โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ดัชนี พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

27 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยศเจ้านายไทยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีการสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วังลักษมีวิลาศศรอนงค์ศาลาเฉลิมกรุงสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงหอพระนากอาคารวรรณสรณ์ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ข้างหลังภาพคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยนารถ ถาวรบุตรแก้ว อัจฉริยะกุลโกศ29 สิงหาคม3 กรกฎาคม

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ. 2494) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมอินทร์ วรวรรณ ณ อยุธยา เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นอดีตพระคู่หมั้นในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับการสถาปนาเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทั้งนี้พระองค์เป็นเสือป่าหญิงคนแรกของประเทศไทยครูตุ๊เจ้.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและการสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วังลักษมีวิลาศ

วังลักษมีวิลาศ ตั้งอยู่ที่ถนนศรีอยุธยา แยกพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันถูกรื้อแล้ว.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและวังลักษมีวิลาศ · ดูเพิ่มเติม »

ศรอนงค์

2502 ละครทีวี ช่อง 4 2507 ละครทีวี ช่อง 4 2554 คอนเสิร์ต ตำนานเพลงรักบางขุนพรหม --> ศรอนงค์ เป็นละครประกอบเพลงวิจิตรตระการตา บทประพันธ์ของ ขุนวิจิตรมาตรา แสดงโดยคณะ "ละครเฉลิมกรุง" ซึ่งพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระมเหสีในรัชกาลที่ 6 ทรงรื้อฟื้นนำชาวละครคณะปรีดาลัย ของ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พระบิดา มาฝึกซ้อมเปิดการแสดง ที่ ศาลาเฉลิมกรุง เมื่อ..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและศรอนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

อาคารวรรณสรณ์

อาคารวรรณสรณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 35 ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 เป็นศูนย์การศึกษาที่ประกอบด้วยโรงเรียนกวดวิชากว่า 20 สถาบัน ร้านอาหาร-ศูนย์อาหาร, ร้านหนังสือ, ศูนย์ทันตกรรมและความงาม เป็นอาคารสูง 18 ชั้นรวมชั้นใต้ดิน 1 ชั้น มีลิฟต์ 4 ตัวเป็นแบบบริการด้านหน้า 3 ตัวและขนของด้านหลัง 1 ตัว มีพื้นที่ใช้สอย 38,614 ตารางเมตร สามารถจอดรถยนต์ได้กว่า 260 คัน รองรับนักเรียนสูงสุดได้เกือบ 20,000 คนต่อรอบ ซึ่งจะเห็นภาพการมาใช้บริการของนักเรียนและผู้ปกครองในลักษณะเช่นนี้ได้ในทุก ๆ ช่วง วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ และช่วงปิดภาคการศึกษ.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและอาคารวรรณสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ

| ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ หรือ รถไฟรางเล็กสายเพชรบุรี-บางทะลุ เป็นทางรถไฟที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและขนส่งเสบียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวยามเสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ พระตำหนักหาดเจ้าสำราญในจังหวัดเพชรบุรี มีระยะทางราว 15 กิโลเมตร ถือเป็นหนึ่งในเส้นทางคมนาคมหลักของข้าราชบริพารที่ตามเสด็จมาหาดเจ้าสำราญในขณะนั้น เดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ. 2475 และเป็นผู้แต่งหนังสือต่างๆ หลายเรื่อง เช่น หลักไทย ภูมิศาสตร์สุนทรภู่ เป็นต้น นับได้ว่าเป็นนักคิด นักค้นคว้า และนักเขียนสำคัญคนหนึ่งของ ยุครัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ข้างหลังภาพ

้างหลังภาพ คือ นวนิยายประพันธ์โดยศรีบูรพา หรือชื่อจริงว่า กุหลาบ สายประดิษฐ์ เริ่มตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์ประชาชาติรายวัน เมื่อ พ.ศ. 2479 เป็นเรื่องราวของความรักต่างวัย ต่างสถานะ นอกจากเรื่องราวที่กินใจแล้ว ภาษาที่ใช้ในเรื่องเป็นภาษาที่งดงาม มีวลีที่เป็นที่ชื่นชอบมากมาย นวนิยายเรื่องนี้เมื่อรวมเล่มได้รับการตีพิมพ์ซ้ำถึง 39 ครั้ง ยังได้รับการยกย่องด้วย ความงามในเชิงวรรณศิลป์ และถูกนำไปแสดงเป็นละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมถึงละครเวที ในรูปแบบละครเพลงอีกด้วย กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนเรื่องนี้โดยอาศัยประสบการณ์จริงที่เคยไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและข้างหลังภาพ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย

ณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย (หรือ คนะกัมการส่งเสิมวัธนธัมภาสาไทย) ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 โดยมีวัตถุประสงค์ปรับปรุงส่งเสริมวัฒนธรรมทางภาษาไทยให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น และเพื่อพิจารณาปรับปรุงส่งเสริมภาษาไทยและหนังสือไทย ทั้งในทางเรียงความ ร้อยแก้ว และกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ทั้งนี้ คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยได้ยกร่างและเสนอรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามให้ประกาศใช้อักขรวิธีไทยแบบใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

นารถ ถาวรบุตร

นารถ ถาวรบุตร (16 ตุลาคม พ.ศ. 2448 - 26 มกราคม พ.ศ. 2524) นักดนตรี และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะเพลงที่แต่งคู่กับครูแก้ว อัจฉริยกุล.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและนารถ ถาวรบุตร · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว อัจฉริยะกุล

แก้ว อัจฉริยะกุล หรือ ครูแก้ว หรือ แก้วฟ้า (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 — 8 ตุลาคม พ.ศ. 2524) เป็นผู้จัดละครเวที เขียนบทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน์ เจ้าของคณะละครวิทยุ และเป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงอมตะจำนวนมากที่ยังถูกนำมาร้องจนถึงปัจจุบัน อาทิ รำวงวันลอยกระทง, รำวงเริงสงกรานต.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและแก้ว อัจฉริยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) พระบรมโกศ, พระโกศ และ โกศ คือที่ใส่พระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระบรมศพ,พระศพ และ ศพที่มีบรรดาศักดิ์สูง ในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งดวงพระวิญญาณ /วิญญาณกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและโกศ · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระนางเธอลักษมีลาวัณและ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมเจ้าหญิงวรรณพิมล วรวรรณ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »