กิโลกรัม กระดองมีสีเขียวมะกอกหรือสีน้ำตาล เกล็ดบนกระดองมีลักษณะซ้อนกันเหมือนสังกะสีมุงหลังคา อันเป็นที่มาของอีกชื่อเรียกหนึ่ง ส่วนท้องมีสีเหลืองออกขาว หัวค่อนข้างโต ดวงตาปูนโปนออกมา กระดองมีความแข็งมาก ริมฝีปากสั้นทู่และคมแข็งแรงมากเพื่อใช้สำหรับขบกัดกินสัตว์มีกระดองซึ่งเป็นอาหารหลัก ส่วนของกระดองและท้องเชื่อมต่อกัน เป็นเต่าทะเลที่ว่ายน้ำได้เร็วมาก โดยอาจว่ายได้ถึง 35 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ในมหาสมุทรแอตแลนติกพบน้อยมาก กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น กุ้ง, ปลา, แมงกะพรุน, ปู, หอย, สาหร่ายทะเลและหญ้าทะเล ในน่านน้ำไทยจะพบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน ในอ่าวไทยจะพบได้น้อยกว่า จัดเป็นเต่าทะเลอีกชนิดหนึ่งที่พบได้น้อบมากในน่านน้ำไทย โดยการวางไข่มีรายงานว่าพบที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น โดยไม่พบในฝั่งอ่าวไทย และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเต่าหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

เต่าตนุ

ต่าตนุ (Green turtle) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelonia mydas อยู่ในวงศ์ Cheloniidae และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelonia เป็นเต่าทะเลที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีน้ำหนักมากเมื่อโตเต็มที่ โดยมีความยาวตั้งแต่หัวจรดหางประมาณ 1 เมตร น้ำหนักราว 130 กิโลกรัม หัวป้อมสั้น ปากสั้น เกล็ดเรียงต่อกันโดยไม่ซ้อนกัน กระดองหลังโค้งนูนเล็กน้อย บริเวณกลางหลังเป็นแนวนูนเกือบเป็นสัน ท้องแบนราบขาทั้ง 4 แบน เป็นใบพาย ขาคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าขาคู่หน้ามาก ขาคู่หน้ามีเล็บแหลมเพียงข้างละชิ้น สีของกระดองดูเผิน ๆ มีเพียงสีน้ำตาลแดงเท่านั้น แต่ถ้าหากพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าเกล็ดแต่ละเกล็ดของกระดองหลังมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลอมเขียว ขอบเกล็ดมีสีอ่อน ๆ เป็นรอยด่างและมีลายเป็นเส้นกระจายออกจากจุดสีแดงปนน้ำตาล คล้ายกับแสงของพระอาทิตย์ที่ลอดออกจากเมฆ จึงมีชื่อเรียกเต่าชนิดนี้ว่าอีกชื่อหนึ่งว่า "เต่าแสงอาทิตย์" ขณะที่ชาวตะวันตกเรียกว่า "เต่าเขียว" อันเนื่องจากมีกระดองเหลือบสีเขียวนั่นเอง พบกระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นับเป็นเต่าทะเลชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในน่านน้ำไทย โดยมักพบในเขตที่มีอุณหภูมิน้ำที่ค่อนข้างอุ่น คือ สูงกว่า 20 องศาเซลเซียสขึ้นไป เต่าตนุเป็นเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จะกินพืชเป็นหลัก โดยกินอาหารจำพวก หญ้าทะเลหรือสาหร่ายทะเล โดยมีสัตว์น้ำขนาดเล็กทั่วไป เช่น ปลาหรือแมงกะพรุน เป็นอาหารรองลงไป โตเต็มที่เมื่ออายุได้ 4-7 ปี เชื่อว่าอายุยืนถึง 80 ปี ฤดูวางไข่ตกอยู่ในราวเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนกันยายนในบริเวณอ่าวไทยและอยู่ในราวเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ในทะเลอันดามัน จำนวนไข่ต่อครั้งมีตั้งแต่ 70-150 ฟอง เต่าขนาดโตเต็มที่แล้วจะว่ายน้ำหากินไปเรื่อย ๆ แต่จะกลับมาวางไข่บนชายหาดที่ถือกำเนิด เป็นเต่าที่มักพบในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งหรือตามเกาะต่าง ๆ สำหรับในน่านน้ำไทย พบเต่าชนิดนี้ขึ้นวางไข่มากที่เกาะครามและเกาะกระในอ่าวไทย และทางฝั่งทะเลอันดามันพบวางไข่มากที่อุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแห่งในจังหวัดภูเก็ตและพังง.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเต่าตนุ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร

อมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร (15 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 14 เมษายน พ.ศ. 2503) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ศึกษาวิชาการบินจากกองโรงเรียนการบินที่ 1 เมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)

ซอร์ไวเวอร์ คือ รายการ เรียลลิตี้โชว์ ซึ่งถูกสร้างในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ในรายการเซอร์ไวเวอร์นี้ผู้เข้าแข่งขันจะถูกปล่อยเกาะกลางทะเลหรือป่าที่ห่างไกลผู้คน และจะต้องแข่งขันกันเพื่อเงินรางวัล เซอร์ไวเวอร์ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก รายการ Expedition Robinson ของสวีเดนซึ่งมีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน ประเด็นสำคัญมาจากเรื่องราวการเอาตัวรอดในสถานะการที่ยากลำบากท่ามกลางธรรมชาติของ โรบินสัน ครูโซ และทำให้เซอร์ไวเวอร์กลายเป็น "เรียลลิตี้โชว์ต้นแบบ" เนื่องจากได้รับความนิยมและทำให้รายการในรูปแบบนี้เริ่มผลิตออกมาเรื่อยๆ ในช่วงต่อม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ มาร์เคซัส

ซอร์ไวเวอร์ มาร์เคซัส (Survivor: Marquesas) เป็นฤดูกาลที่ 4 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ ถ่ายทำที่เกาะนูกูฮีวา หมู่เกาะมาร์เคซัส ในเฟรนช์โปลินีเซีย เขตปกครองพิเศษของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิก หลังจากฤดูกาลที่ 1 ที่ถ่ายทำในสถานที่อันเป็นชายหาดและเว้นว่างไป 2 ฤดูกาล ในฤดูกาลนี้ก็ได้กลับมาถ่ายทำในสถานที่อันเป็นชายหาดอีกครั้ง โดยบนเกาะนี้ขึ้นเกี่ยวกับชนเผ่าที่มีความเป็นนักรบสูง มีความน่ากลัวและน่าเกรงขาม บางครั้งเมื่อพวกเขาชนะการต่อสู้ศัตรูจะถูกนำมาเป็นอาหาร รอยสักของชนเผ่าถือเป็นลักษณะลายที่สวยงามแต่แฝงไว้ด้วยพลังแห่งการต่อสู้อย่างแท้จริง ออกอากาศวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ถึง 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเซอร์ไวเวอร์ มาร์เคซัส · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ คุกไอส์แลนด์ส

ซอร์ไวเวอร์ คุก ไอส์แลนด์ (Survivor: Cook Islands) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ และจัดการแข่งขันขึ้นที่ หมู่เกาะคุก ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ในฤดูกาลนี้ทุกๆสัปดาห์ ผู้เข้าแข่งขันอย่างน้อย หนึ่งคนจะถูกส่งไปปล่อยเกาะอัปยศ บนเกาะมีเพียงไม้ขีด 1 กล่องและน้ำจืดที่ไม่สะอาด 1 ถังเท่านั้น แต่ที่สำคัญบนเกาะนี้มีเครื่องรางคุ้มกันที่ซ่อนอยู่ และสามารถนำไปใช้ในสภาเผ่าได้ โดยถ้าคนที่เก็บเครื่องรางนี้ได้มีคะแนนโหวตมากที่สุดสามารถใช้เครื่องรางนี้เพื่อให้คนที่มีคะแนนโหวตน้อยรองลงมาถูกโหวตออกแทน ซึ่งเป็นกติกาเดิมเหมือนฤดูกาลที่ผ่านมาคือ เซอร์ไวเวอร์ ปานามา รวมถึงฤดูกาลนี้เมื่อพิธีกรให้สิทธิ์ในการทำกบฏ ก็ได้มีสมาชิกทำการกบฏไปอยู่อีกเผ่าหนึ่งด้วย นอกจากนั้นครั้งนี้เป็นฤดูกาลแรกที่แบ่งเผ่าจากเชื้อชาติของผู้เข้าแข่งขัน ออกเป็น 4 เผ่า เผ่าละ 5 คน คือ ชาวอเมริกาผิวขาว (คอร์เคซอย), ชาวอเมริกาเชื้อสายเอเชีย (ในฤดูกาลนี้ประกอบไปด้วย ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, เกาหลีใต้), ชาวอเมริกาเชื้อสายลาติน (ฮิสแพนิค), ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน รวมถึงเป็นฤดูกาลแรกที่สภาเผ่าครั้งสุดท้ายได้เปลี่ยนจาก 2 คนเป็น 3 คนอีกด้วย ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่สองที่ได้เพิ่ม เครื่องรางภูมิคุ้มกันที่ซ่อนไว้ ซึ่งสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยเมื่อพิธีกรอ่านผลโหวตจบแล้วจึงค่อยสามารถเอาเครื่องรางออกมาใช้ได้จึงไม่มีการที่จะถูกโหวตออกโดยที่เสียเครื่องรางไปอย่างเปล่าประโยชน์ การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเซอร์ไวเวอร์ คุกไอส์แลนด์ส · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นได

ซ็นได เป็นเมืองเอกของจังหวัดมิยางิ ประเทศญี่ปุ่น และเป็นเมืองใหญ่สุดในภาคโทโฮกุ มีประชากรอาศัยอยู่ราวหนึ่งล้านคน และเป็นหนึ่งใน 19 เมืองที่กำหนดขึ้นโดยคำสั่งของรัฐบาลญี่ปุ่น เซ็นไดก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและเซ็นได · ดูเพิ่มเติม »

Kola Superdeep Borehole

แสตมป์รูปหลุมเจาะ KSDB Kola Superdeep Borehole (KSDB) เป็นผลของโครงการการขุดเจาะทางวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในอดีต โครงการนี้ได้พยายามเจาะลงไปในเปลือกโลกให้ลึกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเจาะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ที่ คาบสมุทร Kola โดยใช้เครื่องเจาะ Uralmash-4E และภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเครื่องเจาะ Uralmash-15000 การเจาะได้แตกแขนงออกเป็นหลายช่องจากช่องกลาง แขนงที่มีความลึกที่สุดคือ SG-3 ได้เจาะเสร็จสิ้นเมื่อปีค.ศ. 1989 มีความลึก 12,262 เมตร (7.6 ไมล์) และได้กลายเป็นหลุมที่มีความลึกมากที่สุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษ.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและKola Superdeep Borehole · ดูเพิ่มเติม »

Tabernaemontana

Tabernaemontana orientalis Tabernaemontana เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ตีนเป็ด มี 100-110 สปีชีส์ เป็นพืชที่กระจายตัวในเขตร้อน เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเรียงตรงข้าม ยาว 3–25 เซนติเมตร ยางขาวเหมือนน้ำนม จึงมักเรียกพืชในสกุลนี้ว่า "milkwood" ดอกมีกลิ่นหอม สีขาว พุดจีบ (Tabernaemontana divaricata cv. 'Plena') ซึ่งมีกลับซ้อนเป็นสายพันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ส่วน T. coronaria เป็นพืชที่นิยมใช้ในการจัดสวนอีกชนิดหนึ่ง ชื่อสกุลนี้ตั้งตามชื่อของ "บิดาแห่งพฤกษศาสตร์เยอรมัน" Jacobus Theodorus Tabernaemontanus.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและTabernaemontana · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ1 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+14 m²

1 E+14 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 100 ล้าน ถึง 1,000 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 100 ล้านตารางกิโลเมตร ---- มหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ประมาณ 169.2 ล้าน ตร.กม. (เรียงจากซ้ายไปขวา)'''ดาวพุธ''''''ดาวศุกร์''' มีพื้นที่ 460 ล้าน ตร.กม.'''โลก''' มีพื้นที่ 510 ล้าน ตร.กม.'''ดาวอังคาร''' มีพื้นที่ 144.8 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ1 E+14 m² · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2012 วันสิ้นโลก

2012 วันสิ้นโลก (2012) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวหายนะและวันสิ้นโลก อำนวยการสร้างโดยโรแลนด์ เอ็มเมอริค นำแสดงโดย จอห์น คูแซก อมานดา พีท แดนนี่ กลอเวอร์ ทันดี นิวตัน โอลิเวอร์ แพลท ชิเวเทล อีจีโอฟอร์ วู้ดดี้ ฮาร์เรลสัน ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกเผยแพร่โดยค่ายหนังโคลัมเบียพิกเจอส์ โดยที่การถ่ายทำภาพยนตร์เริ่มต้นในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ2012 วันสิ้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มกราคม

วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ 28 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 337 วันในปีนั้น (338 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาสมุทรแปซิฟิกและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

PacificPacific Oceanมหาสมุทรแปซิฟิคแปซิฟิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »