โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่

ดัชนี ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่

ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ เดิมเรียก ทางรถไฟเลียบลำน้ำป่าสัก เป็นเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ไปจนถึงอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีม.

17 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2493พ.ศ. 2499พ.ศ. 2504พ.ศ. 2510การรถไฟแห่งประเทศไทยมีเตอร์เกจรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือรถไฟระหว่างเมืองอุโมงค์เขาพังเหยจังหวัดชัยภูมิจังหวัดลพบุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดนครราชสีมาตราทางสะดวก11 ตุลาคม19 สิงหาคม4 มกราคม

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มีเตอร์เกจ

มีเตอร์เกจ (metre gauge) หรือ รางรถไฟขนาดหนึ่งเมตร เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดมาตรฐาน โดยมีความกว้างที่วัดภายในขนาด 1 เมตร โดยมีการใช้งานหลายประเทศใน แอฟริกา อเมริกา และเอเชีย โดยในทวีปยุโรปหลายประเทศได้มีการใช้ในอดีตและได้ปิดและปรับขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ ยกเว้นในประเทศสเปนและสวิตเซอร์แลนด์ รางรถไฟในประเทศไทยเกือบทั้งหมดยกเว้นรางรถไฟลอยฟ้า และรถไฟใต้ดิน ใช้ขนาดมีเตอร์เกจ โดยในปัจจุบันได้มีการพิจารณาจะปรับปรุงรางรถไฟเดิมให้มีขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ เพื่อรองรับกับรถไฟความเร็วสูง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และมีเตอร์เกจ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นกลุ่มสถานีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการเดินรถอย่างหนาแน่น ประกอบด้วยส่วนทับซ้อนจากเส้นทางสายต่าง ๆ โดยรายชื่อสถานี มีดังนี้.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟระหว่างเมือง

รถไฟระหว่างเมืองในฮ่องกง รถไฟระหว่างเมือง เป็นขบวนรถไฟด่วนที่มีระยะทางวิ่งยาวกว่าขบวนรถไฟฟ้าชานเมืองและรถไฟประจำภูมิภาค ระยะทางของรถไฟระหว่างเมืองนั้นไม่จำกัดและแตกต่างกันไปตามประเทศต่าง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และรถไฟระหว่างเมือง · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์เขาพังเหย

อุโมงค์เขาพังเหย อุโมงค์เขาพังเหย เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอด 1 ใน 7 แห่งของประเทศไทย และเป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดเพียงแห่งเดียวของเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ (แต่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองรึ อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี อยู่ระหว่างสถานีรถไฟโคกคลี กับสถานีรถไฟช่องสำราญ บริเวณกิโลเมตรที่ 248.800-249.031 ห่างจากกรุงเทพประมาณ 248 กิโลเมตร อุโมงค์เขาพังเหย เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดบนเส้นทางรถไฟสายลำนารายณ์-เขาพังเหย-บัวใหญ่ (ความยาว 166 กิโลเมตร) เริ่มเปิดเดินรถเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2510.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และอุโมงค์เขาพังเหย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยภูมิ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ตราทางสะดวก

รื่องตราทางสะดวกแบบมีลูกตรา มือจับของเครื่องแสดงท่า "ขบวนรถจะถึง" คืออนุญาตให้รถจากสถานีข้างเคียงเดินเข้าสู่สถานีนี้ได้ ตราทางสะดวก (token) เป็นวัตถุอย่างหนึ่งอย่างใดเช่นลูกกลม เหรียญ ตั๋ว หรืออาณัติสัญญาณอย่างอื่น ซึ่งพนักงานสัญญาณต้องมอบหรือแสดงให้แก่พนักงานรถจักร ก่อนที่จะนำขบวนรถเข้าสู่ทางช่วงระหว่างสถานีสองสถานี (นิยมเรียกว่า ตอน) ตามที่ตรานั้นได้ระบุไว้ ในกรณีที่ง่ายที่สุด พนักงานสัญญาณจะโทรศัพท์หรือโทรเลขสอบถามสถานีข้างเคียงว่าทางที่ขบวนรถจะไปนั้นมีขบวนรถกีดขวางหรือไม่ ถ้าไม่มีก็ได้ชื่อว่าทางสะดวก และสามารถออกตั๋วทางสะดวกแก่พนักงานขับรถได้ ในเวลาต่อมา ตราทางสะดวกอาจใช้เป็นโลหะ เรียกว่าเหรียญตราทางสะดวก หรือลูกตราทางสะดวก ติดตั้งไว้ที่ทั้งสองข้างของตอนต่อทางรถไฟหนึ่งทาง หากเป็นทางคู่ ก็จะมีสี่เครื่อง (สองเครื่องสำหรับด้านหนึ่งของแต่ละสถานี) เพื่อใช้ขอและให้ทางสะดวกแยกกันระหว่างขบวนรถขึ้นกับขบวนรถล่อง เมื่อจะใช้งาน พนักงานสัญญาณจะเคาะเครื่องทางสะดวกเป็นสัญญาณกระดิ่งสอบถามกับสถานีข้างเคียง หากสถานีข้างเคียงตอบกลับมาว่า "ขบวนรถจะถึง" เจ้าหน้าที่จะดึงมือจับเครื่องทางสะดวก บิดไปที่ตำแหน่ง "ขบวนรถออกแล้ว" เพื่อให้ลูกตราหรือเหรียญตราหล่นออกจากเครื่อง ลูกตราที่ได้นี้จะต้องส่งมอบให้พนักงานรถจักร เสมือนว่าเป็นสัญญาณอนุญาตให้ขบวนรถผ่านเข้าสู่ทางช่วงที่ระบุได้ ตราทางสะดวกที่ได้นี้จะไม่สามารถออกใหม่ได้ถ้าขบวนรถยังไม่ได้ส่งคืนตราให้สถานีถัดไป ดังนั้นตราทางสะดวกจึงเป็นหลักประกันว่าไม่มีขบวนรถใดอยู่ในทางระหว่างสถานีมากกว่าหนึ่งขบวน เนื่องจากการใช้ตราทางสะดวก พนักงานรถจักรต้องเบารถลงบ้างเพื่อให้สามารถรับตราทางสะดวกผ่านทางห่วงหนังที่พนักงานสัญญาณยื่นให้หรือแขวนไว้กับเสาซึ่งเป็นการลำบากไม่ใช่น้อย จึงได้มีการพัฒนาให้เครื่องทางสะดวกไม่ปล่อยลูกตราอีกต่อไป แต่จะไปควบคุมอาณัติสัญญาณประจำที่อันนอกสุดมิให้แสดงท่าอนุญาตหากสถานีถัดไปไม่อนุญาต เรียกเครื่องทางสะดวกนี้ว่าเครื่องทางสะดวกสัมพันธ์สัญญาณประจำที่ เมื่อสัญญาณประจำที่แสดงท่าอนุญาตก็ได้ชื่อว่าพนักงานรถจักรได้ตราทางสะดวกแล้ว ในปัจจุบันระบบตราทางสะดวกได้รวมเข้าเป็นหนึ่งกับแผงควบคุมแบบรีเลย์และแบบคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจต้องให้มีขบวนรถในทางระหว่างสถานีมากกว่าหนึ่งขบวน โดยให้ขบวนรถที่ไม่ได้ทางสะดวกยึดถือตั๋วไม่ได้ทางสะดวก เพื่อให้ขับรถอย่างช้า ไม่ชนกับขบวนรถที่ได้ตั๋วทางสะดวกแล้ว ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่มีความเสี่ยงอย่างยิ่งจึงไม่นิยมทำ เป็นเหตุให้ในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาระบบตอนอัตโนมัติ หรือตอนย่อย ซึ่งจะมีสัญญาณประจำที่ตั้งไว้ระหว่างสถานีที่ไกลกันมาก ๆ เมื่อขบวนรถออกจากสถานีหนึ่งและพ้นตอนอัตโนมัติอันแรกสุดแล้วก็จะสามารถให้ทางสะดวกได้อีก วิธีนี้นิยมทำในเขตที่มีการจราจรหนาแน่น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และตราทางสะดวก · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่และ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ทางรถไฟสายแก่งคอย-บัวใหญ่ทางรถไฟสายแก่งคอย–บัวใหญ่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »