โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บริติชราช

ดัชนี บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

123 ความสัมพันธ์: บกเปี้ยนบริติชมาลายาชวาหะร์ลาล เนห์รูบะมอชาลส์ เทรเวเลียน บารอเนตที่ 1ชาวบริติชชาวจีนในอินเดียชีค มูจิบูร์ เราะห์มานฟอร์ตเซนต์จอร์จ (อินเดีย)พ.ศ. 2428พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858พระนางศุภยาลัตพระนางอเลนันดอพระเจ้าอมานุลเลาะห์พระเจ้าธีบอพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพี.ซี. โซการ์กลุ่มรัฐกะเรนนีกองทัพไทยกะเรนนีตะวันตกการพลัดถิ่นการยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลีการรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียตการล้อมทูบลักการสังหารหมู่ในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2485การทัพกัลลิโพลีการทัพมาลายาการทัพตูนิเซียการทัพแอฟริกาเหนือการเลิกล้มราชาธิปไตยฝรั่ง (คน)ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภีมราว รามชี อามเพฑกรมรสุมมหาตมา คานธีมูฮัมมัด อิกบาลมูฮัมหมัด ยูนูสมงกุฎแห่งอินเดียยุทธการที่กาซาลายุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งรวี ศังกรรอเบิร์ต ไคลฟ์รัฐกันชนรัฐมหาราชารัฐอรุณาจัลประเทศรัฐทรูเชียลราชวงศ์ตีมูร์ราม นาถ โกวินท์รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป...รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศพม่ารายชื่อธงในประเทศอินเดียรายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุลรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรลักเมลัทธิอาณานิคมวิกฤตการณ์คลองสุเอซวิศาขาปัตตนัมวินสตัน เชอร์ชิลศรีนิวาสะ รามานุจันศาสนาฮินดูแบบบาหลีศาสนาแบบอินเดียสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสัตยชิต รายสัตยาเคราะห์เกลือสันยุกตปรานต์สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1สุพรหมัณยัน จันทรเศขรสุกานตะ ภัฏฏาจารยะสุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สามสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่งสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947สงครามแปซิฟิกสงครามโบเออร์ครั้งที่สองสนธิสัญญาแวร์ซายอับบาส มีร์ซาอับดุล ฮามิดอักษรไกถีอัคระอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรอาหมอินทิรา คานธีผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดิอินเดียจักรวรรดิบริติชจูลี คริสตีธงชาติพม่าธงชาติปากีสถานที. เอช. ไวท์ขบวนการทิเบตเอกราชนานาชาติคราวน์โคโลนีความตกลงสมบูรณ์แบบควาลิยัรคานธี (ภาพยนตร์)ตำหนักออสบอร์นประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประณัพ มุขัรชีประเทศบังกลาเทศประเทศปากีสถานในเครือจักรภพปลาช่อนบาร์กาปากีสถานตะวันออกนรคีส ทัตต์โกลกาตาโกจเจรีล รามัน นารายณันโดซาไซล สิงห์ไซโง ทะกะโมะริเฟรดดี เมอร์คูรีเส้นทางการค้าเส้นดูรันด์เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะเอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์เจ้าส่วยแต้กเจ้าหญิงเมกถีหล่าเจ้าหญิงเมียะพะยาเจ้าหญิงเมียะพะยากะเลเทวัน นายัรเซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1เซอร์ไซยิด อาหมัด ข่านเปอร์เวซ มูชาร์ราฟ ขยายดัชนี (73 มากกว่า) »

บกเปี้ยน

กเปี้ยน,ฐิรวุฒิ เสนาคำ.

ใหม่!!: บริติชราชและบกเปี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

บริติชมาลายา

ริติชมาลายา (British Malaya) เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มของรัฐบนคาบสมุทรมาเลย์และเกาะสิงคโปร์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของอังกฤษระหว่างพุทธศตวรรษที่ 23 – 25 ซึ่งต่างจากบริติชอินเดียซึ่งไม่รวมรัฐราชบุตรของอินเดีย บริติชมลายามักใช้กล่าวถึงรัฐมาเลย์ที่ถูกอังกฤษควบคุมโดยอ้อม เช่นเดียวกับอาณานิคมช่องแคบที่อังกฤษปกครองโดยตรง ก่อนการจัดตั้ง สหภาพมลายาใน..

ใหม่!!: บริติชราชและบริติชมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

ชวาหะร์ลาล เนห์รู

วาหะร์ลาล เนห์รู (जवाहरलाल नेहरू ชวาหรลาล เนหรู; Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964) รัฐบุรุษของอินเดีย และนายกรัฐมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต..

ใหม่!!: บริติชราชและชวาหะร์ลาล เนห์รู · ดูเพิ่มเติม »

บะมอ

มอ (Ba Maw; ဘမော်) เป็นนักชาตินิยมชาวพม่าที่มีบทบาทในพม่าก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของพม่าในสมัยที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ และเป็นผู้นำของพม่าหลังจากถูกญี่ปุ่นยึดครอง.

ใหม่!!: บริติชราชและบะมอ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ เทรเวเลียน บารอเนตที่ 1

ลส์ เทรเวเลียน บารอเนตที่ 1 (’’Charles Trevelyan, 1st Baronet’’; 2 เมษายน ค.ศ. 1807 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 1886) ชาลส์ เทรเวเลียนข้าราชการชาวอังกฤษและข้าหลวงแห่งมัทราส เทรเวเลียนผู้ที่ถือกำเนิดที่ทอนทันในมณฑลซัมเมอร์เซ็ทเป็นบุตรของจอร์จ เทรเวเลียนอาร์คดีคอนแห่งทอนทัน และ ภรรยาแฮร์เรียต ในคริสต์ทศวรรษ 1830 เทรเวเลียนทำงานที่โกลกาตาในบริติชราชและมีบทบาทในด้านการศึกษา ระหว่างปี..

ใหม่!!: บริติชราชและชาลส์ เทรเวเลียน บารอเนตที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบริติช

วบริติช เป็นชนชาติหรือคนพื้นเมืองของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร และคราวน์ดีเพนเดนซี ตลอดจนผู้สืบเชื้อสายจากชนชาตินี้ กฎหมายสัญชาติสหราชอาณาจักรสมัยใหม่ถือว่าหมายถึงผู้ถือความเป็นพลเมืองและสัญชาติสหราชอาณาจักร แต่ในบริบททางประวัติศาสตร์จะหมายถึงชาวบริตัน ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของเกาะบริเตนใหญ.

ใหม่!!: บริติชราชและชาวบริติช · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในอินเดีย

นสูบผิ่นในไชนาทาวน์ในกัลกัตตา พ.ศ. 2488 ชาวจีนในอินเดีย (Chinese in India) หรือชาวอินเดียเชื้อสายจีน เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากชาวจีนที่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งในอินเดียเมื่อราว..

ใหม่!!: บริติชราชและชาวจีนในอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชีค มูจิบูร์ เราะห์มาน

ังกลาบันทุ ชีค มูจิบูร์ เราะห์มาน (শেখ মুজিবুর রহমান Shekh Mujibur Rôhman ปริวรรตตามอักษร: เศข มุชิพุร์ ระห์มาน ปริวรรตตามเสียง: เซค มุจิบุร์ โระห์มาน) (17 มีนาคม ค.ศ. 1920 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1975) เป็นผู้ก่อตั้งประเทศบังกลาเทศ เขาได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีระหว่างปี..

ใหม่!!: บริติชราชและชีค มูจิบูร์ เราะห์มาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ตเซนต์จอร์จ (อินเดีย)

ก็ตช์ตัวป้อมราวคริสต์ศตวรรษที่ 18 ฟอร์ตเซนต์จอร์จ (Fort St.; หรือ ไวท์ทาวน์ ตามประวัติศาสตร์) เป็นชื่อเรียกของป้อมปราการแห่งแรกของอังกฤษในอินเดีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและฟอร์ตเซนต์จอร์จ (อินเดีย) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บริติชราชและพ.ศ. 2428 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858

ระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดี..

ใหม่!!: บริติชราชและพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 · ดูเพิ่มเติม »

พระนางศุภยาลัต

ระนางศุภยาลัต (စုဖုရားလတ်; ซุพะยาละ) ประสูติ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2402 สิ้นพระชนม์ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระราชินีพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ประสูติแด่พระเจ้ามินดง กับพระนางชินพยูมาชิน (Hsinbyumashin; นางพญาช้างขาว หรือที่รู้จักกันในนามพระนางอเลนันดอ) ด้วยความทะเยอทะยานของพระนางศุภยาลัต พระนางจึงได้เป็นพระราชินีในพระเจ้าธีบอพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งพม.

ใหม่!!: บริติชราชและพระนางศุภยาลัต · ดูเพิ่มเติม »

พระนางอเลนันดอ

ระนางอเลนันดอ มีพระนามจริงว่า ซีนบยูมะชีน (ဆင်ဖြူမရှင်, Hsinbyumashin ซึ่งมีความหมายว่า นางพญาช้างเผือก; มีพระนามแรกประสูติว่า ศุภยากะเล) พระราชธิดาในพระเจ้าจักกายแมงแห่งพม่า ที่ประสูติแต่พระนางนันมาดอ แมนู พระมเหสีเอก ต่อพระนางเป็นพระมเหสีตำหนักกลางในพระเจ้ามินดง ตำแหน่งพระมเหสีตำหนักกลางมีคำเรียกเป็นภาษาพม่าว่า อะแลน่านดอ ด้วยพระนามนี้เองจึงกลายเป็นพระนามที่ชาวไทยรู้จักกันทั่วไป พระองค์เป็นมเหสีที่พระเจ้ามินดงโปรดที่สุดพระองค์หนึ่ง และเป็นที่เกรงอกเกรงใจของพระองค์ พระนางอเลนันดอมีพระราชธิดากับพระเจ้ามินดง 3 พระองค์ ได้แก่ พระนางศุภยาคยี, พระนางศุภยาลัต และพระนางศุภยากเล โดยพระธิดาองค์ที่สองของพระองค์คือ พระนางศุภยาลัตซึ่งมีนิสัยทะเยอทะยานเช่นเดียวกับพระองค์ ด้วยความที่พระเจ้ามินดงเกรงในพระนางอเลนันดอ พระเจ้ามินดงจึงมิได้ตั้งองค์รัชทายาทไว้ พระนางศุภยาลัตพระธิดาของพระองค์จึงเลือกเจ้าชายสีป่อซึ่งเป็นคนหัวอ่อน โดยพระนางอเลนันดอได้ให้การสนับสนุน เมื่อพระนางศุภยาลัตพระธิดาได้เสกสมรสกับพระเจ้าธีบอ แม้พระนางอเลนันดอได้ให้การช่วยเหลือแก่พระนางศุภยาลัตในเบื้องต้น แต่ภายหลังพระนางอเลนันดอถูกให้ไปประทับที่วังอื่นรวมทั้งพระธิดาคือพระนางศุภยาคยีซึ่งเป็นพระกนิษฐา ต่อมาเมื่อพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ พระเจ้าธีบอ พระนางนางศุภยาลัต รวมถึงพระองค์ ได้ถูกเชิญออกนอกประเทศโดยให้ประทับในเมืองรัตนคีรี ทางใต้ของเมืองบอมเบย์ในบริติชราช ภายหลังพระนางอเลนันดอได้มีเรื่องวิวาทกับพระนางศุภยาลัตซึ่งเป็นพระธิดา ทางอังกฤษสงสาร จึงได้ส่งพระนางอเลนันดอมายังพม่า และใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองมะละแหม่งจนสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: บริติชราชและพระนางอเลนันดอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอมานุลเลาะห์

อมานุลลอหฺ ข่าน แห่งราชวงศ์ดุรรานี พระเจ้าอมานุลเลาะห์กับมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก ใน อังการา เมื่อ พ.ศ. 2471 พระเจ้าอมานุลเลาะห์ หรืออมานุลลอหฺ ข่าน (Amanullah; ภาษาพาซตู, ภาษาเปอร์เซีย, ภาษาอูรดู, ภาษาอาหรับ: أمان الله خان) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอัฟกานิสถาน ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและพระเจ้าอมานุลเลาะห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าธีบอ

ระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ..

ใหม่!!: บริติชราชและพระเจ้าธีบอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ใหม่!!: บริติชราชและพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พี.ซี. โซการ์

ี.ซี.

ใหม่!!: บริติชราชและพี.ซี. โซการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มรัฐกะเรนนี

้าฟ้ากะเรนนีที่เดลฮี ดูร์บาร์ เมื่อ พ.ศ. 2446 เจ้าฟ้าของบ่อลาแก กันตรวดี และเจโบจียืนอยู่แถวหลัง เขตการปกครองในกลุ่มรัฐฉานและกลุ่มรัฐกะเรนนีที่ถูกผนวกเข้ากับประเทศไทยในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เรียกว่า สหรัฐไทยเดิม กลุ่มรัฐกะเรนนี (Karenni States) เป็นชื่อเรียกกลุ่มรัฐของชาวกะเรนนี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ของรัฐกะยา ประเทศพม่า ดินแดนนี้อยู่ทางใต้ของสหพันธรัฐฉานและทางตะวันออกของพม่าของอังกฤษ รัฐบาลของบริติชอินเดียและพระเจ้ามินดงแห่งราชวงศ์อลองพญา ได้ลงนามในสนธิสัญญารับรองเอกราชของกลุ่มรัฐกะเรนนีใน..

ใหม่!!: บริติชราชและกลุ่มรัฐกะเรนนี · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพไทย

กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.

ใหม่!!: บริติชราชและกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

กะเรนนีตะวันตก

้าฟ้ากะเรนนีที่เดลฮี ดูร์บาร์ เมื่อ พ.ศ. 2446 เจ้าฟ้าของบ่อลาแก กันตรวดี และเจโบจียืนอยู่แถวหลัง กะเรนนีตะวันตก (Western Karenni) เป็นการรวมเรียกกลุ่มรัฐกะเรนนี 4 รัฐที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสาละวิน ได้แก่ บ่อลาแก นามเมกอน นองปาเล และเจโบจี ในวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: บริติชราชและกะเรนนีตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: บริติชราชและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี

การยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี เป็นยุทธการในแหลมแอฟริกา ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูร้อนปี ค.ศ. 1940 ระหว่างกองกำลังของราชอาณาจักรอิตาลีกับสหราชอาณาจักรและกองทัพเครือจักรภพแห่งชาติ การรบที่เกิดขึ้นครั้งนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการทัพแอฟริกาตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: บริติชราชและการยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต หรือ การบุกครองเปอร์เซียของบริเตนและสหภาพโซเวียต เป็นการรุกรานจักรวรรรดิเปอร์เซียระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โดยกองกำลังของสหภาพโซเวียต จักรวรรดิบริเตน และเครือจักรภพ การรุกรานได้กินเวลาตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม - 17 กันยายน ปี 1941 และมีการใช้รหัสนามว่า ปฏิบัติการ Countenance มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความปลอดภัยให้กับบ่อน้ำมันของอิหร่านและการรับประกันของสัมพันธมิตรในการสนับสนุนแก่สหภาพโซเวียตที่ได้สู้รบกับกองกำลังฝ่ายอักษะในแนวรบด้านตะวันออก แม้ว่าอิหร่านได้ตั้งตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวสงคราม แต่ทางฝ่ายสัมพันธมิตรได้พิจารณาเห็นว่าพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ได้มีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรต่อฝ่ายอักษะ จึงได้บีบบังคับให้สละราชบัลลังก์ในระหว่างการยึดครองและได้แต่งตั้งพระโอรสของพระองค์มาแทนที่คือพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี.

ใหม่!!: บริติชราชและการรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมทูบลัก

การล้อมทูบลักได้กินเป็นเวลา 241 วันในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและการล้อมทูบลัก · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2485

การสังหารหมู่ในรั..

ใหม่!!: บริติชราชและการสังหารหมู่ในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

การทัพกัลลิโพลี

การทัพกัลลิโพลี (Gallipoli Campaign, Dardanelles Campaign, Battle of Gallipoli หรือ Battle of Çanakkale; Çanakkale Savaşı) เป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อกองทัพผสมของจักรวรรดิบริติชยกพลขึ้นบกในคาบสมุทรกัลลิโพลี จุดหมายของการทัพกัลลิโพลีคือการไปช่วยเหลือจักรวรรดิรัสเซียในแนวรบด้านตะวันออกและยึดคอนสแตนติโนเปิลเมืองหลวงของจักรวรรดิออตโตมัน แต่การยกพลในกัลลิโพลีถูกกองทัพออตโตมันต้านทานอย่างหนักในที่สุดออตโตมันสามารถชนะได้ การทัพกัลลิโพลีเป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญที่จักรวรรดิออตโตมันชนะได้โดยต่อสู้เพื่อปกป้องมาตุภูมิของจักรวรรดิออตโตมัน การทัพกัลลิโพลียังเป็นหนึ่งในการรบที่อัปยศของวินสตัน เชอร์ชิล ในขณะเดียวกันกองทัพออสเตรเลียและกองทัพนิวซีแลนด์ได้รำลึกการรบในกัลลิโพลีโดยยกเอาวันที่กองทัพของเครือจักรภพยกพลขึ้นบกคือในวันที่ 25 เมษายน ของทุกปีเป็นวันแอนแซกร่วมกับ Remembrance Day.

ใหม่!!: บริติชราชและการทัพกัลลิโพลี · ดูเพิ่มเติม »

การทัพมาลายา

การทัพมาลายา เป็นชุดเหตุการณ์การรบระหว่างกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในบริติชมาลายา (มาลายาของบริเตน) นับตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ถึงวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1942 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การรบที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นการรบทางบกระหว่างหน่วยรบต่างๆ ของเครือจักรภพอังกฤษและกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น สำหรับสหราชอาณาจักร อินเดีย ออสเตรเลีย และสหพันธรัฐมาลายาแล้ว ยุทธการครั้งนี้นับได้ว่าเป็นหายนะ ยุทธการนี้เป็นที่จดจำจากการใช้ทหารราบจักรยาน (bicycle infantry) ซึ่งช่วยให้กองกำลังสามารถขนย้ายยุทธปัจจัยและเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วในภูมิประเทศที่เป็นป่าทึบ กรมทหารช่างหลวงของอังกฤษ (Royal Engineers) ได้ทำลายสะพานนับร้อยแห่งด้วยระเบิดระหว่างการล่าถอย ซึ่งช่วยให้สามารถถ่วงเวลาการรุกของกองทัพญี่ปุ่นได้เล็กน้อย เมื่อญี่ปุ่นสามารถยึดสิงคโปร์ได้สำเร็จนั้น ปรากฏว่าสหราชอาณาจักรสูญเสียกำลังรบ 9,600 น.

ใหม่!!: บริติชราชและการทัพมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

การทัพตูนิเซีย

การทัพตูนิเซีย (Tunisia Campaign) เป็นการรบที่เกิดขึ้นในตูนิเซียในสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างกองกำลังฝ่ายอักษะกับฝ่ายสัมพันธมิตร กองกำลังหลักของฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบด้วยกองทัพของจักรวรรดิอังกฤษ, กองทัพอเมริกันและกองทัพฝรั่งเศส การรบครั้งนี้เริ่มต้นด้วยความสำเร็จของฝ่ายอักษะ แต่ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและด้านกำลังพลที่เหนือกว่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็พ่ายแพ้ลงอย่างราบคาบ ทหารเยอรมันและอิตาลีมากกว่า 230,000 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก รวมถึงกองกำลังส่วนใหญ่ของกองพลน้อยแอฟริกาอันโด่งดังของฝ่ายอักษะ การทัพแอฟริกาเหนือ.

ใหม่!!: บริติชราชและการทัพตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การทัพแอฟริกาเหนือ

การทัพแอฟริกาเหนือ (North African Campaign) ใน สงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ถึง 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1943 ในทะเลทรายแถบแอฟริกาเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ทะเลทรายของประเทศลิเบีย อียิปต์ (การรบในทะเลทรายตะวันตก หรือที่รู้จักกันในชื่อ"สงครามทะเลทราย") และในประเทศแอลจีเรีย โมร็อกโก (ปฏิบัติการคบเพลิง) และตูนิเซีย(การทัพตูนิเซีย) เป็นการรบระหว่างฝ่ายอักษะ นำโดยนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิอิตาลี กับฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยสหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ ในช่วงแรก จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งแต่ ค.ศ. 1941 และร่วมรบในแอฟริกาเหนืออย่างเต็มตัวตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1942.

ใหม่!!: บริติชราชและการทัพแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: บริติชราชและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่ง (คน)

ตรกรรมฝาผนังรูปฝรั่งภายในวัดตรีทศเทพวรวิหาร นักท่องเที่ยวฝรั่งที่เกาะคอเขา จังหวัดพังงา ฝรั่ง เป็นคำภาษาไทย ที่ใช้เรียกชาวต่างชาติที่เชื้อสายยุโรป หรือชาวผิวขาวโดยที่มิได้ระบุเชื้อชาติหรือสัญชาติ คำว่า ฝรั่ง นี้ ใช้กันเป็นภาษาปาก หรือภาษาลำลอง ถือเป็นคำที่มีความหมายกลาง ๆ แต่ในบางครั้ง ก็มีความหมายเชิงดูหมิ่นหรือแปลกแยกได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับรูปการณ์ ในสมัยโบราณ จะใช้เรียกกันเต็ม ๆ ว่า พวก ฝรั่งตาน้ำข้าว ซึ่งมีอารมณ์เชิงดูถูกของคนโบราณซ่อนอยู่ จนปัจจุบัน กร่อนลงเหลือเพียง ฝรั่ง นอกจากนี้ คนไทยยังเรียกชาวผิวดำ หรือมีเชื้อสายแอฟริกัน ว่า ฝรั่งดำ.

ใหม่!!: บริติชราชและฝรั่ง (คน) · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: บริติชราชและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภีมราว รามชี อามเพฑกร

อกเตอร์ ภีมราว รามชี อามเพฑกร (भीमराव रामजी आंबेडकर) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรมของอินเดีย และเป็นประธานร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านถูกยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งรัฐธรรมนูญอินเดีย" อีกด้วย อามเพฑกร เป็นผู้อุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และได้เดินร่วม ขบวนกับ มหาตมา คานธี และชวาหระลาล เนห์รู เพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ต่อมาเนห์รูได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้แต่งตั้งให้อามเพฑกร เป็นรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: บริติชราชและภีมราว รามชี อามเพฑกร · ดูเพิ่มเติม »

มรสุม

กลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม ภาพแสดงกลุ่มเมฆมรสุม มรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในชั้นบรรยากาศ และวัฎจักรของฝน เนื่องจากความไม่เท่ากันของการรับและคายความร้อนของพื้นดินและน้ำ โดยทั่วไปแล้วเป็นคำที่ใช้บรรยายช่วงฤดูกาลเปลี่ยนแปลงที่มีฝนตก ในระดับโลกสามารถที่จะจำแนกมรสุมได้เป็น มรสุมแอฟริกันตะวันตก และ มรสุมเอเชียออสเตรเลีย คำว่า “มรสุม” ถูกใช้เป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ในอินเดียของบริเตน (ปัจจุบันคือ อินเดีย บังกลาเทศ และ ปากีสถาน) เพื่อสื่อถึงลมประจำฤดูกาลที่พัดจากอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับนำพาฝนคะนองเข้าไปสู่บริเวณอินเดียของบริเตน คำว่า "มรสุม" หรือ monsoon ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า موسم ในภาษาอารบิก แปลว่า ฤดูกาล.

ใหม่!!: บริติชราชและมรสุม · ดูเพิ่มเติม »

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: บริติชราชและมหาตมา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมมัด อิกบาล

ซอร์มูฮัมมัด อิกบาล (Muhammad Iqbal) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1877 - 21 เมษายน ค.ศ. 1938) มักเรียกว่า อัลลามา อิกบาล เป็นกวีและนักปรัญชาเกิดในเซียลคอต ซึ่งขณะนั้นอยู่ในแคว้นปัญจาบ บริติชอินเดีย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน อิกบาล ผู้เขียนบทกวีในภาษาอุรดูและภาษาเปอร์เซีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ (icon) ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยใหม่ หลังศึกษาในอังกฤษและเยอรมนี อิกบาลได้ทำงานด้านกฎหมาย แต่ยังมุ่งสนใจงานเขียนผลงานเชิงวิชาการว่าด้วยการเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนาเป็นหลัก ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเป็นงานด้านบทกวี อิกบาลเป็นผู้เสนอการฟื้นฟูอารยธรรมอิสลามทั่วโลกอย่างแข็งขัน แต่โดยเฉพาะยอ่างยิ่งในอินเดีย เขาเป็นหนึ่งในผู้นำที่โดดเด่นของสันนิบาติมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) และสนับสนุนการสถาปนา "รัฐในทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียสำหรับมุสลิมชาวอินเดีย" ในการปราศรัยประธานาธิบดีใน..

ใหม่!!: บริติชราชและมูฮัมมัด อิกบาล · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมหมัด ยูนูส

มูฮัมหมัด ยูนูส (ภาษาเบงกาลี: মুহাম্মদ ইউনুস Muhammôd Iunus) เป็นนายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” หรือ การให้กู้เงินโดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน โดยจะให้กู้แก่ผู้ประกอบการหรือชาวบ้านซึ่งยากจนเกินกว่าจะมีคุณสมบัติพอเพียงที่จะกู้เงินจากธนาคารทั่วไป นอกจากนั้น ยูนูสยังเป็นผู้ก่อตั้ง “กรามีนแบงค์” หรือ ธนาคารกรามีน อีกด้วย ทั้งยูนูสและธนาคารที่เขาก่อตั้งขึ้นได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและมูฮัมหมัด ยูนูส · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎแห่งอินเดีย

มงกุฎแห่งอินเดีย หรือ อิมพิเรียลคราวน์แห่งอินเดีย (The Imperial Crown of India) เป็นมงกุฎประจำสำหรับประมุขแห่งราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย ซึ่งใช้ในช่วงทศวรรษสุดท้ายของจักรวรรดิอินเดีย มงกุฎองค์นี้เก็บรักษารวมกันกับเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร แต่มิถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ.

ใหม่!!: บริติชราชและมงกุฎแห่งอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่กาซาลา

ทธการที่กาซาลา(ใกล้กับเมืองปัจจุบันของ Ayn al Ghazālah) เป็นการสู้รบกันในช่วงการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ทางตะวันตกของท่าเรือของเมืองทูบลัก(Tobruk)ในประเทศลิเบีย,ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม ถึง 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: บริติชราชและยุทธการที่กาซาลา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง

ทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง (1–27 กรฏาคม ค.ศ. 1942) เป็นการสู้รบของการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ซึ่งได้ทำการต่อสู้รบกันบนแผ่นดินอียิปต์ระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะ (เยอรมันและอิตาลี) ของกองทัพยานเกราะแอฟริกา (Panzerarmee Afrika, ซึ่งได้รวมถึงกองทัพน้อยแอฟริกา หรือแอฟริกา คอร์) ภายใต้การบัญชาการของจอมพลแอร์วิน รอมเมิลและกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร (จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ ซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร, บริติชอินเดีย, ออสเตรเลีย, แอฟริกาใต้ และ นิวซีแลนด์) ของกองทัพที่แปด ภายใต้การบัญชาการของนายพล Claude Auchinleck.

ใหม่!!: บริติชราชและยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รวี ศังกร

รวี ศังกร (রবি শংকর;Ravi Shankar, 7 เมษายน ค.ศ. 1920 - 11 ธันวาคม ค.ศ. 2012) เป็นนักเล่นซีตาร์และนักประพันธ์ชาวอินเดีย หนังสือ Musik in Geschichte und Gegenwart กล่าวว่าเขาเป็นนักดนตรีร่วมสมัยชาวอินเดียที่เป็นที่รู้จักที่สุด รวีเกิดในเมืองพาราณสีและใช้ชีวิตวัยรุ่นในการออกทัวร์ในยุโรปและอินเดียกับกลุ่มเต้นรำของพี่ชาย อุทัย ศังกร เขาหันหลังให้กับการเต้นรำในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและรวี ศังกร · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต ไคลฟ์

ลตรี รอเบิร์ต ไคลฟ์ บารอนไคลฟ์ที่ 1 (Robert Clive, 1st Baron Clive) หรือเป็นที่รู้จักในนาม ไคลฟ์แห่งอินเดีย (Clive of India) เป็นหนึ่งในนักการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษ เขาเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของบริติชอินเดีย เขาสามารถมีชัยในยุทธการที่ปลาศีในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและรอเบิร์ต ไคลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: บริติชราชและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมหาราชา

การประชุมของมหาราชาในปี ค.ศ. 1941 รัฐมหาราชา (Princely state) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า รัฐพื้นเมือง (Native state) เป็นรัฐที่ปกครองโดยเจ้าพื้นเมืองอินเดียในสมัยบริติชราช โดยรัฐเหล่านี้ไม่ได้ถูกปกครองโดยตรงจากอังกฤษ แต่เป็นพันธมิตรรายย่อยที่ยอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของพระมหากษัตริย์อังกฤษ รัฐมหาราชามีทั้งสิ้น 565 รัฐในช่วงที่อินเดียและปากีสถานได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 แต่รัฐเหล่านั้นส่วนใหญ่มักมีสัญญาให้อุปราชแห่งอินเดียเป็นผู้ให้บริการสาธารณะและการจัดเก็บภาษี โดยมีรัฐมหาราชาเพียง 21 รัฐเท่านั้นที่มีรัฐบาลประจำรัฐเป็นของตนเอง ในกลุ่มนี้มีรัฐมหาราชาขนาดใหญ่อยู่ 4 รัฐคือ ไฮเดอร์ราบัด ไมซอร์ บาโรดา และ รัฐชัมมูและกัศมีร์ ในขณะที่มีรัฐมหาราชาประมาณ 200 กว่ารัฐที่มีพื้นที่น้อยกว่า 25 ตารางกิโลเมตร ในช่วงที่อินเดียและปากีสถานได้รับเอกราช รัฐมหาราชาเหล่านี้จะรวมเข้าอยู่ใน 2 ชาติที่เกิดใหม่ในช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: บริติชราชและรัฐมหาราชา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอรุณาจัลประเทศ

ประเทศ รัฐอรุณาจัลประเทศ คือ ดินแดนใต้การปกครองของประเทศอินเดีย แต่ถูกเรียกร้องจากทางการจีนว่าเป็นดินแดนของตนในชื่อว่า ทิเบตใต้ (藏南 ซั่นหนาน) รัฐอรุณาจัลประเทศมีเขตติดต่อกับ รัฐอัสสัมและรัฐนาคาแลนด์ทางใต้ รัฐกะฉิ่น ประเทศพม่าทางตะวันออก ประเทศภูฏานทางตะวันตก และเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีนทางทิศเหนือ อรุณาจัลประเทศมีความหมายว่า ดินแดนอาทิตย์อุทัย เนื่องจากตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศอินเดีย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นเชื้อสายชาวทิเบต ชาวไท และชาวพม่า โดยมีประชากรร้อยละ 16 เป็นผู้อพยพ เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ มีงานศิลปหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: บริติชราชและรัฐอรุณาจัลประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐทรูเชียล

รัฐทรูเชียล (Trucial States; إمارات الساحل المتصالح) เป็นกลุ่มรัฐเชคทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเปอร์เซีย ภายหลังรัฐเหล่านี้ได้ร่วมลงนามสงบศึกกับรัฐบาลบริเตน จึงถูกเรียกว่ารัฐทรูเชียลหรือรัฐสงบศึก และเข้าเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนตั้งแต..

ใหม่!!: บริติชราชและรัฐทรูเชียล · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตีมูร์

ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.

ใหม่!!: บริติชราชและราชวงศ์ตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราม นาถ โกวินท์

ราม นาถ โกวินท์ (राम नाथ कोविन्द ราม นาถ โกวินฺท; Ram Nath Kovind; เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1945) เป็นนักการเมืองและเป็นประธานธิบดีคนปัจจุบันของอินเดีย เขาเป็นตัวแทนจากพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติ (National Democratic Alliance) เข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีอินเดียในการเลือกตั้ง ค.ศ. 2017 เขาเป็นผู้นำกลุ่มทลิต และเป็นสมาชิกพรรคภารตียชนตา (Bharatiya Janata Party) เขายังเคยเป็นผู้ว่าการพิหารในช่วง..

ใหม่!!: บริติชราชและราม นาถ โกวินท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: บริติชราชและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: บริติชราชและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศพม่า

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม.

ใหม่!!: บริติชราชและรายชื่อธงในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: บริติชราชและรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุล

ักรวรรดิโมกุลในศตจวรรษที่ 18.

ใหม่!!: บริติชราชและรายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลักเม

ปสเตอร์การแสดงรอบปฐมทัศน์ มารี แวน แซนด์ รับบท ลักเม ลักเม (Lakmé) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศสความยาว 3 องก์ โดยลีโอ ดีลิบีส แต่งบทร้องโดย Edmond Gondinet และ Philippe Gille ดัดแปลงจากเรื่อง Rarahu ou Le Mariage de Loti (1880) นวนิยายอัตชีวประวัติของปีแอร์ โลตี (1850 - 1923) เรื่องราวความรักและชู้สาวของนายทหารเรือฝรั่งเศสชื่อ Julien Viaud (เป็นชื่อจริงของผู้เขียน) กับหญิงสาวพื้นเมืองตาฮิติชื่อ ราราฮู ต่อมาผู้เขียนได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็นภาษาพอลินีเซียว่า โลตี ลีโอ ดีลิบีสได้เปลี่ยนชื่อตัวละคร และสถานที่จากในนวนิยาย ตัวพระเอกเป็นนายทหารอังกฤษในบริติชราชของอินเดีย ชื่อ เจอรัลด์ ตัวนางเอกชื่อ ลักเม เป็นลูกสาวของนักบวชพราหมณ์ชื่อ นิลขันธ์ (Nilakantha) ดีลิบีสแต่งอุปรากรเรื่องนี้ในช่วงปี..

ใหม่!!: บริติชราชและลักเม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: บริติชราชและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์คลองสุเอซ

วิกฤตการณ์สุเอซ (The Suez Crisis หรือ Tripartite Aggression) เป็นวิกฤตการณ์ที่เกิดสงครามระหว่าง อียิปต์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส และอิสราเอล มีมูลเหตุมาจากที่อียิปต์ต้องการให้คลองสุเอซ (ที่ขุดโดยเงินทุนของอียิปต์ กับฝรั่งเศส) กลายเป็นของประเทศ แต่คลองนี้มีความสำคัญต่ออังกฤษเพราะเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ มายังอาณานิคมทั้งหลายทั้ง อินเดีย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และตะวันออกไกล ดังนั้นอังกฤษจึงซื้อหุ้นส่วนของอียิปต์ในคลองนี้ มาทำให้ตัวเองมีอำนาจเหนือคลองดังกล่าวและคานอำนาจกับฝรั่งเศส คลองนี้มีส่วนสำคัญในการรบทั้ง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: บริติชราชและวิกฤตการณ์คลองสุเอซ · ดูเพิ่มเติม »

วิศาขาปัตตนัม

วิศาขาปัตตนัม (Visakhapatnam) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทั้งทางด้านพื้นที่และจำนวนประชากรของรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย เมืองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอมราวดีราว 363 กม.

ใหม่!!: บริติชราชและวิศาขาปัตตนัม · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: บริติชราชและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

ศรีนิวาสะ รามานุจัน

รีนิวาสะ ไอเยนการ์ รามานุจัน (Srīnivāsa Aiyangār Rāmānujam; சீனிவாச இராமானுஜன் หรือ ஸ்ரீனிவாஸ ஐயங்கார் ராமானுஜன்) (22 ธันวาคม ค.ศ. 1887 – 26 เมษายน ค.ศ. 1920) สมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย ซึ่งได้สร้างงานวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีบทต่างๆ ทางทฤษฎีจำนวน อนุกรมอนันต์ และเศษส่วนต่อเนื่อง โดยที่ไม่เคยรับการศึกษาด้านคณิตศาสตร์อย่างเป็นทางการเลย ก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวถึงอัจฉริยภาพของรามานุจันว่าเทียบเท่ากับนักคณิตศาสตร์ระดับตำนาน เช่น ออยเลอร์ เกาส์ นิวตัน และอาร์คิมีดี.

ใหม่!!: บริติชราชและศรีนิวาสะ รามานุจัน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ใหม่!!: บริติชราชและศาสนาฮินดูแบบบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาแบบอินเดีย

นาแบบอินเดีย (Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์Adams, C. J.,, Encyclopædia Britannica, 2007.

ใหม่!!: บริติชราชและศาสนาแบบอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สัตยชิต ราย

ัตยชิต ราย (সত্যজিৎ রায়; Satyajit Ray) (2 พฤษภาคม ค.ศ. 1921 - 23 เมษายน ค.ศ. 1992) เป็นผู้สร้างภาพยนตร์เบงกอลชาวอินเดีย เขาได้รับการยกย่องเป็น 1 ในผู้สร้างภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในวงการภาพยนตร์ในศตวรรษที่ 20 สัตยชิตเกิดในเมืองกัลกัตตา (ปัจจุบันคือ โกลกาตา) ในครอบครัวชาวเบงกอลในโลกแห่งศิลปะและอักษร เขาเริ่มต้นอาชีพด้วยการเป็นศิลปินโฆษณา หลังจากนั้นได้เข้าสู่วงการสร้างภาพยนตร์อิสระ หลังจากรู้จักกับผู้สร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศส ฌอง เรอนัวร์และได้ดูภาพยนตร์อิตาลีที่ชื่อ Bicycle Thieves ในระหว่างเยี่ยมเมืองลอนดอน สัตยชิตกำกับภาพยนตร์ 37 เรื่อง รวมถึงภาพยนตร์ สารคดีและภาพยนตร์สั้น เขายังเป็นนักเขียนนวนิยาย ผู้โฆษณา ผู้วาดภาพประกอบ นักออกแบบกราฟิกและนักวิจารณ์ภาพยนตร์ ผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกของเขาเรื่อง Pather Panchali (1955) ได้รับ 11 รางวัลระดับนานาชาติ รวมถึงในสาขาสารคดีมนุษย์ยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ร่วมไปกับภาพยนตร์ Aparajito (1956) และ Apur Sansar (1959) ที่เป็น 3 เรื่องใน The Apu Trilogy สัตยชิตยังเขียนสคริปต์ คัดเลือกนักแสดง ทำเพลงประกอบ ถ่ายภาพ กำกับศิลป์ ตัดต่อและออกแบบไตเติลเครดิตและอื่น ๆ เขาได้รับรางวัลใหญ่หลายครั้งในอาชีพการงาน รวมถึง 32 รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติอินเดีย หลายรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์และงานแจกรางวัล และยังได้รับรางวัลเกียรติยศ รางวัลออสการ์ในปี 1992.

ใหม่!!: บริติชราชและสัตยชิต ราย · ดูเพิ่มเติม »

สัตยาเคราะห์เกลือ

นธีระหว่างสัตยาเคราะห์เกลือ ซอลท์มาร์ช (Salt March, ท. การเดินขบวนเกลือ) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สัตยาเคราะห์เกลือ (Salt Satyagraha) เริ่มต้นด้วย การเดินขบวนดันดี (Dandi March) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: บริติชราชและสัตยาเคราะห์เกลือ · ดูเพิ่มเติม »

สันยุกตปรานต์

ันยุกตปรานต์ (संयुक्त प्रान्त สนฺยุกฺต ปฺรานฺต; สญฺญุตต ปนฺต; United Provinces: UP) เป็นมณฑล (province) หนึ่งในบริติชราช ซึ่งต่อมาคือ ประเทศอินเดียที่ได้รับอิสร.

ใหม่!!: บริติชราชและสันยุกตปรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1 (First Eastern Turkestan Republic; ETR) หรือ สาธารณรัฐอิสลามเตอร์เกสถานตะวันออก (Islamic Republic of East Turkestan; TIRET; ภาษาอุยกูร์: شەرقىي تۈركىستان ئىسلام جۇمھۇرىيىتى‎‎ Sherqiy Türkistan Islam Jumhuriyiti) เป็นสาธารณรัฐอิสลามอายุสั้น ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: บริติชราชและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สุพรหมัณยัน จันทรเศขร

รหมัณยัน จันทรเศขร หรือ “จันทรา” (Subrahmanyan Chandrasekhar) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักคณิตศาสตร์ ชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1983 พร้อมกับวิลเลียม อัลเฟรด ฟาวเลอร์ จากผลงานร่วมกันว่าด้วยโครงสร้างเชิงทฤษฎีและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ สุพรหมัณยัน จันทรเศขรเป็นหลานของจันทรเศขร เวงกฎะ รามัน (นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล ค.ศ. 1930) จันทรเศขรผู้นี้นอกจากมีความสามารถอย่างหาตัวจับยากในด้านวิทยาศาสตร์แล้ว ยังมีความรู้อันลุ่มลึกและกว้างขวางในด้านศิลปะและวรรณคดีด้วย ในด้านวิทยาศาสตร์นั้นเขามีความสามารถอันผสมผสานระหว่างความเข้าใจพื้นฐานด้านแนวคิดทางฟิสิกส์ และความสามารถด้านคณิตศาสตร์เชิงปรากฏการณ์ด้ว.

ใหม่!!: บริติชราชและสุพรหมัณยัน จันทรเศขร · ดูเพิ่มเติม »

สุกานตะ ภัฏฏาจารยะ

กานตะ ภัฏฏาจารยะ (সুকান্ত ভট্টাচার্য; 15 สิงหาคม ค.ศ. 1926 – 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1947) เป็นกวีและนักเขียนชาวเบงกาลี เขาเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของกวีนิพนธ์เบงกาลีสมัยใหม่ร่วมกับรพินทรนาถ ฐากุร และกาชี นชรุล อิสลาม แต่ผลงานของภัฏฏาจารยะได้รับการตีพิมพ์หลังจากเขาได้ถึงแก่กรรม ในช่วงที่เขามีชีวิตบทกวีของเขาไม่ได้เป็นที่แพร่หลาย แต่หลังจากเขาเสียชีวิต ชื่อเสียงของเขาก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนเขากลายเป็นหนึ่งในกวีภาษาเบงกาลีที่เป็นที่นิยมมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขามีอิทธิพลสำคัญต่อกวีสุภาษ มุโขปาธยาย และนักแต่งเพลงสลิล เจาธุรี ที่ได้นำบทกวีบางส่วนที่ได้รับความนิยมของเขาไปแต่งทำนองเพลง งานเขียนส่วนใหญ่ของเขาโดดเด่นในความคิดเรื่องกบฏต่อระบบสังคมนิยม ความรักชาติ และความเห็นอกเห็นใจ แต่ก็โดดเด่นในเรื่องจินตนิยมเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: บริติชราชและสุกานตะ ภัฏฏาจารยะ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411

ริยุปราคาเต็มดวง 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: บริติชราชและสุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม

งครามพม่า–อังกฤษครั้งที่สาม เป็นสงครามครั้งสุดท้ายระหว่างอังกฤษกับพม่าในสมัยราชวงศ์คองบองซึ่งสิ้นสุดลงโดยอังกฤษผนวกพม่าทั้งหมดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของบริติชอินเดี.

ใหม่!!: บริติชราชและสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง

งครามพม่า–อังกฤษครั้งที่หนึ่ง (First Anglo-Burmese War) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับราชวงศ์อลองพญาของพม่า เป็นระยะเวลา 2 ปี ในระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947

งครามอินเดีย-ปากีสถาน..

ใหม่!!: บริติชราชและสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: บริติชราชและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโบเออร์ครั้งที่สอง

งครามโบเออร์ครั้งที่สอง (Second Boer War) หรือ สงครามแอฟริกาใต้ (South African War) เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: บริติชราชและสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: บริติชราชและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อับบาส มีร์ซา

้าชายอับบาส มีร์ซา อับบาส มีร์ซา (Abbas Mirza;(ภาษาเปอร์เซีย:عباس میرزا) ประสูติเมื่อ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2332 เป็นมกุฎราชกุมารและอุปราชแห่งมณฑลอาเซอร์ไบจาน แคว้นเปอร์เซีย ระหว่าง พ.ศ. 2342 – 2376 พระองค์เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฟาติห์ อาลี ชาห์แห่งราชวงศ์กอชาห์ของอิหร่านที่ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2341 – 2377 มีร์ซาทรงพยายามปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก พยายามขยายอำนาจไปควบคุมอิหร่านตะวันออกในช่วงที่อังกฤษและรัสเซียพยายามขยายอิทธิพลเข้ามาในอิหร่าน และทำให้อิหร่านรอดพ้นจากการเป็นอาณานิคมได้ พระองค์พยายามสร้างกองทัพแบบตะวันตกโดยให้ฝรั่งเศสและอังกฤษเข้ามาเป็นครูฝึก แต่ในสงครามระหว่างอิหร่านและรัสเซียใน พ.ศ. 2347 – 2356 อิหร่านเป็นฝ่ายพ่ายแพ้จนต้องทำสนธิสัญญาสันติภาพโกเลสตานกับรัสเซีย ใน พ.ศ. 2456 โดยอิหร่านต้องเสียเมืองในเขตเทือกเขาคอเคซัส 5 เมือง ยกเลิกการอ้างสิทธิ์เหนือจอร์เจียและดาเกสถาน ส่วนรัสเซียจะสนับสนุนมีร์ซาให้เป็นกษัตริย์องค์ต่อไป ในช่วงที่รัสเซียทำสงครมมกับจักรพรรดินโปเลียน อังกฤษได้เข้ามาทำสนธิสัญญาเดฟินิทีฟเพื่อให้อิหร่านไม่ร่วมมือกับชาติที่เป็นศัตรูกับอังกฤษและไม่ยอมให้กองกำลังของต่างชาติเข้าสู่บริติชอินเดีย และอังกฤษจะช่วยอิหร่านในการทำสงครามกับอัฟกานิสถาน ต่อมา มีร์ซาได้ทำสงครามกับจักรวรรดิออตโตมันภายใต้การสนับสนุนของรัสเซีย แต่ไม่มีผลแพ้ชนะต่อกัน อิหร่านอ่อนกำลังลงมากหลังจากเหตุการณ์นี้ ต่อมาใน พ.ศ. 2468 รัสเซียกลับยกทัพมาโจมตีอิหร่าน อิหร่านขอให้อังกฤษช่วยแต่ไม่สำเร็จ กองทัพอิหร่านที่อ่อนแอและกษัตริย์ไม่สนับสนุนจึงพ่ายแพ้ เสียเมืองใหญ่ๆไปหลายเมือง จนต้องทำสนธิสัญญาเติร์กมันไชใน พ.ศ. 2471 เสียดินแดนทั้งหมดทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน และยอมรับสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของรัสเซีย มีร์ซาสิ้นพระชนม์เมื่อ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2376 ก่อนหน้าพระบิดาของพระองค์ และหลังจากพระเจ้าฟาติห์ อาลีชาห์สิ้นพระชนม์ใน พ.ศ. 2377 มุฮัมมัดชาห์ได้ครองราชย์ต่อม.

ใหม่!!: บริติชราชและอับบาส มีร์ซา · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล ฮามิด

อับดุล ฮามิด (আব্দুল হামিদ; เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 และคนปัจจุบันของบังกลาเทศ ก่อนจะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขาเคยดำรงตำแหน่งประธานสภาแห่งชาติตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: บริติชราชและอับดุล ฮามิด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไกถี

อักษรไกถี (कैथी), หรืออักษรกยถี หรืออักษรกยัสถี เป็นชื่อของอักษรที่เคยใช้ในอินเดียเหนือสมัยโบราณ โดยเฉพาะบริเวณที่ต่อมาจะเป็นจังหวัดตะวันตกเฉียงเหนือ อวัธ และ พิหาร ซึ่งเคยใช้เป็นตัวอักษรในทางกฎหมาย การบริหาร และบันทึกส่วนตัว.

ใหม่!!: บริติชราชและอักษรไกถี · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: บริติชราชและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: บริติชราชและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: บริติชราชและอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

อินทิรา คานธี

อินทิรา ปริยทรศินี คานธี (इन्दिरा प्रियदर्शिनी गान्धी, Indira Priyadarsini Gandhi, 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีอินเดียที่ดำรงตำแหน่งถึง 3 วาระติดต่อกัน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประเทศอินเดีย อินทิรา คานธี มีชื่อเดิมว่า อินทิรา ปรียทรศินี เนห์รู เป็นบุตรสาวของชวาหระลาล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย กับกมลา เนห์รู นางอินทิราสมรสกับผิโรช คานธี ซึ่งมีนามสกุลเดียวกับมหาตมา คานธี แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน อินทิรามีบุตรชายสองคน คือ ราชีพ คานธีและสัญชัย คานธี โดยบุตรทั้งสองต่างดำเนินกิจกรรมทางการเมืองสืบต่อจากมารดา อินทิรา คานธีถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527 หลังจากถูกองครักษ์สองคนใช้อาวุธปืนกระหน่ำยิงกว่า 30 นัด ที่บริเวณสวนในทำเนียบนายกรัฐมนตรี และถึงแก่อสัญกรรมระหว่างถูกนำตัวส่งโรงพยาบาล สาเหตุเนื่องจากเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวซิก.

ใหม่!!: บริติชราชและอินทิรา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ใหม่!!: บริติชราชและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิพอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย (Па́вел I Петро́вич; Pavel Petrovich; Paul I of Russia) (พระราชสมภพ: 1 ตุลาคม (นับตามแบบเก่า: 20 กันยายน) พ.ศ. 2297 - 23 มีนาคม (นับตามแบบเก่า: 11 มีนาคม) พ.ศ. 2344) ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย ระหว่างปี พ.ศ. 2339 - พ.ศ. 2344 (5 ปี) สวรรคตโดยการถูกปลงพระชนม์ขณะครองราชย์ พระโอรสของพระองค์ จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 จึงขึ้นสืบราชสมบัติต่อจากพระอง.

ใหม่!!: บริติชราชและจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอินเดีย

thumb จักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระอิสริยยศพระเจ้าแผ่นดินแห่งอนุทวีปอินเดียซึ่งถูกใช้โดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในสมัยบริติชราช 18 ปีหลังจากรัฐสภาสหราชอาณาจักรได้ตราพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีเบนจามินได้ถวายพระอิสริยยศ "จักรพรรดิแห่งอินเดีย" ให้กับสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ในปี 1876 หลังจากที่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จสวรรคต สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชโอรสเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดิแห่งอินเดีย และพระอัครมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา ก็ได้รับพระอิสริยยศทั้งพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดินีแห่งอินเดีย เมื่อพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรจะทรงลงพระปรมาภิไธยในเอกสารใดๆที่เกี่ยวข้องกับบริติชอินเดีย จะมีการเติม R I ลงท้ายพระปรมาภิไธย (R ย่อจากภาษาละตินว่า Rex/Regina และ I จาก Imperator/Imperatrix) แต่ถ้าเป็นการลงพระปรมาภิไธยในเอกสารใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับอินเดีย จะเติมท้ายเพียงแค่ R เท่านั้น พระมหากษัตริย์และพระอัครมเหสีที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิและจักรพรรดินีแห่งอินเดียพระองค์สุดท้ายคือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี ซึ่งในรัชกาลของพระองค์ มีการแบ่งบริติชราชออกเป็นประเทศปากีสถานและประเทศอินเดียเมื่อปี 1947 พระราชอิสริยยศจักรพรรดิแห่งอินเดียจึงถูกยกเลิกมานับแต่นั้น แม้พระราชอิสริยยศจักรพรรดิแห่งอินเดียจะถูกยกเลิกไปเมื่อ 18 สิงหาคม 1947 แต่พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรก็ยังทรงมีพระราชสถานะเป็นพระเจ้าแผ่นดินของประเทศอินเดียไปจนถึงปี 1950 และเป็นพระเจ้าแผ่นดินของประเทศปากีสถานไปจนถึง 1956.

ใหม่!!: บริติชราชและจักรพรรดิอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: บริติชราชและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จูลี คริสตี

ูลี ฟรานเซส คริสตี (Julie Frances Christie) เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: บริติชราชและจูลี คริสตี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติพม่า

ีเชิญธงชาติใหม่ของสาธารณรัฐสหภาพพม่าขึ้นสู่ยอดเสา ที่หน้าอาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า, 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ภาพข่าวจากสำนักข่าวอิรวดี) ธงชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ธงนี้ได้เริ่มชักขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในเวลา 15.00 น. ที่กรุงเนปยีดอ และในเวลา 15.33 น. ที่อาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง (อ้างอิงตามเวลาท้องถิ่น) อันเป็นเวลา 17 วัน ก่อนหน้าการเลือกตั้งทั่วไปของพม่า ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย สีเขียวหมายถึงสันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลืองหมายถึงความสามัคคี สีแดงหมายถึงความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาวหมายถึงสหภาพอันมั่นคงเป็นเอก.

ใหม่!!: บริติชราชและธงชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปากีสถาน

งชาติปากีสถาน มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวตั้ง ตอนต้นพื้นสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 4 ส่วนของความยาวธง ส่วนที่เหลือเป็นพื้นสีเขียว ภายในมีรูปพระจันทร์เสี้ยวและดาวห้าแฉกสีขาว ธงนี้ออกแบบโดย ไซเอ็ด อาเมียร์ อุดดิน เก็ดวาอี (Syed Amir uddin Kedwaii) โดยอาศัยต้นแบบจากธงสันนิบาตมุสลิม (Muslim League) สภาแห่งชาติปากีสถานได้ประกาศให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชจากบริติชราชในวันถัดมา ในเพลงชาติปากีสถาน ได้กล่าวถึงธงชาติไว้ในชื่อ "ธงเดือนเสี้ยวและดาว" (ภาษาอูรดู: Parcham-e-Sitāra-o-Hilāl) พื้นสีเขียวในธงชาติ หมายถึงศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ แถบสีขาวที่ต้นธง หมายถึงศาสนาอื่นๆ ของชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในปากีสถาน รูปพระจันทร์เสี้ยวที่กลางธงหมายถึงความก้าวหน้า ส่วนดาวห้าแฉกสีขาวคือแสงสว่างและความรู้ ความหมายของธงโดยรวมจึงหมายถึงศาสนาอิสลาม โลกอิสลาม และสิทธิของชนกลุ่มน้อยผู้นับถือศาสนาอื่น ธงชาติปากีสถานจะใช้ประดับในโอกาสสำคัญต่างๆ ของแต่ละปี เช่น วันสาธารณรัฐ (23 มีนาคม) และวันเอกราช (14 สิงหาคม) เป็นต้น เดิมธงชาติปากีสถานออกแบบโดย มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ลักษณะเป็นธงพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวสีขาว ใช้ในสันนิบาตมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) ในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของเป้าหมายในการตั้งรัฐเอกราชของชาวมุสลิม แถบสีขาวได้ถูกเพิ่มเข้ามาในภายหลังเมื่อปากีสถานประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2490 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนชนกลุ่มน้อยอื่น.

ใหม่!!: บริติชราชและธงชาติปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ที. เอช. ไวท์

ทเรนซ์ แฮนเบอรี ไวท์ (Terence Hanbury White; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1906 – 17 มกราคม ค.ศ. 1964) หรือ ที.

ใหม่!!: บริติชราชและที. เอช. ไวท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการทิเบตเอกราชนานาชาติ

วนการทิเบตเอกราชนานาชาติ (International Tibet Independence Movement) เป็นขบวนการที่ก่อตัวขึ้นเพื่อรวมดินแดนทิเบตสามจังหวัดคือ อัมโด คาม และอูจั้งเป็นราชอาณาจักรเอกราช การสนับสนุนขบวนการนี้ในเขตปกครองตนเองทิเบตถือเป็นสิ่งผิดกฎหมายในประเทศจีน ขบวนการนี้ได้รับการสนับสนุนจากชาวทิเบตที่ลี้ภัยไปอยู่ทั่วโลก ชาวทิเบตที่ไม่ใช่ชาวพุทธได้ร่วมสนับสนุนขบวนการนี้ด้ว.

ใหม่!!: บริติชราชและขบวนการทิเบตเอกราชนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คราวน์โคโลนี

ราวน์โคโลนี (Crown colony) หรือ อาณานิคมในพระองค์ เป็นประเภทหนึ่งของการบริการอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ คราวน์โคโลนีถูกปกครองโดยข้าหลวงซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ (และ ในภายหลัง รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม) ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ตั้งแต่แรกก็ตาม อาณานิคมแห่งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าคราวน์โคโลนี คือ อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน ในภายหลังจึงได้ถูกควบคุมโดยบริษัทเวอร์จิเนีย ในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและคราวน์โคโลนี · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงสมบูรณ์แบบ

วามตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อยุติสถานะสงครามระหว่างสยามและฝ่ายสัมพันธมิตร (Formal Agreement for The Termination of The State of War Between Siam and Allies ("United Nations")) หรือ ความตกลงสมบูรณ์แบบ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: บริติชราชและความตกลงสมบูรณ์แบบ · ดูเพิ่มเติม »

ควาลิยัร

วาลิยัร (Gwalior) เป็นเมืองประวัติศาสตร์และเมืองสำคัญในรัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางใต้ของกรุงเดลี เมืองหลวงของประเทศ เป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ของอินเดีย ตั้งแต่ยุคพระเวทไปจนถึงช่วงกบฏอินเดีย (Indian Rebellion 1857) และบริติชราช บริเวณเก่าของเมืองมีโบราณสถานซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงามสมัยจักรวรรดิ รวมทั้งมีป้อมปราการควาลิยัรที่มีชื่อเสียงตั้งอยู่บนหน้าผาหินทรายสูง 91 เมตร.

ใหม่!!: บริติชราชและควาลิยัร · ดูเพิ่มเติม »

คานธี (ภาพยนตร์)

นธี เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติ สร้างขึ้นจากเรื่องจริงของมหาตมา คานธี นักการเมืองชาวอินเดีย ผู้เคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย จากการเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และได้ชื่อว่าเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของอินเดีย ออกฉายในค.ศ. 1982 และได้ชนะเลิศรางวัลออสการ์ ถึง 8 รางวัล.

ใหม่!!: บริติชราชและคานธี (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักออสบอร์น

ตำหนักออสบอร์น (Osborne House) เป็นอดีตที่ประทับของราชวงศ์อังกฤษ ตั้งอยู่ในอีสต์คอว์สบนเกาะไอล์ออฟไวต์ในช่องแคบอังกฤษ ตำหนักหลังนี้ถูกสร้างขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: บริติชราชและตำหนักออสบอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ใหม่!!: บริติชราชและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประณัพ มุขัรชี

ประณัพ มุขัรชี (เกิดเมื่อ 11 ธันวาคม 1935) คือนักการเมืองชาวอินเดีย ประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย ก่อนเขาจะเข้ามาเป็นประธานาธิบดี เขาเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงการคลัง เขาเกิดในหมู่บ้าน Mirati ใน Birbhum District ของเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:นักเขียนชาวอินเดีย หมวดหมู่:บุคคลจากโกลกาตา หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินเดีย หมวดหมู่:ชาวเบงกาลี.

ใหม่!!: บริติชราชและประณัพ มุขัรชี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: บริติชราชและประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ

ประเทศปากีสถาน (পাকিস্তান অধিরাজ্য อูรดู: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี..

ใหม่!!: บริติชราชและประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนบาร์กา

ปลาช่อนบาร์กา (Barca snakehead) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa barca ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีความยาวเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีสีเขียวและเหลืองประกอบกับจุดสีดำและแดงกระจายทั่วบริเวณส่วนหัว, ลำตัว และครีบ ส่วนหัวมีขนาดโตและปากกว้างมาก จนได้ชื่อว่าเป็นปลาช่อนที่มีความสวยงามที่สุดในโลก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำพรหมบุตรและแม่น้ำคงคาในรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอลตะวันตก ในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศเท่านั้น ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1822 โดย ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพจักรวรรดิอังกฤษที่ปกครองอินเดียอยู่ ได้ศึกษาธรรมชาติในรัฐเบงกอลและได้ค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียนภาพประกอบไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ An account of the fishes found in the river Ganges and its branches โดยบรรยายไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหาอาหาร เพศของปลาชนิดนี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสีแต่ขึ้นอยู่กับรูปร่างครีบปลาลำตัว แต่ในปลาตัวผู้นั้นจะมีครีบหลัง ครีบอก ครีบก้นที่ใหญ่กว่าตัวเมียและลำตัวผอมยาวอย่างเห็นได้ชัดแต่ตัวเมียนั้นมีครีบที่เล็กกว่าอย่างเห็นได้ชัด และในตัวเมียมีลำตัวมีลักษณะข้อนข้างป้อมสั้นกว่าตัวผู้ส่วนเรื่องสีของปลาชนิดนี้ก็จะขึ้นอยู่กับค่าน้ำสภาพแวดล้อม และอื่นๆ ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง และสำหรับในประเทศไทยเป็นปลาที่มีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงแค่ไม่กี่ตัว และเคยมีการหลอกขายโดยเอาปลาช่อนชนิดอื่นมาขายกันแล้วในชื่อต่าง ๆ รวมทั้งเคยสับสนกับปลาช่อนชนิดอื่นที่มีความใกล้เคียงกันด้วย พฤติกรรมในที่เลี้ยงเป็นปลาที่มีดุร้ายก้าวร้าวมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกันโดยเฉพาะตัวผู้หลาย ๆ ตัวได้เลย เพราะจะกัดกันทันทีแม้กระทั่งเพิ่งเทจากถุงลงตู้กระจก แต่การเลี้ยงรวมกับตัวเมียสามารถกระทำได้อย่างง่ายดาย เป็นปลาที่สามารถเลี้ยงในห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพราะอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีอุณหภูมิระหว่าง 10-24 องศาเซลเซียส มีพฤติกรรมการกินอาหารเพียงแค่ แมลง หรือกุ้งฝอย หรือเนื้อกุ้งชิ้นเท่านั้น โดยไม่กินปลาเหยื่อหรือลูกปลาขนาดเล็กเล.

ใหม่!!: บริติชราชและปลาช่อนบาร์กา · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานตะวันออก

ปากีสถานตะวันออก (East Pakistan; পূর্ব পাকিস্তান Purbo Pākistān; مشرقی پاکستان Mašriqī Pākistān) เป็นดินแดนที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน ซึ่งอยู่ในดินแดนเบงกอล ระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและปากีสถานตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

นรคีส ทัตต์

นรคีส ทัตต์ (नर्गिस, نرگس นูรกัส) เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2472 เป็นอดีตนักแสดงชื่อดังของบอลลีวูด ผลงานภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ธรณีกรรแสง นรคีสเป็นภรรยาของสุนีล ทัตต์ และมีบุตรด้วยกัน 3 คน ได้แก่ สัญชัย ทัตต์, อันชู และปรียา ทัตต์ นรคีสเสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 ขณะมีอายุได้ 51 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2472 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2524 หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวอินเดีย หมวดหมู่:นักแสดงอินเดีย หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินเดีย หมวดหมู่:บุคคลจากโกลกาตา หมวดหมู่:เสียชีวิตจากมะเร็งตับอ่อน.

ใหม่!!: บริติชราชและนรคีส ทัตต์ · ดูเพิ่มเติม »

โกลกาตา

นนสายหนึ่งในเมืองโกลกาตา หอสมุดแห่งชาติในเมืองโกลกาตา โกลกาตา (Kolkata; কলকাতা) หรือชื่อเดิม กัลกัตตา (Calcutta) เป็นเมืองหลวงของรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำฮูคลี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ เมืองนี้มีจำนวนประชากร 4,580,544 คน (พ.ศ. 2544) ซึ่งหากนับรวมในเขตเมืองรอบนอกด้วยก็จะมีจำนวนมากกว่า 14 ล้านคน ทำให้เมืองนี้เป็นกลุ่มเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 3 และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศ โกลกาตาเคยเป็นเมืองหลวงของอินเดียในสมัยการปกครองของอังกฤษ จึงทำให้เมืองนี้เป็นศูนย์กลางการศึกษาสมัยใหม่ วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการเมือง (จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2454 ได้มีการย้ายเมืองหลวงไปนิวเดลี) โดยถือเป็นเมืองหนึ่งที่มีระบบระบายน้ำเก่าแก่ที่สุดในโลก ด้วยมีอายุกว่า 150 ปี อย่างไรก็ตาม โกลกาตาประสบกับภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจเป็นเวลานานติดต่อกันหลายปีหลังจากอินเดียได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2490 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา การฟื้นฟูและการกระตุ้นเศรษฐกิจก็ได้นำไปสู่ความเจริญเติบโตของเมืองอย่างเต็มที่ แต่ก็เช่นเดียวกับเมืองใหญ่แห่งอื่น ๆ ในอินเดีย โกลกาตาต้องเผชิญกับปัญหาเมืองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความยากจน ปัญหามลภาวะ ปัญหาการจราจรติดขัด เป็นต้น นอกจากนี้ โกลกาตายังมีชื่อเสียงด้านประวัติศาสตร์การปฏิวัติ ตั้งแต่การเรียกร้องเอกราชของอินเดีย ไปจนถึงขบวนการฝ่ายซ้ายและสหภาพการค้าต่าง ๆ อีกด้วย เป็นไปได้ว่าชื่อโกลกาตาและ "กัลกัตตา" นั้นอาจจะมาจาก กาลิกาตา ซึ่งเป็นหนึ่งในหมู่บ้านสามแห่ง (กาลิกาตา สุตนุติ และโคพินทปุระ) ในพื้นที่แถบนี้ก่อนการเข้ามาของอังกฤษ ซึ่งสันนิษฐานว่า "กาลิกาตา" นั้นเป็นรูปในภาษาอังกฤษของคำว่า กาลีเกษตร ("ดินแดนของพระแม่กาลี") หรือมาจากคำในภาษาเบงกาลีว่า กิกิลา ("ที่ราบ") หรืออาจมีต้นกำเนิดจากคำพื้นเมืองที่ใช้เรียกชื่อคลองธรรมชาติสายหนึ่ง คือ คาล ตามด้วย กัตตา แม้ว่าในภาษาเบงกาลีซึ่งเป็นภาษาของท้องถิ่นจะเรียกชื่อเมืองนี้ว่า "โกลกาตา" มาตลอด แต่ชื่อภาษาอังกฤษของเมืองก็เพิ่งถูกเปลี่ยนจาก "กัลกัตตา" เป็น "โกลกาตา" ตามการออกเสียงในภาษาดังกล่าวเมื่อปี พ.ศ. 2544 นี้เอง บางคนมองว่านี่เป็นหนึ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อลบล้างสิ่งที่เป็นมรดกตกทอดจากการปกครองของอังกฤษ.

ใหม่!!: บริติชราชและโกลกาตา · ดูเพิ่มเติม »

โกจเจรีล รามัน นารายณัน

โกจเจรีล รามัน นารายณัน (കോച്ചേരില്‍ രാമന്‍ നാരായണന്‍) เกิดเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2463 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย เคยร่วมขบวนกับมหาตมะ คานธี ในการเรียกร้องเอกราชให้แก่อินเดีย หลังจากที่คานธีได้เสียชีวิตไปแล้ว เขาได้อธิบายเหตุการณ์เป็น "โศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตั้งแต่ประเทศอินเดียต้องเผชิญกับการลอบสังหาร มหาตมะ คานธี" นารายณันเป็นนักการทูตอาชีพ ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศอินเดีย และเคยเป็นเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไทย (วาระดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2510-2512) โกจเจรีล รามัน นารายณัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ขณะมีอายุได้ 85 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2463 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2548 หมวดหมู่:นักการเมืองอินเดีย หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินเดีย หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเกรละ.

ใหม่!!: บริติชราชและโกจเจรีล รามัน นารายณัน · ดูเพิ่มเติม »

โดซา

ซา หรือ โดไซ (தோசை; Dosa, Dosai, Dosé) เป็นอาหารอินเดียประเภทหนึ่ง ได้รับความนิยมโดยเฉพาะทางตอนใต้ของอินเดีย ทำจากแป้งแผ่นใหญ่คล้ายโรตีหรือแพนเค้ก ปรุงโดยปิ้ง, ย่าง หรือทอด ด้วยน้ำมันชุ่ม ข้างในห่อด้วยเครื่องเทศประเภทต่าง ๆ เมื่อรับประทานใช้มือบิหรือฉีก จิ้มกับเครื่องแกงรสต่าง ๆ เน้นเผ็ด ทั้งเผ็ดมาก เผ็ดน้อย โดยที่ไม่มีเนื้อสัตว์เลย โดซาได้รับความนิยมอย่างมาก โดยเฉพาะทางตอนใต้ของอินเดีย เช่น รัฐเกรละ, รัฐทมิฬนาฑู เป็นต้น นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า เสิร์ฟใส่จานด้วยแผ่นแป้งชิ้นใหญ่ เป็นอาหารที่มีคุณค่า จนกล่าวกันว่า ชาวอินเดียรอดพ้นจากความทุกข์ยากจากการปกครองโดยจักรวรรดิ์อังกฤษมาได้ ก็ด้วยการรับประทานโดซา เพราะเป็นอาหารที่ทำจากวัตถุดิบราคาถูก เพราะมีในท้องถิ่น และไม่มีเนื้อสัตว์เลย อีกทั้งยังเป็นอาหารที่รับประทานได้กับทุกความเชื่อ ทุกศาสน.

ใหม่!!: บริติชราชและโดซา · ดูเพิ่มเติม »

ไซล สิงห์

ซล สิงห์ (जैल सिंह) เป็นประธานาธิบดีอินเดียคนที่ 7 ที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและไซล สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซโง ทะกะโมะริ

ซโง ทะกะโมะริ (23 มกราคม ค.ศ. 1828 - 24 กันยายน ค.ศ. 1877) เป็นหนึ่งในซามูไรผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น มีชีวิตอยู่ระหว่างปลายยุคเอะโดะ (บะคุมะสึ) ถึงช่วงต้นยุคเมจิ ผู้ได้รับการขนานนามว่า "ซามูไรที่แท้จริงคนสุดท้าย" ("the last true samurai'") ไซโงมีชื่อในวัยเด็กว่า "ไซโง โคะคิชิ" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อว่า "ไซโง ทะกะโมะริ" เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ นอกจากนี้เขายังใช้ชื่อในงานเขียนกวีนิพนธ์ว่า "ไซโง นันชู".

ใหม่!!: บริติชราชและไซโง ทะกะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรดดี เมอร์คูรี

ฟารุก "เฟร็ดดี" เมอร์คูรี (ชื่อเกิด Farrokh Bulsara; ภาษาคุชราต: Pharōkh Balsārā‌; 5 กันยายน ค.ศ. 1946 – 24 กันยายน ค.ศ. 1991) mr-mercury.co.uk เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ชาวบริติช เป็นที่รู้จักดีในฐานะนักร้องนำวงควีน เขามักเป็นที่รู้จักจากการแสดงบนเวทีที่มีสีสันและเสียงอันทรงพลัง ในฐานะนักแต่งเพลง เขาแต่งเพลงที่ได้รับความนิยมสูงมากมายของวงควีน เช่น "Bohemian Rhapsody," "Killer Queen," "Somebody to Love," "Don't Stop Me Now," "Crazy Little Thing Called Love" และ "We Are the Champions" นอกเหนือจากการทำงานกับวงควีน เขายังทำผลงานเดี่ยวด้วย และบางครั้งก็ทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์และเป็นศิลปินรับเชิญ (ในฐานะบทบาทเปียโน/นักร้อง) ในวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: บริติชราชและเฟรดดี เมอร์คูรี · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ใหม่!!: บริติชราชและเส้นทางการค้า · ดูเพิ่มเติม »

เส้นดูรันด์

้นดูรันด์ (Durand Line, د ډیورنډ کرښه) หมายถึง เขตแดนระหว่างประเทศระหว่างปากีสถานกับอัฟกานิสถาน ซึ่งแบ่งแยกเชื้อชาติพัชตุน (ชาวอัฟกานิสถาน) เส้นที่ทำเครื่องหมายอย่างเลวนี้ยาวประมาณ 2,640 กิโลเมตร เส้นดังกล่าวถูกจัดทำขึ้นหลังความตกลงเส้นดูรัน..

ใหม่!!: บริติชราชและเส้นดูรันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อภยะ จรณารวินทะ บัคธิเวดันธะ สวะมิ พระบุพาดะ (เบงกาลี:অভয চরণারবিন্দ ভক্তিবেদান্ত স্বামীপ্রভুপাদ, สันสกฤต:अभय चरणारविन्द भक्तिवेदान्त स्वामी प्रभुपादः,อภย จรณาวินท บัคธิเวดันทะ สวะมิ พระบุพาดะ) (1 กันยายน ค.ศ. 1896 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้ก่อตั้ง สมาคมนานาชาติเพื่อคริชณะจิตสำนึก (ฮะเร คริชณะ) หรือ ISKCON และนำวัฒนธรรมทางจิตวิญญาณของชาวอินเดียเผยแพร่ไปในวัฒนธรรมตะวันตก และก่อตั้งสมาคม ISKCON ขึ้นที่ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยก่อนหน้านี้ ท่านได้จบการศึกษามาจาก วิทยาลัยสก๊อตครูสต์ และได้แต่งงานกับเด็กหญิงคนหนึ่ง และเปิดร้านขายยาเล็กๆ แต่ในปี ค.ศ. 1959 ท่านได้สละชีวิตทางโลก และบวชเป็นนักบวชในลัทธิ ไวษณพนิกาย และออกเผยแพร่คำสอนของ พระคริชณะ และคัมภีร์พระเวท ภควัต-คีตา โดยได้เดินทางไปที่ นิวยอร์ก และเผยแพร่คำสอน และก่อตั้ง สมาคมนานาชาติคริชณะเพื่อจิตสำนึกขึ้น ท่านได้เริ่มต้นวัฒนธรรมศาสนาผ่านทางวัยรุ่นชาวตะวันตกนับพันในยุคนั้น แม้มีกลุ่มต่อต้านท่าน แต่ท่านก็ยังได้รับการต้อนรับอย่างดีเมื่อมาที่สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้นำที่มีความสามารถในการเผยแพร่ มีผู้นับถือ และเป็นศิษย์มากมายทั้งในอเมริกา, ยุโรป, อินเดีย และที่อื่นๆ หลังจากการมรณภาพของท่าน ISKCON ได้เติบโตและเป็นที่ยอมรับในอินเดีย และทั่วโลกจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: บริติชราชและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์

อ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ (Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax) เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดในพรรคอนุรักษนิยมของสหราชอาณาจักรในทศวรรษที่ 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่งอินเดียระหว่าง..

ใหม่!!: บริติชราชและเอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าส่วยแต้ก

้าส่วยแต้ก หรือพระนามเต็ม เจ้าฟ้ากัมโพชรัฐสิริปวรมหาวงศาสุธรรมราชา" เป็นประธานาธิบดีแห่งสหภาพพม่าพระองค์แรกและเป็นเจ้าฟ้าพระองค์สุดท้ายของเมืองยองห้วย พระองค์เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงทางการเมืองในหมู่ประชาชนชาวฉาน พระองค์สิ้นพระชนม์จากการถูกจับขังในคุกในเมืองย่างกุ้งหลังจากการรัฐประหารโดยนายพลเน วินในปี..

ใหม่!!: บริติชราชและเจ้าส่วยแต้ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมกถีหล่า

้าหญิงเมกถีหล่า (Princess of Meiktila; พ.ศ. 2403 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2439) ทรงมีพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงศรีสุริยราชาวดี (Sri Suriya Rajavati) เจ้าหญิงทรงเป็นพระราชธิดาลำดับที่ 48 ของพระเจ้ามินดง ที่ประสูติกับพระนางแลซา ซึ่งเป็นเจ้าหญิงเมืองฉาน และเจ้าหญิงเมกถีหล่าทรงเป็นพระขนิษฐาร่วมพระราชบิดาและพระราชมารดาเดียวกันกับพระเจ้าธีบอ.

ใหม่!!: บริติชราชและเจ้าหญิงเมกถีหล่า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมียะพะยา

้าหญิงเมียะพะยา (ထိပ္စုမြတ်ဖုရား; 7 มีนาคม พ.ศ. 2429 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2505) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในพระเจ้าธีบอกับพระนางศุภยาลัต พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีองค์สุดท้ายของพม่า พระองค์เสกสมรสครั้งแรกกับไท้ตินโกตอจี หรือ โกดอจีไนง์ พระนัดดาในเจ้าชายกะนองเมื่อปี..

ใหม่!!: บริติชราชและเจ้าหญิงเมียะพะยา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมียะพะยากะเล

้าหญิงเมียะพะยากะเล (မြတ်ဖုရားကလေး; 25 เมษายน พ.ศ. 2430 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2479) เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้าธีบอกับพระนางศุภยาลัต พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีองค์สุดท้ายของพม.

ใหม่!!: บริติชราชและเจ้าหญิงเมียะพะยากะเล · ดูเพิ่มเติม »

เทวัน นายัร

นคารา วีฏิล เทวัน นายัร (Chengara Veetil Devan Nair) หรือในชื่อย่อว่า ซี.

ใหม่!!: บริติชราชและเทวัน นายัร · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1

นายพล เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1 GCB (Sir Archibald Campbell, 1st Baronet, 12 มีนาคม 1769 — 6 ตุลาคม 1843) นายทหารชาวสกอตที่รับราชการในกองทัพอังกฤษจาก..

ใหม่!!: บริติชราชและเซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน

ซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน (Sir Sayyid Ahmad Khan; سید احمد تقوی) เป็นนักปฏิรูปชาวอินเดียที่ก่อตั้งสถาบันการศึกษาแบบใหม่สำหรับมุสลิมในอินเดีย โดยให้ความรู้ทางศาสนาควบคู่กับความรู้ทางตะวันตก และพยายามปกป้องสิทธิของมุสลิมในอินเดีย และมีส่วนร่วมในการก่อตั้งขบวนการปากีสถาน อาหมัด ข่านเกิดเมื่อ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: บริติชราชและเซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เปอร์เวซ มูชาร์ราฟ

ปอร์เวซ มูชาร์ราฟ (Pervez Musharraf) ประธานาธิบดีคนที่ 12 ของปากีสถาน เกิดเมื่อ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: บริติชราชและเปอร์เวซ มูชาร์ราฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

British IndiaBritish Indian EmpireBritish Rajอินเดียของอังกฤษอินเดียของบริเตนบริติชอินเดียจักรวรรดิอินเดียจักรวรรดิอินเดียของอังกฤษจักรวรรดิอินเดียของบริเตน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »