เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน

ดัชนี การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน

ผ้าปักบายู (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ หรือ การรุกรานของชาวนอร์มัน (ภาษาอังกฤษ: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 48 ความสัมพันธ์: ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันชาวแองโกล-แซกซันชาวไวกิงพ.ศ. 1609พรมผนังบาเยอพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษการยุบอารามภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษสมัยกลางมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดรอลโลแห่งนอร์ม็องดีรัฐสภาสหราชอาณาจักรราชวงศ์นอร์มันราชอาณาจักรเวสเซกซ์ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรรายพระนามรัชทายาทอังกฤษศิลปะแองโกล-แซกซันสถาปัตยกรรมกอทิกสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษสถาปัตยกรรมนอร์มันสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สงครามร้อยปีอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มันอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันอาสนวิหารบาเยอดยุกแห่งวินด์เซอร์ดาวหางซีตันเดลาวัลฮอลล์ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักรประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษประวัติศาสตร์เดนมาร์กปราสาทปราสาทเคมบริดจ์นอร์มันนอร์มัน (แก้ความกำกวม)แคว้นนอร์ม็องดีโอเยซไชร์เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้

ราชอาณาจักรซิซิลี (สีเขียว) ในปี ค.ศ. 1154 เท่ากับบริเวณที่นอรมันพิชิตได้เป็นเวลาหลายสิบปี โดยนักรบกลุ่มต่างที่เป็นอิสระต่อกัน ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้ (Norman conquest of southern Italy) การพิชิตอิตาลีตอนใต้ของนอร์มันเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ที่เป็นการต่อสู้ที่เกิดขึ้นหลายครั้งโดยผู้เข้าร่วมหลายฝ่าย ที่ต่างก็ได้ดินแตนมาเป็นของตน จนกระทั่งต่อมาเท่านั้นบริเวณนี้จึงได้รวมตัวกันเป็นราชอาณาจักรซิซิลีที่ไม่แต่จะประกอบด้วยเกาะซิซิลีแต่รวมทั้งดินแดนหนึ่งในสามของทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (ยกเว้นเบเนเวนโตที่ยึดได้สองครั้ง) และกลุ่มเกาะมอลตา และบางส่วนของแอฟริกาเหนือ ภายในห้าสิบปีหลังจากที่นอร์มันได้รับชัยชนะ ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวนอร์มันก็ตามมาตั้งเมืองตั้งกลุ่มการปกครองขึ้นทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี การพิชิตดินแดนอิตาลีแตกต่างจากการพิชิตอังกฤษในปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้

บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน

ันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon Chronicle) เป็นชุดหนังสือรายปีที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษเก่า เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาวแองโกล-แซกซัน เขียนขึ้นราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาจจะที่เวสเซ็กซ์ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช หลังจากนั้นต้นฉบับก็ถูกส่งไปตามอารามต่างๆ ทั่วอังกฤษ แต่ละอารามต่างก็แก้ไขเพิ่มเติมต่อมาเรื่อย ๆ ในกรณีหนึ่งบันทึกถูกเพิ่มเติมมาจนถึงปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและชาวแองโกล-แซกซัน

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและชาวไวกิง

พ.ศ. 1609

ทธศักราช 1609 ใกล้เคียงกั.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพ.ศ. 1609

พรมผนังบาเยอ

วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพรมผนังบาเยอ

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน (Harold Godwinson หรือ Haraldur Guðinason) (ราว ค.ศ. 1022 – 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์และพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ

ระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ (Edgar the Peaceful หรือ Edgar the Peaceable) (ราว ค.ศ. 943 หรือ ค.ศ. 944 - ค.ศ. 975) พระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์เวสเซ็กซ์ พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบเสด็จพระราชสมภพเมื่อราวปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Henry I of England) (ราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของราชอาณาจักรอังกฤษในราชวงศ์นอร์มัน พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

การยุบอาราม

อดีตกลาสตันบรีแอบบีย์ การยุบอาราม (Dissolution of the Monasteries; Suppression of the Monasteries) เป็นกระบวนการตามกฎหมายและการปกครองในช่วง ค.ศ. 1538 ถึงปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและการยุบอาราม

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและภาษาอังกฤษ

ภาษาอังกฤษสมัยกลาง

ษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) เป็นชื่อที่นักภาษาศาสตร์ใช้เรียกภาษาอังกฤษในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งใช้พูดสื่อสารตั้งแต่สมัยชาวนอร์มันพิชิตอังกฤษ ใน..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและภาษาอังกฤษสมัยกลาง

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรและเป็นกกุธภัณฑ์ที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง และเป็นมงกุฎที่ใช้เป็นมงกุฎราชาภิเษก (Coronation crown) อย่างเป็นทางการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของสหราชอาณาจักร มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดมีลักษณะคล้ายกับมงกุฎองค์เดิม ซึ่งสร้างในปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

รอลโลแห่งนอร์ม็องดี

รอลโล หรือ กาอาง รอล์ฟ (Rollo หรือ Gaange Rolf, ภาษานอร์มัน: Rou, Hrólfr, Rollon; ค.ศ. 846 – 930) เป็นชาวไวกิ้งที่กลายเป็นผู้ปกครองคนแรกของนอร์ม็องดี บางครั้งก็ถูกเรียกว่าดยุคที่ 1 แห่งนอร์ม็องดี ชื่อสแกนดิเนเวียของเขาคือ รอล์ฟ ที่ถูกขยายเพิ่มว่า กาอาง รอล์ฟ เนื่องจากเขามีน้ำหนักตัวมากเกินกว่าที่ม้าโตเต็มวัยจะแบกไหว เขาจึงต้องเดิน (หรือ "gaa" ในภาษาดาโนนอร์วีเจียน) รอลโลปรากฏตัวขึ้นมาในฐานะบุคคลที่โดดเด่นท่ามกลางชาวนอร์ส ที่มีฐานที่มั่นถาวรที่มั่นคงบนผืนแผ่นดินของชาวแฟรงก์ในหุบเขาแม่น้ำเซนล่าง พระเจ้าชาร์ลผู้เรียบง่าย กษัตริย์แห่งเวสต์ฟรังเกีย ยกดินแดนระหว่างปากแม่น้ำเซนกับเมืองรูอ็องในปัจจุบันให้เขา แลกกับการให้รอลโลยินยอมยุติการปล้นทรัพย์และให้การคุ้มกันชาวแฟรงก์จากการรุกรานของชาวไวกิ้งในอนาคต รอลโลได้รับการบันทึกครั้งแรกในฐานะผู้นำของผู้ตั้งรกรากชาวไวกิ้งกลุ่มดังกล่าวในกฎบัตรของ..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและรอลโลแห่งนอร์ม็องดี

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและรัฐสภาสหราชอาณาจักร

ราชวงศ์นอร์มัน

ตราสัญลัษณ์ประจำราชวงศ์นอร์มัน ราชวงศ์นอร์มัน (Norman dynasty) เป็นชื่อของราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษตั้งแต่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ ในปีค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและราชวงศ์นอร์มัน

ราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ (Wessex หรือ Westseaxe (ภาษาอังกฤษเก่า)) เวสเซ็กซ์ หรือ “แซ็กซอนตะวันตก” เป็นอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนของแซ็กซอนตะวันตกทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนอังกฤษรวมตัวกันเป็นประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ภายใต้ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หลังจากสมัยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชเวสเซ็กซ์ก็มีฐานะเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ตั้งแต..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

รายพระนามรัชทายาทอังกฤษ

รายพระนามรัชทายาทอังกฤษ นี่คือรายนามบุคคลในช่วงเวลาต่างๆ ที่จะอยู่ในลำดับถัดไปในการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันสวรรคต บรรดาผู้ที่ได้สืบราชบัลลังก์จริงๆจะเป็นตัวอักษรหนา ส่วนทารกที่คลอดออกมาแล้วสิ้นชีวิตหรือรอดชีวิตไม่น้อยกว่าหนึ่งเดือนจะไม่ถูกนับรวมไว้ในรายนามนี้ อาจจะถูกตั้งข้อสังเกตว่าการสืบราชสันตติวงศ์นั้นไม่มั่นคง และไม่ได้รับการควบคุมจากขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมีมาเป็นศตวรรษนับตั้งแต่การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน ในปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและรายพระนามรัชทายาทอังกฤษ

ศิลปะแองโกล-แซกซัน

หนังสือประทานพรเซนต์เอเธลโวลด์''” ที่ประกอบด้วยภาพพระเยซูรับศีลจุ่ม หนังสือแคดมอน” เป็นภาพเทวดารักษาประตูสวรรค์ หลังจากที่อาดัมและอีฟถูกขับจากสวรรค์ หินเฮดดาซึ่งเป็นตัวอย่างของงานสลักหินของสมัยแองโกล-แซกซัน พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน ศิลปะแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon art) คือศิลปะที่สร้างขึ้นในสมัยแองโกล-แซกซันในประวัติศาสตร์อังกฤษโดยเฉพาะตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและศิลปะแองโกล-แซกซัน

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและสถาปัตยกรรมกอทิก

สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ

มหาวิหารเดอรัมเหนือแม่น้ำเวียร์ ด้านหน้ามหาวิหารเซนต์อัลบัน ปุ่มหินกลางหอประชุมนักบวชในมหาวิหารยอร์ก สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ (Architecture of the medieval cathedrals of England) เป็นช่วงระยะเวลาการก่อสร้างมหาวิหารที่เกิดขึ้นในอังกฤษระหว่าง ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ

สถาปัตยกรรมนอร์มัน

องทางเดินกลางของมหาวิหารเดอแรมที่ใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลมสองข้างแม้ว่าจะมีการใช้โค้งแหลมบนเพดานเหนือช่องทางเดินกลางที่เป็นการนำทางของสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมนอร์มัน (Norman architecture) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่วิวัฒนาการโดยนอร์มันในดินแดนต่างๆ ที่ได้เข้าปกครองหรือมีอิทธิพลในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 โดยเฉพาะในการบรรยายถึงสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบอังกฤษ นอร์มันเป็นผู้ริเริ่มการก่อสร้างปราสาท, ป้อมปราการที่รวมทั้งหอกลางแบบนอร์มัน, สำนักสงฆ์, แอบบี, คริสต์ศาสนสถาน และมหาวิหารเป็นจำนวนมากในอังกฤษ ในลักษณะการใช้โค้งกลม (โดยเฉพาะรอบหน้าต่างและประตู) และมีลักษณะหนาหนักเมื่อเทียบกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่กล่าวนี้เริ่มขึ้นในนอร์ม็องดีและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปโดยเฉพาะในอังกฤษซึ่งเป็นที่ที่มีการวิวัฒนาการมากที่สุดและยังคงมีสิ่งก่อสร้างจากยุคนั้นที่ยังหลงเหลืออยู่มากกว่าประเทศอื่น ในขณะเดียวกันตระกูลโอตวิลล์ (Hauteville family) ซึ่งเป็นตระกูลนอร์มันที่ปกครองซิซิลีก็สร้างลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์อีกลักษณะหนึ่งที่มีอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และซาราเซ็นที่ก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” เช่นกันหรือบางครั้งก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ซิซิลี”.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและสถาปัตยกรรมนอร์มัน

สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

มหาวิหารแซงต์ปิแยร์แห่งอองกูเล็ม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (Romanesque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่นความหนาของกำแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้งประทุนซ้อน การใช้โค้งซุ้มอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละชั้นที่ต่างขนาดกันศิลป พีระศรี, ประวัติศาสตร์และแบบอย่างศิลปะ, (แปลและเรียบเรียงโดย เขียน ยิ้มศิริ) (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2512) เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะเรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่นสถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่ และบางแห่งก็ยังใช้เป็นสถานที่สักการะตราบจนทุกวันนี้ Bannister Fletcher, “History of Architecture on the Comparative Method” (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ).

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

สงครามร้อยปี

งครามร้อยปี (Hundred Years' War) เป็นชุดความขัดแย้งระหว่าง..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและสงครามร้อยปี

อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน

แองโกล-นอร์มัน (Anglo-Norman) คือผู้สืบเชื้อสายจากชาวนอร์มันผู้ปกครองอังกฤษหลังจากที่ได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีในปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน

อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน (History of Anglo-Saxon England) (ค.ศ. 410 - ค.ศ. 1066) อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันเป็นประวัติศาตร์ของต้นยุคกลางของอังกฤษkjhccgkoohhhhggjgfที่เริ่มตั้งแต่ปลายสมัยโรมันบริเตนจนมาถีงการก่อตั้งราชอาณาจักรต่าง ๆ ของแองโกล-แซกซัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และมาสิ้นสุดลงเมื่อชาวนอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษ ในปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน

อาสนวิหารบาเยอ

อาสนวิหารบาเยอ (Cathédrale de Bayeux) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งบาเยอ (Cathédrale Notre-Dame de Bayeux) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ประจำมุขมณฑลบาเยอ ตั้งอยู่ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบนอร์มัน-โรมาเนสก์ อาสนวิหารบาเยอมีฐานะเป็นอนุสาวรีย์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศสด้วย ที่ตั้งของอาสนวิหารเดิมเป็นเทวสถานโรมันโบราณ อาสนวิหารบาเยอที่ได้รับการเสกเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและอาสนวิหารบาเยอ

ดยุกแห่งวินด์เซอร์

กแห่งวินด์เซอร์ (Duke of Windsor) เป็นฐานันดรศักดิ์หนึ่งของสหราชอาณาจักร ซึ่งถูกตั้งขึ้นเป็นกรณีพิเศษเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและดยุกแห่งวินด์เซอร์

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและดาวหาง

ซีตันเดลาวัลฮอลล์

ซีตันเดลาวัลฮอลล์ (Seaton Delaval Hall) เป็นคฤหาสน์ชนบทที่ตั้งอยู่ที่ระหว่างซีตันสลูซกับซีตันเดลาวัลในนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ในสหราชอาณาจักร ซีตันเดลาวัลฮอลล์ออกแบบโดยจอห์น แวนบรูห์ในปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและซีตันเดลาวัลฮอลล์

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร (History of the United Kingdom) เป็นประวัติศาสตร์ของอาณาจักรที่เกิดจากการรวมตัวของราชอาณาจักรอังกฤษที่รวมทั้งราชอาณาจักรเวลส์ กับ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นอาณาจักรเดียวกันเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคมค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: History of the British Isles) เป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งและความเป็นพันธมิตรระหว่างผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณต่างๆ ของบริเตนใหญ่, ไอร์แลนด์ และเกาะต่างๆ ที่รวมเป็นเกาะอังกฤษที่รวมทั้งฝรั่งเศส, เยอรมนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก และ สแกนดิเนเวีย ในปัจจุบันเกาะอังกฤษประกอบด้วยรัฐอิสระสองรัฐ: สาธารณรัฐไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร นอกจากนั้นยังมีรัฐที่ขึ้นกับสหราชอาณาจักร: เกิร์นซีย์, เจอร์ซีย์ และ ไอล์ออฟแมน.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและปราสาท

ปราสาทเคมบริดจ์

ปราสาทเคมบริดจ์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ Castle Mound ตั้งอยู่ที่ เคมบริดจ์ เคมบริดจ์เชอร ประเทศอังกฤษ ก่อสร้างขึ้นครั้งแรกหลังจาก การรุกรานของชาวนอร์มัน เพื่อควบคุมเส้นทางเดินทางสำคัญที่มุ่งสู่ทางเหนือของอังกฤษ และมีส่วนสำคัญในความขัดแย้งของระบอบ อนาธิปไตย ในสงครามบารอนใน ครั้งแรก และ ครั้งที่สอง หลังจากการขยายราชอาณาจักรของ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ปราสาทก็ไม่ได้ถูกใช้งานและทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็วในปลายยุคกลาง สิ่งก่อสร้างจากหินถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างอาคารของสถาบันการศึกษาโดยรอบ ปราสาทเคมบริดจ์ได้รับการบูรณะในระหว่างสงครามกลางเมืองของอังกฤษ แต่ก็ได้ทรุดโทรมลงอีกครั้ง ทั้งยังถูกใช้เป็นที่คุมขัง ในช่วงแรก ที่คุมขังในปราสาทได้ถูกรื้อถอนในปี 1842 และได้สร้างที่คุมขังใหม่ในกำแพงชั้นนอกของปราสาท ต่อมาที่คุมขังดังกล่าวได้ถูกรื้อถอนไปในปี 1932 และแทนที่ด้วยศาลากลางมณฑลสมัยใหม่ และคงเหลือ เนินดิน และกำแพงดินบางส่วน สถานที่ดังกล่าวเปิดให้สาธารณชนเข้าชมทุกวันและยังได้ชมทัศนียภาพของอาคารทางประวัติศาสตร์ของเมือง.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและปราสาทเคมบริดจ์

นอร์มัน

ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและนอร์มัน

นอร์มัน (แก้ความกำกวม)

นอร์มัน อาจจะหมายถึง.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและนอร์มัน (แก้ความกำกวม)

แคว้นนอร์ม็องดี

นอร์ม็องดี (Normandie; นอร์มัน: Normaundie; มาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าว่า Normanz รูปพหูพจน์ของ Normant ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำที่แปลว่า "คนจากทางเหนือ" ในภาษาแถบสแกนดิเนเวียหลายภาษา) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส มีอาณาบริเวณสอดคล้องกับดัชชีนอร์ม็องดีในอดีต ในทางบริหาร แคว้นนอร์ม็องดีแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ กาลวาโดส, แซน-มารีตีม, ม็องช์, ออร์น และเออร์ ครอบคลุมเนื้อที่ 30,627 ตารางกิโลเมตร (11,825 ตารางไมล์) คิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของดินแดนฝรั่งเศสทั้งหมด จำนวนประชากรของแคว้น 3.3 ล้านคนคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของประชากรฝรั่งเศสทั้งหมด ภูมิภาคนอร์ม็องดีตามประวัติศาสตร์ประกอบด้วยแคว้นนอร์ม็องดีในปัจจุบัน รวมกับพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งทุกวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมาแยนและจังหวัดซาร์ตในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ หมู่เกาะแชนเนล (ฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่เรียกว่า "หมู่เกาะอังกฤษ-นอร์ม็องดี") ในอดีตก็เป็นส่วนหนึ่งของนอร์ม็องดีเช่นกัน หมู่เกาะนี้มีเนื้อที่ 194 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเขตเจ้าพนักงานศาลสองแห่ง ได้แก่ เกิร์นซีย์และเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นเขตสังกัดราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ชื่อนอร์ม็องดีมีที่มาจากการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของชาวไวกิงหรือ "คนเหนือ" จากนอร์เวย์และเดนมาร์กตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ซึ่งได้รับการยืนยันโดยสนธิสัญญาในพุทธศตวรรษที่ 15 (คริสต์ศตวรรษที่ 10) ระหว่างพระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส กับรอลโลแห่งอาณาจักรเมอเรอ (ในนอร์เวย์ปัจจุบัน) หลังจากการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันในปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและแคว้นนอร์ม็องดี

โอเยซ

อเยซ หรือ โอเย (oyez) เป็นคำอุทานที่จะร้องขึ้นสามครั้งตามประเพณี เมื่อเปิดศาลในสหรัฐอเมริกา และหลาย ๆ ประเทศทางยุโรป ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในศาลอังกฤษไม่จำต้องใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนพิจารณา แต่จะใช้ภาษาฝรั่งเศสทางกฎหมายแทนก็ได้ และภาษาฝรั่งเศสทางกฎหมายนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาฝรั่งเศสที่ค่อย ๆ พัฒนาหลังจากเหตุการณ์ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ ที่ยังผลให้ ภาษาแองโกล-นอร์มันได้เป็นภาษาชั้นสูงในประเทศอังกฤษไป คำว่า "โอเยซ" มีรากมาแต่คำภาษาแองโกล-นอร์มันว่า "โอเยซ" (oyez) อันเป็นพหูพจน์ของคำเชิงสั่งว่า "โอเยอร์" (oyer) ซึ่งมาจากคำภาษาฝรั่งเศส "อูยีร์" (ouïr) หมายความว่า "ไต่สวน" (hear) เพราะฉะนั้น "โอเยซ" จึงหมายความว่า "จะไต่สวนเจ้า" (hear ye) และเดิมใช้เป็นคำตวาดให้หุบปากหรือเรียกความสนใจ การใช้เช่นนี้เป็นเรื่องปรกติสามัญมากสำหรับบริเตนในมัชฌิมยุค ปัจจุบัน คำ "โอเยซ" ยังใช้อยู่ในศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อเริ่มกระบวนพิจารณาแต่ละคราว จ่าศาล (marshal of the Court หรือ Court Crier) จะร้อง "โอเยซ! โอเยซ! โอเยซ! บรรดาผู้มีกิจธุระในศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาอันทรงเกียรตินี้ จงเข้ามาใกล้ และจงมนสิการ ด้วยว่าบัดนี้ศาลจะนั่งพิจารณาแล้ว พระผู้เป็นเจ้าโปรดปกปักสหรัฐและศาลอันทรงเกียรตินี้ด้วยเทอญ" ("Oyez! Oyez! Oyez! All persons having business before the Honorable, the Supreme Court of the United States, are admonished to draw near and give their attention, for the Court is now sitting.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและโอเยซ

ไชร์

ร์ (ภาษาอังกฤษ: Shire) เป็นเขตบริหารการปกครองโบราณของบริเตนใหญ่และออสเตรเลีย คำว่า “ไชร์” กับ “เคาน์ตี้” ใช้แลกเปลี่ยนกันมาตั้งแต่สมัยนอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษ เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 แต่ในภาษาอังกฤษใหม่คำว่า “ไชร์” มักจะไม่ใช้แทนที่คำว่า “เคาน์ตี้” นอกจากนั้นคำว่า “ไชร์” ยังเป็นคำที่ใช้ต่อท้ายชื่อมลฑลหลายมลฑลในอังกฤษ เช่น มลฑลฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ หรือ มลฑลเลสเตอร์เชอร์ แต่จะออกเสียง “เชอร์” เมื่อเป็นส่วนหนึ่งของชื่อมลฑล ในออสเตรเลีย “ไชร์” ยังคงใช้เป็นเขตบริหารการปกครองในปัจจุบัน.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและไชร์

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

อิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ (Earl of Wessex) เป็นบรรดาศักดิ์อังกฤษที่เคยพระราชทานให้สองครั้งในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ ครั้งหนึ่งในช่วงก่อนการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน และอีกช่วงหนึ่งคือในสมัยที่เป็นสหราชอาณาจักรแล้ว โดยเวสเซ็กซ์ นั้นมาจาก "West Saxons" ในบริเวณภาคใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ ซึ่งครั้งหนึ่งนั้นเคยเป็นอาณาจักรของชาวแองโกล-แซกซันในช่วงเจ็ดอาณาจักร ซึ่งต่อมาได้มีการขยายอาณาเขตในช่วงศตวรรษถัดมาอันเป็นต้นกำเนิดของราชอาณาจักรอังกฤษในยุคต่อม.

ดู การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันและเอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Norman ConquestNorman conquest of EnglandNorman invasionการรุกรานของชาวนอร์มันการรุกรานของนอร์มันการพิชิตอังกฤษโดยนอร์มันชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษชัยชนะของนอร์มัน