โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ดัชนี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ. 2494) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมอินทร์ วรวรรณ ณ อยุธยา เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นอดีตพระคู่หมั้นในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับการสถาปนาเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทั้งนี้พระองค์เป็นเสือป่าหญิงคนแรกของประเทศไทยครูตุ๊เจ้.

12 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยศเจ้านายไทยพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระนางเธอลักษมีลาวัณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์หอพระนากเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์7 เมษายน

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ (The Vallabhabhorn Order) เรียกโดยย่อว่า "ว.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีและ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมเจ้าหญิงวรรณวิมล วรวรรณพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »