โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

ดัชนี พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน (Harold Godwinson หรือ Haraldur Guðinason) (ราว ค.ศ. 1022 – 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์และพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1022 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของกอดวิน เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ และ กีธา ธอร์เคลสเดิทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับเอลด์จิธ สวอนเน็ค และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1066 จนทรงถูกสังหารในยุทธการเฮสติงส์ แบตเติล เมื่อทรงพยายามต่อต้านกองทัพของดยุคแห่งนอร์มังดีที่ยกมารุกรานอังกฤษ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 หลังจากที่พระเจ้าฮาโรลด์เสด็จสวรรคต สภาวิททันก็ประกาศให้สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง ขึ้นครองราชสมบัติต่อมาแต่มิได้ทรงสวมมงก.

23 ความสัมพันธ์: ชาวอังกฤษชาวไวกิงพ.ศ. 1565พรมผนังบาเยอพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันราชวงศ์เวสเซกซ์ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษลางสงครามร้อยปีอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันอาสนวิหารบาเยออิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษประวัติศาสตร์เดนมาร์กเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เดนลอว์

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1565

ทธศักราช 1565 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1565 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนังบาเยอ

วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1066 และเหตุการณ์ระหว่างสงครามเอง คำบรรยายในพรมผนังบาเยอเป็นภาษาละติน ปัจจุบันผ้าผืนนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส เอกสารฉบับแรกที่กล่าวถึงพรมผนังบาเยออยู่ในเอกสารการสำรวจสิ่งของของมหาวิหารบาเยอเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพรมผนังบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1027 (พ.ศ. 1570) และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1087 (พ.ศ. 1630) ทรงเป็นลูกนอกสมรสของโรเบิร์ตที่ 2 ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและเฮอร์เลวา เดิมทรงมีฐานะเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1066 (พ.ศ. 1609) หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1051 ในประเทศฮังการีปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัย ผู้เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ และ อากาธา พระเจ้าเอ็ดการ์ เป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ “Ironside” ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1066 จนถึงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1066 พระเจ้าเอ็ดการ์ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “เอ็ดการ์ผู้นอกกฎหมาย” (Edgar the Outlaw) หรือ “เอ็ดการ์ที่ 2” ทรงเป็นกษัตริย์เวสต์แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชวงศ์เซอร์ดิค ทรงได้รับการประกาศให้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษแต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1057 เอ็ดการ์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระอัยกา สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ แต่เอ็ดการ์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะครองราชสมบัติและสามารถป้องกันประเทศที่มึเค้าการรุกรานของฝรั่งเศสโดย ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ดังนั้นเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตสภาวิททันจึงเลือก ฮาโรลด์ กอดวินสัน ผู้เป็นน้องเขยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จสวรรคตที่ยุทธการเฮสติงส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 เอ็ดการ์จึงได้รับการประกาศให้เป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 โดยสภาวิททันในลอนดอน แต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ พระเจ้าเอ็ดการ์ถูกส่งตัวให้ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ราวหกถึงแปดอาทิตย์ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 14 หรือ 15 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี หรือนักบุญเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี (Edward the Confessor หรือ Saint Edward the Confessor) (ราว ค.ศ. 1003/1004 – 4 มกราคม ค.ศ. 1066) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เวสเซ็กซ์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Edward II of England) (25 เมษายน ค.ศ. 1284 – 21 กันยายน ค.ศ. 1327) พระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ดแห่งคายร์นาร์ฟอน (Edward of Caernarfon) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1284 ที่ปราสาทคาร์นาร์ฟอน เกว็นเน็ด เวลส์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 และ สมเด็จพระราชืนีเอเลเนอร์แห่งคาสตีล ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 จนจนกระทั่งถูกปลดจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1327 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1327 ที่ปราสาทบาร์คลีย์ กลอสเตอร์เชอร์ อังกฤษ การที่พระองค์ทรงละเลยขุนนางผู้มีอำนาจไปเข้ากับผู้ที่ทรงโปรดปรานทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองและในที่สุดก็ทรงถูกปลดจากการครองราชย์และปลงพระชนม์ในที่สุด พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะที่เป็นฆาตกรและข้อกล่าวหาที่เป็นผู้ที่รักเพศเดียวกัน พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกที่ก่อตั้งวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงก่อตั้งวิทยาลัยคิงส์ฮอล (King's Hall) เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์

อเธลเร็ดที่ 1 สืบทอดตำแหน่งของพระเชษฐา เอเธลเบิร์ท รัชสมัยของเอเธลเร็ดคือหนึ่งในสงครามกับพวกเดนท์ที่ยาวนาน อิวาร์ผู้ไร้กระดูกกับน้องชาย แฮล์ฟดัน ที่ยึดดับลินเป็นฐานที่มั่นโจมตีและยึดครองยอร์กในปี..866 ที่ซึ่งกลายเป็นอาณาจักรไวกิ้ง (ยอร์วิช) พวกเดนท์เดินทัพลงใต้และยึดครองน็อตติ้งแฮม ในปี..869 พวกเขาแล่นเรือสู่อีลต์แองเกลีย ที่ซึ่งพวกเขาได้ปลงพระชนม์กษัตริย์ท้องถิ่น เอ็ดมุนด์ เวสเซ็กซ์ในตอนนั้นถูกข่มขวัญและเอเธลเร็ดกับพระอนุชา อัลเฟรด ได้ต่อสู้ในสมรภูมิที่ยาวนานต่อเนื่องกับชาวเดนท์ อิวาร์, แฮล์ฟดัน และกุธรุน ที่เรดิ้ง, แอชดาวน์ และเบซิ่ง ช่วงปี..870-871 พวกเดนท์ชิงทรัพย์และปล้นสะดมตลอดการเดินทางออกนอกเมือง การสู้รบครั้งสำคัญครั้งต่อมาคือที่เมเรทุนในแฮมพ์เชียร์ ซึ่งเป็นสมรภูมิที่ไม่ปรากฏผลชี้ขาด เอเธลเร็ดบาดเจ็บสาหัสในสมรภูมิและสวรรคตเนื่องจากบาดแผลที่วิตแชมพ์ตัน ใกล้กับวิมบอร์น ที่ๆพระองค์ถูกฝัง.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน

ผ้าปักบายู (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ หรือ การรุกรานของชาวนอร์มัน (ภาษาอังกฤษ: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1066 โดยการรุกรานราชอาณาจักรอังกฤษที่นำโดยดยุคแห่งนอร์มังดี และชัยชนะที่ได้รับที่ศึกเฮสติงส์ (Battle of Hastings) ผลของสงครามคือการปกครองของชาวนอร์มันในอังกฤษ เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ หลายอย่างในประวัติศาสตร์อังกฤษ ชัยชนะของชาวนอร์มันทำให้อังกฤษเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างอังกฤษและผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรปโดยการนำเจ้านายนอร์มันเข้ามาปกครองบริหารอังกฤษซึ่งทำให้ลดอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียลง ชัยชนะทำให้เกิดราชวงศ์ที่มีอำนาจมากที่สุดราชวงศ์หนึ่งในยุโรปรวมทั้งการก่อตั้งระบบการปกครองที่มีระเบียบแบบแผน และชัยชนะเปลี่ยนแปลงภาษาและวัฒนธรรมอังกฤษและเป็นพื้นฐานของความเป็นคู่แข่งระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศสที่ต่อเนื่องกันมาเป็นพักๆ ร่วมพันปี.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เวสเซกซ์

อังกฤษราวปี ค.ศ. 800 แสดงให้เห็นบริเวณเวสเซ็กซ์ทางตะวันตกเฉียงใต้; เมอร์เซียตอนกลาง; นอร์ทธัมเบรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ; และ อีสแองเกลีย เอสเซ็กซ์ เค้นท์ และ ซัสเซ็กซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หรือ ราชวงศ์เซอร์ดิค (House of Wessex หรือ House of Cerdic) เป็นราชวงศ์แซ็กซอนที่ปกครองราชอาณาจักรทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าเวสเซ็กซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายใต้การนำของพระเจ้าเซอร์ดิคแห่งเวสเซ็กซ์จนกระทั่งรวมเป็นราชอาณาจักรอังกฤษ จากนั้นราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ปกครองอังกฤษทั้งหมดที่เรียกว่า “Bretwalda” ตั้งแต่ สมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช ในปี ค.ศ. 871 ไปจนถึงสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1016 การปกครองของราชวงศ์เวสเซ็กซ์มักจะมีผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์จากฝ่ายอื่นโดยเฉพาะจาก บริเวณเดนลอว์ (Danelaw) ที่ปกครองโดยกฎหมายของเดนมาร์ก และต่อมาโดยสเวน ฟอร์คเบียร์ดผู้ยึดราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ. 1013 ถึง ค.ศ. 1014 ระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรดที่ 2 แห่งอังกฤษ พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดและผู้สืบเชื้อสายของพระองค์ปกครองอังกฤษจนปี ค.ศ. 1042 หลังจากรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าฮาร์ธาคานูท ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ได้รับการฟื้นฟูอยู่ชั่วระยะหนึ่งระหว่างปี ค.ศ. 1042 ถึงปี ค.ศ. 1066 ภายใต้การปกครองของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ และ สมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน หรือพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 2 ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็สิ้นสุดลงไม่นานหลังจากยุทธการเฮสติงส์โดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงผู้ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฮาโรลด์ถูกปลดจากราชบัลลังก์โดยดยุคแห่งนอร์มังดีผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือ “พระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต” (William the Conqueror) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์นอร์มัน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและราชวงศ์เวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 1 เป็นสมเด็จพระราชินีของทั้งประเทศอังกฤษและสกอตแลนด์เป็นพระองค์แรก พระมหากษัตริย์อังกฤษส่วนใหญ่เป็นสมเด็จพระราชาธิบดี คู่อภิเษกสมรสจึงได้รับอิสสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินี" หากพระมหากษัตริย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชสวามีของพระนางจะได้รับพระอิสริยยศอื่น ๆ ตามแต่จะพระราชทาน เมื่อราชอาณาจักรอังกฤษถูกผนวกเข้ากับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ กลายเป็น "ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่" ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ลาง

ลาง (omen, portent หรือ presage) คือ "สิ่งหรือปรากฏการณ์ที่เชื่อกันว่าจะบอกเหตุดีหรือเหตุร้าย" ลางอาจถูกมองว่าดีหรือร้ายก็ได้ ขึ้นอยู่กับการตีความ สัญญาณเดียวกันอาจถูกตีความต่างกันในต่างวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น ความเชื่อโชคลางในสหรัฐอเมริกาและประเทศยุโรปอื่นชี้ว่า แมวดำเป็นลางบอกโชคร้าย ดาวหางมีทั้งตีความว่าเป็นลางดีและลางร้าย ตัวอย่างที่รู้จักกันดีที่สุดอาจเป็นดาวหางฮัลเลย์ ซึ่งเป็น "ลางร้าย" แก่พระเจ้าฮาโรลด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ แต่เป็น "ลางดี" แก่พระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและลาง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามร้อยปี

งครามร้อยปี (Hundred Years' War) เป็นชุดความขัดแย้งระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและสงครามร้อยปี · ดูเพิ่มเติม »

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน (History of Anglo-Saxon England) (ค.ศ. 410 - ค.ศ. 1066) อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันเป็นประวัติศาตร์ของต้นยุคกลางของอังกฤษkjhccgkoohhhhggjgfที่เริ่มตั้งแต่ปลายสมัยโรมันบริเตนจนมาถีงการก่อตั้งราชอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และมาสิ้นสุดลงเมื่อชาวนอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นสมัยที่รู้จักกันทางโบราณคดีว่าบริเตนสมัยหลังโรมัน (Sub-Roman Britain) หรือที่รู้จักกันตามความนิยมว่า "ยุคมืด" (Dark Ages) ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมาก็เริ่มมีการก่อตั้งอาณาจักรที่ใหญ่ขึ้นที่เรียกกันรวม ๆ กันว่า "เจ็ดอาณาจักร" ในช่วงนี้อังกฤษแบ่งเขตการปกครองระหว่างอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซันและบริเตน การรุกรานของไวกิงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 นำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงหลายประการในบริเตน ผู้รุกรานชาวเดนมาร์กโจมตีที่ตั้งถิ่นฐานต่าง ๆ ไปทั่วบริเตน แต่การตั้งถิ่นฐานของชาวเดนมาร์กต่อมาจำกัดอยู่แต่เพียงในบริเวณทางด้านตะวันออกของเกาะอังกฤษ ขณะที่ผู้รุกรานจากนอร์เวย์ที่เข้ามาทางไอร์แลนด์โจมตีทางฝั่งตะวันตกของทั้งอังกฤษและเวลส์ แต่ในที่สุดแองโกล-แซกซันก็มีอำนาจในการปกครองไปทั่วทั้งเกาะอังกฤษสลับกับเดนมาร์กในบางช่วงในบางครั้ง ทางด้านความสัมพันธ์กับแผ่นดินใหญ่ยุโรปก็ความสำคัญมาจนกระทั่งปลายสมัยแองโกล-แซกซัน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบาเยอ

อาสนวิหารบาเยอ (Cathédrale de Bayeux) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งบาเยอ (Cathédrale Notre-Dame de Bayeux) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ประจำมุขมณฑลบาเยอ ตั้งอยู่ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบนอร์มัน-โรมาเนสก์ อาสนวิหารบาเยอมีฐานะเป็นอนุสาวรีย์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศสด้วย ที่ตั้งของอาสนวิหารเดิมเป็นเทวสถานโรมันโบราณ อาสนวิหารบาเยอที่ได้รับการเสกเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1077 เฉพาะพระพักตร์ของวิลเลียม ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและพระมหากษัตริย์อังกฤษ อาสนวิหารบาเยอเป็นสถานที่ที่ดยุกวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีบังคับให้ฮาโรลด์ กอดวินสันให้สัตยาบันที่นำไปสู่การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน อาสนวิหารบาเยอได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและอาสนวิหารบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Isabella of France; ค.ศ.1295 - 22 สิงหาคม ค.ศ.1358) บางครั้งถูกบรรยายไว้ว่าเป็น นางหมาป่าแห่งฝรั่งเศส เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งอังกฤษตั้งแต..1326 จนถึง..1330 พระองค์เป็นพระราชบุตรที่รอดชีวิตคนสุดท้องและพระธิดาคนเดียวของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสกับพระราชินีโจแอนแห่งนาวาร์ พระราชินีอิซาเบลลาเป็นที่เลื่องลือในตอนนั้นในเรื่องของความงาม, ทักษะการทูต และความเฉลียวฉลาด พระราชินีอิซาเบลลามาถึงอังกฤษตอนพระชนมายุ 12 พรรษา ในช่วงยุคแห่งความขัดแย้งที่เติบโตขึ้นระหว่างกษัตริย์กับกลุ่มของบารอนที่มีอำนาจ พระสวามีคนใหม่ของพระองค์มีชื่อเสียงฉาวโฉ่ในเรื่องของการอุปถัมภ์ค้ำชูคนโปรดของพระองค์ เพียซ กาเวสตัน จนมากเกินควร แต่พระราชินีสนับสนุนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในช่วงปีแรกๆ ทรงสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นไปด้วยดีกับเพียซและใช้ความสัมพันธ์กับระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศสของพระองค์ค้ำจุนพลังและอำนาจของตนเอง ทว่าหลังการตายด้วยน้ำมือของพวกบารอนของเพียซ กาเวสตันใน..1312 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดหันไปหาคนโปรดคนใหม่ ฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ ผู้ลูก และพยายามเอาคืนพวกบารอน ผลที่ได้คือสงครามเดสเปนเซอร์และยุคแห่งความเก็บกดภายในประเทศทั่วทั้งอังกฤษ อิซาเบลลาไม่สามารถทนกับฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ได้และใน..1325 ชีวิตแต่งงานกับพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดของพระองค์ก็มาถึงจุดแตกหัก ทรงเดินทางไปฝรั่งเศสภายใต้การอำพรางว่าเป็นภารกิจทางการทูต ราชินีอิซาเบลลาเริ่มต้นความสัมพันธ์ฉันท์ชู้สาวกับโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ และทั้งสองตกลงใจที่จะปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่งและขับไล่ตระกูลเดสเปนเซอร์ออกไป พระราชินีกลับมาอังกฤษพร้อมกับกองทัพทหารรับจ้างกลุ่มเล็กๆ ใน..1326 รีบเคลื่อนตัวไปทั่วอังกฤษอย่างรวดเร็ว กองทัพของกษัตริย์ทอดทิ้งพระองค์ พระราชนีอิซาเบลลาปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่ง ทรงกลายเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในนามของพระโอรส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 หลายคนเชื่อว่าหลังจากนั้นพระราชินีอิซาเบลลาจัดการฆาตกรรมพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 รัชสมัยของพระราชินีอิซาเบลลากับมอร์ติเมอร์เริ่มแตกเป็นเสี่ยงๆ ส่วนหนึ่งเพราะการใช้จ่ายที่สุรุ่ยสุร่ายของพระองค์ แต่ก็เป็นเพราะการแก้ไขปัญหาระยะยาวที่สำเร็จแต่ไม่เป็นที่นิยมของพระราชินี เช่น สงครามกับสกอตแลนด์ ด้วย ใน..1330 พระโอรสของอิซาเบลลา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ปลดมอร์ติเมอร์ลงจาตำแหน่งบ้าง ทรงยึดเอาอำนาจของพระองค์กลับมาและประหารชีวิตคนรักของพระราชินีอิซาเบลลา ทว่าพระราชินีไม่ได้ถูกลงโทษ และชีวิตที่เหลืออยู่อีกหลายปีของพระองค์มีความสำคัญ—แม้จะไม่ใช่ที่ราชสำนักของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด—จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ใน..1358.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและอิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนลอว์

“โกลด์:” บริเวณการปกครองของเดนส์ บริเวณการปกครองของเดนส์ หรือ บริเวณเดนลอว์ (Danelaw, Danelagh; Dena lagu; Danelov) ที่บันทึกใน “พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน” เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ของบริเวณในบริเตนใหญ่ที่ปกครองด้วยกฎหมายของ “เดนส์” ที่อยู่เหนืออิทธิพลของกฎของแองโกล-แซ็กซอน บริเวณบริเตนใหญ่ที่อยู่ใต้การปกครองของเดนส์ในปัจจุบันอยู่ในบริเวณทางเหนือและตะวันออกของอังกฤษ ที่มาของบริเวณการปกครองของเดนส์มาจากการขยายตัวของไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แม้ว่าคำนี้จะมิได้ใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวของไวกิงมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในสแกนดิเนเวียที่ทำให้นักรบไวกิงมีความจำเป็นในการไปล่าทรัพย์สมบัติในอาณาบริเวณใกล้เคียงเช่นเกาะอังกฤษ นอกจากจะใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์แล้ว “บริเวณการปกครองของเดนส์” ก็ยังหมายถึงชุดกฎหมายและคำจำกัดความที่ระบุในสนธิสัญญาระหว่างพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชและขุนศึกชาวเดนส์กูธรัมผู้อาวุโส (Guthrum the Old) ที่เขียนขึ้นหลังจากกูธรัมพ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอัลเฟรดในยุทธการเอธาดัน (Battle of Ethandun) ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและเดนลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Harold Godwinsonสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันฮาโรลด์ กอดวินสัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »