โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ดัชนี การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

390 ความสัมพันธ์: ชฎิล เทพวัลย์บริติช เรล คลาส 158ชัย ชิดชอบชายแดนมาเลเซีย-ไทยบางกอกอารีนาบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์พ.ศ. 2534พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554พระราชวังพญาไทพระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช)พิชิต อัคราทิตย์พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์กบฏบวรเดชกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กระทรวงในประเทศไทยกรุงเทพมหานครการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการรถไฟแห่งประเทศไทยการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานครการขนส่งระบบรางในประเทศไทยการขนส่งในประเทศไทยการ์ตูนล้อการเมืองการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกิ้งก่ากายสิทธิ์กุหลาบ สายประดิษฐ์กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42ภาพยนตร์ไทยมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคายมารวย ผดุงสิทธิ์ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครระบบขนส่งทางรางรายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมืองรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยรายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือรายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทยรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยารายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยรถบลูเทรนรถดีเซลรางรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศรถด่วนพิเศษอุตราวิถีรถด่วนพิเศษอีสานมรรคารถด่วนพิเศษอีสานวัตนารถด่วนพิเศษทักษิณรถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์รถด่วนพิเศษนครพิงค์...รถไฟรถไฟชานเมืองรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยสมจินต์ ธรรมทัตสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่มสวนวชิรเบญจทัศสวนสาธารณะสวนจตุจักรสหัส บัณฑิตกุลสะพานคอมโพสิตสาวิทย์ แก้วหวานสุจินดา คราประยูรสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบังสถานีบางกรวย-กฟผ. (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน)สถานีบางซื่อสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางซ่อนสถานีบ้านทับช้างสถานีพญาไทสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีพหลโยธิน (แก้ความกำกวม)สถานีกำแพงเพชรสถานีมักกะสันสถานียมราชสถานียศเสสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีรามคำแหงสถานีรถไฟสถานีรถไฟชะม่วงสถานีรถไฟชะอำสถานีรถไฟบันไดม้าสถานีรถไฟบางสะพานน้อยสถานีรถไฟบางสะพานใหญ่สถานีรถไฟบางปะอินสถานีรถไฟชุมพรสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชีสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชันสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทราสถานีรถไฟบุ่งหวายสถานีรถไฟบ่อตะคร้อสถานีรถไฟบ่อนอกสถานีรถไฟบ้านกรูดสถานีรถไฟบ้านกล้วยสถานีรถไฟบ้านวะตะแบกสถานีรถไฟบ้านคอกม้าสถานีรถไฟบ้านคูบัวสถานีรถไฟบ้านตูมสถานีรถไฟบ้านปินสถานีรถไฟบ้านแหลมสถานีรถไฟบ้านใหม่สถานีรถไฟบ้านโพสถานีรถไฟบ้านโป่งสถานีรถไฟพหลโยธินสถานีรถไฟพิชัยสถานีรถไฟกระสังสถานีรถไฟกระเบียดสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟกลางดงสถานีรถไฟกันทรารมย์สถานีรถไฟกันตังสถานีรถไฟกาญจนบุรีสถานีรถไฟภูเขาลาดสถานีรถไฟมวกเหล็กสถานีรถไฟมหาชัยสถานีรถไฟมาบกะเบาสถานีรถไฟมาบอำมฤตสถานีรถไฟรังสิตสถานีรถไฟราชบุรีสถานีรถไฟลพบุรีสถานีรถไฟลาดบัวขาวสถานีรถไฟวังก์พงสถานีรถไฟวังด้วนสถานีรถไฟวิสัยสถานีรถไฟศรีสะเกษสถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์สถานีรถไฟศิลาอาสน์สถานีรถไฟสระบุรีสถานีรถไฟสวีสถานีรถไฟสะพลีสถานีรถไฟสามกระทายสถานีรถไฟสามร้อยยอดสถานีรถไฟสามเสนสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานีสถานีรถไฟสูงเนินสถานีรถไฟสีคิ้วสถานีรถไฟหลังสวนสถานีรถไฟหัวหมากสถานีรถไฟหัวหวายสถานีรถไฟหัวตะเข้สถานีรถไฟหินลับสถานีรถไฟหนองบัวสถานีรถไฟหนองศาลาสถานีรถไฟหนองหินสถานีรถไฟหนองจอกสถานีรถไฟหนองคางสถานีรถไฟหนองปลาไหลสถานีรถไฟหนองน้ำขุ่นสถานีรถไฟหนองแกสถานีรถไฟหนองไม้เหลืองสถานีรถไฟห้วยยางสถานีรถไฟห้วยสักสถานีรถไฟห้วยทรายใต้สถานีรถไฟห้วยทรายเหนือสถานีรถไฟห้วยไร่สถานีรถไฟห้างฉัตรสถานีรถไฟอยุธยาสถานีรถไฟอุบลราชธานีสถานีรถไฟอุตรดิตถ์สถานีรถไฟผาคันสถานีรถไฟผาเสด็จสถานีรถไฟจัตุรัสสถานีรถไฟจันทึกสถานีรถไฟจิตรลดาสถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)สถานีรถไฟทับสะแกสถานีรถไฟทาชมภูสถานีรถไฟทุ่งมะเม่าสถานีรถไฟทุ่งคาสถานีรถไฟทุ่งประดู่สถานีรถไฟขุนตานสถานีรถไฟดอนทรายสถานีรถไฟดอนเมืองสถานีรถไฟคลองบางตาลสถานีรถไฟคลองวังช้างสถานีรถไฟคลองขนานสถานีรถไฟคลองขนานจิตรสถานีรถไฟคลองตาคตสถานีรถไฟคลองไผ่สถานีรถไฟควนหินมุ้ยสถานีรถไฟคั่นกระไดสถานีรถไฟตรังสถานีรถไฟตะพานหินสถานีรถไฟตันหยงมัสสถานีรถไฟซับม่วงสถานีรถไฟปราณบุรีสถานีรถไฟปากท่อสถานีรถไฟปากตะโกสถานีรถไฟปากปานสถานีรถไฟปางอโศกสถานีรถไฟปางต้นผึ้งสถานีรถไฟปางป๋วยสถานีรถไฟนาชะอังสถานีรถไฟนาพู่สถานีรถไฟนาผักขวงสถานีรถไฟนครชุมน์สถานีรถไฟนครราชสีมาสถานีรถไฟนครสวรรค์สถานีรถไฟนครปฐมสถานีรถไฟแม่กลองสถานีรถไฟแม่จางสถานีรถไฟแม่เมาะสถานีรถไฟแสงแดดสถานีรถไฟโพธารามสถานีรถไฟโยทะกาสถานีรถไฟโคกกรวดสถานีรถไฟโคกสะอาดสถานีรถไฟเชียงรากสถานีรถไฟเพชรบุรีสถานีรถไฟเจ็ดเสมียนสถานีรถไฟเขาพนมแบกสถานีรถไฟเขาย้อยสถานีรถไฟเขาสวนทุเรียนสถานีรถไฟเขาทโมนสถานีรถไฟเขาเต่าสถานีลาดกระบังสถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีวงเวียนใหญ่สถานีหลักสี่สถานีหัวลำโพงสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)สถานีตลิ่งชันสถานีเพชรบุรีสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)สปรินเทอร์สปรินเทอร์ในประเทศไทยสปรินเตอร์หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถมหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ออมสิน ชีวะพฤกษ์อะเดย์อำเภอหาดใหญ่อำเภอเทพาอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาลอุโมงค์ขุนตานอุโมงค์เขาพลึงอีสเทิร์นแอนด์โอเรียนทัลเอ็กซ์เพรสองค์การกับการจัดบริการสาธารณะองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพอนันต์ กรุแก้วอนินทิตา อาขุบุตรฮิตะชิ (รถจักร)ผีเสื้อและดอกไม้ผีเสื้อและดอกไม้ (ละครโทรทัศน์)จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จังหวัดชลบุรีจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสกลนครจังหวัดหนองคายจังหวัดนราธิวาสจังหวัดนครสวรรค์จีอี (รถจักร)จีอีเอถนนกำแพงเพชรถนนรถไฟ (เขตบางกอกน้อย)ถนนสุทธาวาสถนนเพชรเกษมทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออกทางรถไฟสายชุมทางหาดใหญ่–ปาดังเบซาร์ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังทางรถไฟสายชุมทางคลองสิบเก้า–ชุมทางแก่งคอยทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่ทางรถไฟสายมรณะทางรถไฟสายลพบุรีทางรถไฟสายสวรรคโลกทางรถไฟสายสุพรรณบุรีทางรถไฟสายสงขลาทางรถไฟสายหนองคาย–ท่านาแล้งทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควายทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปตทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคมทางรถไฟสายตะวันออกทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือทางรถไฟสายปากน้ำทางรถไฟสายนครศรีธรรมราชทางรถไฟสายแม่กลองทางรถไฟสายใต้ทางรถไฟสายเหนือทางรถไฟสายเขากระโดงทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของที่หยุดรถไฟบางกระบูนที่หยุดรถไฟบางระมาดที่หยุดรถไฟบ้านทรัพย์สมบูรณ์ที่หยุดรถไฟบ้านครนที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์ที่หยุดรถไฟสทล.10+375ที่หยุดรถไฟหัวมาดที่หยุดรถไฟหนองมงคลที่หยุดรถไฟหนองเนียนที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้าที่หยุดรถไฟห้วยโรงที่หยุดรถไฟห้วยเรียนที่หยุดรถไฟผาคอที่หยุดรถไฟทุ่งน้ำซึมที่หยุดรถไฟท่าทองที่หยุดรถไฟท่าฉลอมที่หยุดรถไฟท่าเสาที่หยุดรถไฟคลองยางที่หยุดรถไฟโคกตาหอมที่หยุดรถไฟเขาพลึงที่หยุดรถไฟเขาปีบทีเอชเอ็นท่าเรือแหลมฉบังขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)ขนาดความกว้างรางรถไฟข้าวผัด (ไทย)ข้าวผัดอเมริกันคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลตราบุรฉัตรตลาดซันเดย์ตลาดนัดจตุจักรซุลเซอร์ซีเอสอาร์ ชิซูเยี่ยนประภัสร์ จงสงวนประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2534ปิโตรเลียมป้ายหยุดรถไฟยมราชป้ายหยุดรถไฟสวนสนประดิพัทธ์ป้ายหยุดรถไฟสะพานจุฬาลงกรณ์ป้ายหยุดรถไฟหินกองป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ป้ายหยุดรถไฟประดิพัทธ์ป้ายหยุดรถไฟแจมโบรีนางสาวสุวรรณแฟนพันธุ์แท้ 2003แม่เมาะแยกนพวงศ์ (กรุงเทพมหานคร)แดวู (รถราง)โกวิท วัฒนกุลโม่ สัมบุณณานนท์โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์โรงแรมในประเทศไทยโรงเรียนภราดานุสรณ์โรงเรียนมักกะสันพิทยาโรงเรียนวิสุทธรังษีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)โครงการโฮปเวลล์ไสว ไสวแสนยากรเชาวน์ ณศีลวันต์เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูเสริมสุข กษิติประดิษฐ์เสาว์ บุญเสนอเหตุรถไฟชนกันที่ตลิ่งชัน พ.ศ. 2522เหตุรถไฟตกรางในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2552เหตุหัวรถจักรชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529เอทีอาร์ (รถราง)เอดีดีเอแอลดีเอแอลเอสเอ็นเคเอฟเอเอชเคเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่เทศบาลนครหาดใหญ่เทศบาลนครเชียงรายเทศบาลเมืองบุรีรัมย์เทศบาลเมืองศรีราชาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เขตราชเทวีSRT1 กุมภาพันธ์11 มิถุนายน2 มกราคม26 มีนาคม5 ตุลาคม ขยายดัชนี (340 มากกว่า) »

ชฎิล เทพวัลย์

นายชฎิล เทพวัลย์ เป็นนักหนังสือพิมพ์ อดีตบรรณาธิการข่าวของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เป็นผู้ได้รับการยกย่องจากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็น นักข่าวเกียรติยศ ประจำปี 2549 เนื่องในวันนักข่าว ครั้งที่ 52 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2550 ชฎิล เป็นบรรณาธิการข่าวผู้รับผิดชอบ กรณีข่าวที่เขียนโดยเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ ซึ่งรายงานว่าผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ยืนยันว่ารันเวย์ของสนามบินสุวรรณภูมิแตกร้าว ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ฉบับวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และเป็นข่าวไปทั่วโลก ส่งผลให้กระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ยื่นฟ้องหมื่นประมาทหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เรียกค่าเสียหายหนึ่งพันล้านบาท ผลจากการฟ้องร้องของกระทรวงคมนาคม ส่งผลให้ทางหนังสือพิมพ์กดดันให้ ชฎิลและเสริมสุข ลาออกจากงานเพื่อเป็นการรับผิดชอ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและชฎิล เทพวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

บริติช เรล คลาส 158

ริติช เรล คลาส 158 ภายในรถ บริติช เรล คลาส 158 เอ็กซ์เพรส สปรินเทอร์ เป็นรถดีเซลรางของประเทศอังกฤษ สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1992 โดยบริษัท เบรล ซึ่งคลาสนี้ เป็นคลาสต้นแบบของบริติช เรล คลาส 159.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและบริติช เรล คลาส 158 · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ชายแดนมาเลเซีย-ไทย

นตรวจคนเข้าเมืองช่องสะเดา ถ่ายจากฝั่งมาเลเซีย (เกอดะฮ์) พรมแดนมาเลเซีย-ไทย มีทั้งชายแดนระหว่างประเทศทั้งบนบกผ่านคาบสมุทรมลายู และทางน้ำทางช่องแคบมะละกา รวมไปถึง อ่าวไทย/ทะเลจีนใต้ มาเลเซียทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศไทย มีแม่น้ำโก-ลกเป็นพรมแดนระหว่างประเทศ ที่มีความยาวประมาณ 95 กิโลเมตรกั้นประเทศไทยและมาเลเซีย โดยประเทศไทยอยู่ทางเหนือ และประเทศมาเลเซียอยู่ทางใต้ พรมแดนระหว่างประเทศนี้ได้ใช้ร่วมกันมาตั้งแต่ 1909 ระหว่างไทย (ซึ่งในตอนนั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่าสยาม) กับอังกฤษซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในตอนเหนือของมาเลเซีย ซึ่งก็คือ เกอดะฮ์ (ไทรบุรี) กลันตัน ปะลิส และตรังกานูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในสมัยก่อนทั้งสี่รัฐนี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของสยามมาก่อน และเป็นรัฐพรมแดนระหว่างประเทศของมาเลเซีย ซึ่งได้แก่ (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) ปะลิส เกอดะฮ์ เประก์ และกลันตัน กับ 4 จังหวัดพรมแดนระหว่างประเทศของไทย (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) คือ จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและชายแดนมาเลเซีย-ไทย · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกอารีนา

งกอกอารีนา (Bangkok Arena) หรือชื่อเดิมว่า บางกอกฟุตซอลอารีนา เป็นสนามกีฬาในร่มของประเทศไทย ตั้งอยู่บนพื้นที่ 50 ไร่ ภายในศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อรองรับการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยมีโครงการพัฒนาเป็นศูนย์กีฬาทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานครในอนาคต สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ลงมติให้ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 จึงเริ่มดำเนินโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอลเพื่อใช้เป็นสนามหลักในการแข่งขัน พร้อมทั้งการจัดพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขัน ในปี พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีซึ่งมีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้กรุงเทพมหานครที่มีหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรเป็นผู้ว่าราชการ รับผิดชอบโครงการด้วยวงเงินประมาณ 1,300 ล้านบาท โดยลงนามในสัญญาจ้างบริษัท อีเอ็มซี จำกัด (มหาชน) เพื่อเริ่มการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2555,.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและบางกอกอารีนา · ดูเพิ่มเติม »

บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์

ันโทบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ (21 เมษายน พ.ศ. 2449 - 29 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตนักธุรกิจและนายกเทศมนตรีเมืองกาญจนบุรี ผู้มีส่วนช่วยเหลือเชลยสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตนักธุรกิจกิจการรถเมล์บุญผ่อง รถเมล์เอกชนวิ่งรับผู้โดยสารในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

นตร์ข่าวเรื่อง "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" เป็นภาพยนตร์ข่าวซึ่งผลิตโดยกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าว กรมรถไฟหลวง จัดทำขึ้นโดยได้รับพระบรมราชานุญาตเพื่อจำหน่ายแก่ผู้สนใจเก็บไว้เป็นที่ระลึก รายละเอียดของภาพยนตร์ชุดนี้เป็นการบันทึกเหตุการณ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปลายปี พ.ศ. 2468 นับเป็นครั้งแรกที่มีการบันทึกภาพยนตร์พระราชพิธีสำคัญตามโบราณราชประเพณีของไทย ทั้งนี้ วันที่มีการบันทึกภาพยนตร์ข่าวพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในครั้งนั้นมีทั้งหมด 4 วัน ได้แก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King's 7th Cycle Birthday Anniversary, 5th December 2011) เป็นชื่องานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มีพระชนมายุครบ 7 รอบ แปดสิบสี่พรรษาใน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพญาไท

ระราชวังพญาไท หรือ วังพญาไท ตั้งอยู่ที่ริมคลองสามเสน ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น พระราชทานนามให้ว่า "พระตำหนักพญาไท" หรือ "วังพญาไท" ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระราชวังพญาไทในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพระราชวังพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

พระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช)

ระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2487) นักธรณีวิทยาคนแรกของประเทศไทย เดิมชื่อว่าอุดม เลิศวนิช สอบได้ทุนกระทรวงธรรมมาการไปศึกษาต่อด้านวิศวกรเหมืองแร่และวิชาแร่ ณ มหาวิทยาลัยลีดส์ เมื่อกลับมาก็ได้มีส่วนสำคัญในการก่อตั้งงานธรณีวิทยาให้แก่ประเทศไทย เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ มีผลงานและประสบการณ์สูงเกี่ยวกับการสำรวจหาแหล่งแร่ในประเทศไทย จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “ พระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ ” ซึ่งมีความหมายว่า เป็นผู้ที่มีความรู้สูงในการตรวจสอบเรื่องเกี่ยวกับพื้นดิน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช) · ดูเพิ่มเติม »

พิชิต อัคราทิตย์

ต อัคราทิตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นประธานกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย (บอร์ดการรถไฟ).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพิชิต อัคราทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์

ผู้ว่า ฯ ในปี พ.ศ. 2547 ที่เยาวราช นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์ เกิดวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2491 สมรสกับ นางอุษา ถนอมพงษ์พันธ์ มีบุตร-ธิดา 2 คน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาลวัดจักรวรรดิ, มัธยมศึกษา จากโรงเรียนปทุมคงคา, ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีฟิสิกส์ทางทะเล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท วิศวอุตสาหกรรม (IIT) สถาบันเทคโนโลยีของอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นอาจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า บางมด 1 ปี, ธนาคารหวั่งหลี 2 ปี ออกมาทำกิจการค้าเงินตราต่างประเทศ 1 ปี แล้วมาทำงานที่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด, ผู้จัดการสำนักค้าเงินตราต่างประเทศ ธนาคารกรุงเทพ เชี่ยวชาญด้านการเงินจนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า "ขงเบ้งการเงิน" เป็น..กรุงเทพฯ เขต 8 พรรคพลังธรรม ปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏบวรเดช

กบฏบวรเดช เกิดขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 สาเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงเศรษฐกิจที่นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เสนอ และถูกมองว่าเป็น "คอมมิวนิสต์" ชนวนสำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ เป็นผลนำไปสู่การนำกำลังทหารก่อกบฏโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อันเป็นที่มาของชื่อ "กบฏบวรเดช" โดยในที่สุดฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามคณะกบฏลงได้ ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายาได้หนีไปยังประเทศกัมพูชา อนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่บริเวณหลักสี่ บางเขน กรุงเทพฯ ที่เรียกกันว่า "อนุสาวรีย์หลักสี่" นั้น ชื่อจริงคือ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" หรือ "อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ" ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้น ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ปราบกบฏบวร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกบฏบวรเดช · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงในประเทศไทย

กระทรวงในประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งขึ้นโดยการตราพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมีกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกระทรวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร

สถานีรถไฟกรุงเทพ การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศไทย

รถไฟฟ้าบีทีเอส การขนส่งระบบรางในประเทศไทย คือ การขนส่งระบบรางที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งรถไฟทางไกลและรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการขนส่งระบบรางในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศไทย

การจราจรแออัดในชั่วโมงเร่งด่วนในกรุงเทพมหานคร รถสามล้อหรือรถตุ๊กตุ๊ก รูปแบบการขนส่งอย่างหนึ่ง การขนส่งในประเทศไทย มีความหลากหลายและยังไม่มีความเป็นระเบียบ การขนส่งแต่ละประเภทไม่มีความโดดเด่นมากนัก ได้แก่ ระบบการขนส่งทางถนน ที่เป็นหลักของการขนส่งสินค้าทั่วประเทศ การขนส่งทางรถประจำทางที่มีการขนส่งระยะไกลไปยังจังหวัดต่าง ๆ มีการใช้รถจักรยานยนต์เพื่อใช้การเดินทางระยะสั้นแทนการใช้จักรยาน การใช้รถยนต์ส่วนตัวซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมีส่วนทำให้การจราจรเกิดความแออัดทั้งในกรุงเทพมหานครและเมืองสำคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการขนส่งระบบรางที่เชื่อมต่อไปยังภูมิภาคต่าง ๆ แต่ยังมีความล่าช้า ถึงแม้จะมีแผนขยายการให้บริการที่มีรถไฟความเร็วสูงไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศก็ตาม การขนส่งทางอากาศภายในประเทศ ซึ่งในปัจจุบันยังมีสายการบินไม่มากนัก แต่ยังมีความโดนเด่นด้วยวิธีการขนส่งที่มีความแปลกใหม่จากสายตาของชาวต่างประเทศ เช่น รถตุ๊กตุ๊ก รถสองแถว เป็นต้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการขนส่งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนล้อการเมือง

กรมรถไฟหลวง ฝีพระหัตถ์โดย รัชกาลที่ 6 ถือได้ว่าเป็นการ์ตูนล้อการเมืองภาพแรกๆ ของไทย การ์ตูนล้อการเมือง (Political Cartoon) หรือ การ์ตูนบรรณาธิการ (Editorial Cartoon) คือ ภาพการ์ตูนที่วาดและตีพิมพ์ลงสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์, นิตยสาร โดยมีเนื้อหาล้อเลียนหรือวิพากษ์วิจารณ์สภาพสังคม, เศรษฐกิจและการเมือง จุดประสงค์เพื่อความสนุกสนานและความขบขัน ในบางครั้งอาจสอดแทรกถึงวิธีการแก้ปัญหานั้นๆ จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ โดยนักวาดการ์ตูนล้อการเมืองนั้น ถือว่า เป็นคอลัมนิสต์หรือบรรณาธิการคนหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นๆ เรียกว่า นักเขียนการ์ตูน (Cartoonist).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการ์ตูนล้อการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่ากายสิทธิ์

กิ้งก่ากายสิทธิ์ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลกและแฟนตาซี ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย เด๋อ ดอกสะเดา, เหี่ยวฟ้า, สีเทา, ล้อต๊อก, ลักษณ์ อภิชาต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกิ้งก่ากายสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกุหลาบ สายประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 หรือ นนทรีเกมส์ จัดที่จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเพื่อเฉลิมฉลองวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครบรอบ 72 ปี ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

วิทยาเขตหนองคาย เป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยตั้งอยู่ที่จังหวัดหนองคาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2538 เปิดรับนักศึกษาครั้งแรก พ.ศ. 2541 ปัจจุบันมีนักศึกษา 21 รุ่น (พ.ศ. 2559) และมีการเรียนการสอน 5 คณะวิชา 16 หลักสูตร นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาของรัฐในภูมิภาคอีสานตอนบน มีสีประจำคือสีเปลือกไม้ ต้นไม้ประจำวิทยาเขตหนองคายคือต้นชิงชัน ปัจจุบันมีบัณฑิตจบการศึกษาระดับปริญญาตรี มากกว่า 1,500 คน ในช่วง 10 ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

มารวย ผดุงสิทธิ์

ร.มารวย ผดุงสิทธิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นอดีตผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเป็นผู้ริเริ่มใช้ระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยระบบคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและมารวย ผดุงสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ (Railway signalling system) เป็นระบบกลไก สัญญาณไฟ หรือระบบคอมพิวเตอร์ ในการเดินขบวนรถไฟเพื่อแจ้งให้พนักงานขับรถไฟทราบสภาพเส้นทางข้างหน้า และตัดสินใจที่จะหยุดรถ ชะลอความเร็ว หรือบังคับทิศทาง ให้การเดินรถดำเนินไปได้อย่างปลอดภัย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในการเดินรถสวนกันบนเส้นทางเดียว หรือการสับหลีกเพื่อให้รถไฟวิ่งสวนกันบริเวณสถานีรถไฟ หรือควบคุมรถไฟให้การเดินขบวนเป็นไปตามที่กำหนดไว้กรณีที่ใช้ระบบอาณัติสัญญาณแบบคอมพิวเตอร์ ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟจะควบคุมและกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ และระยะเวลาในการเดินรถ ของขบวนรถที่อยู่บนทางร่วมเดียวกัน รวมทั้งการสับหลีกบริเวณสถานีรถไฟ โดยการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ จะออกแบบให้ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พนักงานขับรถไฟสามารถตัดสินใจเดินรถได้อย่างมั่นใจ และไม่ให้เกิดความสับสน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งทางราง

การขนส่งระบบราง (rail transit system) เป็นการขนส่งที่พัฒนามาจากระบบรางนับตั้งแต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การค้นพบเครื่องจักรไอน้ำได้ถูกพัฒนาต่อเนื่องมาควบคู่กับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป เป็นการขนส่งที่รวดเร็วและมีบทบาทสูง สามารถเคลื่อนย้ายคน สิ่งของ ได้อย่างรวดเร็ว ปริมาณมาก และมีค่าใช้จ่ายต่ำ ระบบขนส่ง แยกเป็น รถไฟรางเบา (Light Rail) และ รถไฟรางหนัก (Heavy Rail) หรือ ระบบขนส่งมวลชนเร็ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและระบบขนส่งทางราง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมือง

รายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมืองที่มีอยู่ทั่วโลก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายเหนือ หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย

อุบัติเหตุ หมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวังและไม่ตั้งใจในเวลาและสถานที่แห่งหนึ่ง เกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้าแต่มีสาเหตุและส่งผลกระทบที่สามารถชี้วัดได้ อุบัติเหตุเป็นผลเชิงลบของความเป็นไปได้อย่างหนึ่ง ซึ่งควรจะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันไว้แต่แรก โดยพิจารณาจากปัจจัยสาเหตุต่างๆ อันที่จะนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุทางรถไฟ หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนรถไฟ สถานีรถไฟ หรือในที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย ปัจจุบันมีอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทยมานับแล้วครั้งไม่ถ้วน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สารบัญ: 2440 - 2500 • 2501 - 2545 • 2546 • 2547 • 2548 • 2549 • 2550 • 2551 • 2552 • 2553 • 2554 • 2555 • 2556 • อ้างอิง • แหล่งข้อมูลอื่น -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อสะพานข้ามหรืออุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เรียงลำดับจากเหนือน้ำไปท้ายน้ำ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถบลูเทรน

รถบลูเทรนฟูจิ"Fuji" 2552 รถบลูเทรน (Blue Train) (ブルートレイン.) หรือตู้รถนั่งและตู้รถนอนของญี่ปุ่น รถบลูเทรนประกอบด้วยห้องนอน โดยห้องนอนหนึ่งห้องมี 4 เตียง(คลาสบี) และห้องนอนหนึ่งห้องมี 1 เตียง (คลาสเอ) ไม่สามารถปรับเป็นรถนั่งได้ โดยปกติในประเทศญี่ปุ่นจะใช้รถบลูเทรนพ่วงเป็นขบวนรถทางไกล โดยใช้หัวรถจักรไฟฟ้าตระกูล EF ตระกูล ED และ หัวรถจักรดีเซลตระกูล DD ทำขบวน โดยให้บริการโดย JR East (JR東日本.) JR West (JR西日本.) และ JR Hokkaido (JR北海道.) รถบลูเทรนมีทั้งหมด 5 รุ่น คือ รุ่น 20(20系) รุ่น 14(14系) รุ่น 15(15系) รุ่น 24(24系) รุ่น 25(25系) ส่วนรถโดยสารรุ่น 12 ไม่นับว่าเป็นบลูเทรน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถบลูเทรน · ดูเพิ่มเติม »

รถดีเซลราง

วนรถนำเที่ยวที่ 987 กรุงเทพ - สวนนงนุช ในชานชาลารางที่ 5 สถานีรถไฟกรุงเทพ ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428/427 อุบลราชธานี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟนครราชสีมา ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428 อุบลราชธานี - นครราชสีมาช ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟบุรีรัมย์ รถดีเซลราง (diesel railcar) เป็นรถโดยสารที่มีเครื่องยนต์ดีเซลขับเครื่องด้วยตนเอง เดิมทีการรถไฟได้นำรถชนิดนี้มาใช้งานในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2470 ซึ่งเป็นเครื่องกลไอน้ำ สร้างโดย บริษัทบอลด์วิน สหรัฐอเมริกา รถดีเซลรางรุ่นแรก ๆ ที่นำมาใช้บริการรับส่งผู้โดยสารชานเมืองในปี พ.ศ. 2475 นั้น มีหมายเลข 11 ถึง 16 เป็นรถที่ประกอบด้วยรถกำลัง 1 คัน และรถพ่วงสำหรับผู้โดยสารล้วนอีก 1 คัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง รถดีเซลรางรุ่นใหม่ ๆ ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสูง มีความคล่องตัวในการใช้งาน และสามารถพ่วงต่อกันคราวละหลายชุดได้ โดยแต่ละชุดเครื่องยนต์ทำงานพร้อมกับคันที่มีคนควบคุมที่ต้นขบวน รถดีเซลรางมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าขบวนรถซึ่งใช้รถลากจูงหลายประการ คือ ขบวนการดีเซลรางเร่งความเร็ว และหยุดได้เร็วกว่า จึงทำให้ใช้เวลาในการเดินทางน้อยกว่า และเมื่อถึงปลายทาง พนักงานขับรถเปลี่ยนไปขับท้ายขบวนก็สามารถออกรถได้ทันที ไม่ต้องเปลี่ยนตั้งหัวขบวนใหม่เช่นการใช้รถจักร นอกจากนั้นยังสามารถพ่วงติดต่อกันได้ไม่จำกัด เพราะรถทุกชุดขับเคลื่อนด้วยตัวเอง รถที่เป็นตัวกำลังจะทำงานสัมพันธ์กันทุกเครื่องยนต์ ทำให้เฉลี่ยกำลังขับเคลื่อนออกไปตลอดขบวนขึ้นทางลาดชันได้ดีกว่า นอกจากความคล่องตัวแล้ว รถดีเซลรางยังสะดวกในการจัดทำขบวนรถสั้น ๆ เพียงชุดเดียว (2 คัน) ให้พอเหมาะกับสภาพการโดยสาร (รถคันกำลัง จุที่นั่ง 78 คน ยืน 35 คน และคันพ่วงมี 84 ที่นั่ง ยืน 35 คน) ในแง่ความปลอดภัยของผู้โดยสาร รถทุกคันมีประตูขึ้นลง เปิดปิดโดยระบบอัตโนมัติที่พนักงานขับรถจะเป็นผู้ควบคุม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถดีเซลราง · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ

รถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ (International Express, ขบวนที่: 45/46) เป็นรถด่วนพิเศษขบวนหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ในอดีตวิ่งระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟบัตเตอร์เวอร์ธ เขตนอร์ทเทิร์นเซบรังเปไร รัฐปีนัง โดยใช้รหัสขบวน 35/36 ปัจจุบันสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีปาดังเบซาร์และผู้โดยสารจะต้องผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองและไปซื้อตั๋วเพื่อขึ้นรถไฟ อีทีเอส หรือ โคมูเตอร์ ของมาเลเซียต่อไป ปัจจุบันชนิดรถที่ให้บริการมีเพียงรถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นสอง (บนท.ป.) ในขณะที่หัวรถจักรส่วนมากใช้จีอีเอหรือฮิตะชิทำการ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษอุตราวิถี

รถด่วนพิเศษอุตราวิถี (อุตราวิถี แปลว่า ทางสู่ภาคเหนือ; รหัสขบวน: 9/10) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟเชียงใหม่ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก รถด่วนพิเศษอุตราวิถีเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษอุตราวิถี · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา

รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา (อีสานมรรคา แปลว่า ทางสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; รหัสขบวน: 25/26) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟหนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในสายตะวันออกเฉียงเหนือ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-หนองคาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษอีสานมรรคา · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษอีสานวัตนา

รถด่วนพิเศษอีสานวัตนา (อีสานวัตนา แปลว่าเส้นทางสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; รหัสขบวน: 23/24) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในเส้นทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก รถด่วนพิเศษอีสานวัตนาเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-อุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษอีสานวัตนา · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษทักษิณ

รถด่วนพิเศษทักษิณ (ทักษิณ แปลว่าภาคใต้; รหัสขบวน: 37/38) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เป็นขบวนรถด่วนพิเศษที่มีระยะทางทำการไกลที่สุดในประเทศไทย (ไม่นับรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ ซึ่งเข้าไปในประเทศมาเลเซีย) ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นหนึ่งและชั้นสอง (บนอ.ป. และ บนท.ป.) รถนั่งชั้นสองและชั้นสาม (บชท. และ บชส.) และรถเสบียง (บกข. หรือ บสข.) ปัจจุบันพ่วงการโดยสารร่วมกับรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศขบวนที่ 45/46.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์

รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์ (ทักษิณารัถย์ แปลว่า ทางเดินสู่ภาคใต้; รหัสขบวน: 31/32) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในสายใต้ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์เริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-ชุมทางหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์ · ดูเพิ่มเติม »

รถด่วนพิเศษนครพิงค์

รถด่วนพิเศษนครพิงค์ (เลขขบวน: 1/2) เป็นรถด่วนพิเศษในอดีตขบวนหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร และสถานีรถไฟเชียงใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยรถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นหนึ่งและชั้นสอง (บนอ.ป. และ บนท.ป.) รถนั่งปรับอากาศเจอาร์เวสสำหรับผู้พิการ และรถเสบียงปรับอากาศ (บกข.ป) ปัจจุบันยุติการให้บริการและทดแทนด้วยรถด่วนพิเศษอุตราวิถีขบวนที่ 9/10 เดินรถเที่ยวสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถด่วนพิเศษนครพิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟ

ี-ซีรีส์ ของประเทศออสเตรเลีย รถไฟความเร็วสูง '''อีเซเอ''' ของประเทศเยอรมนี รถไฟ เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รางส่วนใหญ่มักจะประกอบด้วยราง 2 เส้นขนานกัน แต่ยังหมายรวมถึงประเภทรางเดี่ยวหรือประเภทที่ใช้พลังแม่เหล็กด้วย รถไฟจะขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรหรือขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หลายๆตัวที่ติดอยู่ใต้ท้องรถ รถไฟสมัยใหม่จะใช้กำลังจากหัวรถจักรดีเซลหรือจากไฟฟ้าที่ส่งมาตามสายไฟที่อยู่เหนือตัวรถหรือตามรางสาม (Third Rail) เดิม รถไฟขับเคลื่อนโดยใช้หม้อต้มน้ำทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำทำให้เกิดแรงดัน แรงดันจะทำการขับเคลื่อนกลไกทำให้ล้อรถไฟเคลื่อนที่ได้ การที่ใช้ฟืนเป็นแหล่งพลังงานในการต้มน้ำ และฟืนที่ทำให้เกิดเปลวไฟ ทำให้เรียกรถชนิดนี้ว่า รถจักรไอน้ำ รถไฟแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ หัวรถจักร, รถดีเซลราง, รถโดยสาร และ รถสินค้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้าชานเมืองในนครนิวยอร์ก รถไฟชานเมือง หรือ รถไฟฟ้าชานเมือง เป็นรถไฟโดยสารที่ให้บริการระหว่างใจกลางเมือง ไปจนถึงชานเมืองที่มีระยะไม่เกิน 15 กิโลเมตร หรือ 10 ไมล์ หรือเป็นเมืองที่มีผู้คนเข้ามาทำงานในใจกลางเมืองมาก โดยรถไฟจะวิ่งตามกำหนดเวลา มีความเร็วสูงสุดตั้งแต่ 50 ไปจนถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของรถไฟชานเมือง ว่า เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีไม่เกิน 160 กม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟชานเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นระบบรถไฟชานเมืองขนาดใหญ่ในประเทศไทย ให้บริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดลพบุรี, จังหวัดสุพรรณบุรี, จังหวัดราชบุรี, จังหวัดฉะเชิงเทรา, จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย รหัสเลขขบวนรถส่วนใหญ่จะเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ4(471-480) และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมจินต์ ธรรมทัต

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานรางวัลดาราทองประเภทโทรทัศน์ ให้นาย สมจินต์ ธรรมทัต ณ.เวทีลีลาศสวนอัมพร วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พุทธศักราช 2509 สมจินต์ ธรรมทัต เกิดวันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จังหวัดธนบุรี เป็นนักแสดงชาวไทย นักพากย์ ผู้กำกับการแสดง จบการศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลปธนบุรี และพานิชยการพระนคร เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการทำงานที่ บริษัทไทยโทรทัศน์ จำกัด หรือช่อง 4 บางขุนพรหม ยุคบุกเบิก มีหน้าที่ต่างๆ ตามได้รับมอบหมาย กับงานอัดเสียงผู้สมัครเข้าเป็นผู้ประกาศของบริษัท ต่อมาได้บรรจุเป็นพนักงานประจำฝ่ายจัดรายการ แผนกแผนผัง (แผนผังการออกอากาศ) ซึ่งมี จำนง รังสิกุล ผู้อำนวยการสถานี และ อาจินต์ ปัญจพรรค์ เป็นหัวหน้าฝ่ายและรองหัวหน้าตามลำดับ และเป็นเจ้าของผลงาน 3 รางวัล ได้แก่ ดาราทองพระราชทาน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสมจินต์ ธรรมทัต · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม

รรสริญ วงศ์ชะอุ่ม (29 มกราคม พ.ศ. 2491 —) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย อดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

สวนวชิรเบญจทัศ

วนวชิรเบญจทัศ หรือที่นิยมเรียกว่า สวนรถไฟ เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ มีเนื้อที่กว่า 375 ไร่ ตั้งอยู่ที่ถนนกำแพงเพชร 3 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ติดกับสวนสาธารณะอีก 2 สวน คือ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ และสวนจตุจักร อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสวนวชิรเบญจทัศ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสาธารณะ

วนลุมพินี สวนสาธารณะใจกลางกรุงเทพมหานคร สวนสาธารณะ หมายถึงบริเวณสาธารณะที่ภาครัฐ ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) หรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) จัดให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่ประชาชนตามชุมชนและเมืองต่างๆ โดยรัฐเป็นเจ้าของและเป็นผู้ดูแลรักษา ปัจจุบัน การจัดที่พักผ่อนหย่อนใจถือเป็นหน้าที่ของรัฐ แต่สวนสาธารณะในความหมายนี้ อาจจัดสร้างโดยเอกชนแล้วอุทิศให้แก่ประชาชนก็ได้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสวนสาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

สวนจตุจักร

วนจตุจักร เป็นสวนสาธารณะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกจรดถนนพหลโยธิน ทิศเหนือจรดถนนวิภาวดีรังสิต ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดถนนกำแพงเพชร 3.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหัส บัณฑิตกุล

หัส บัณฑิตกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตรองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสหัส บัณฑิตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สะพานคอมโพสิต

นคอมโพสิตเคียงคู่กับสะพานห้าหอ ภาพโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย สะพานคอมโพสิต เป็นสะพานสำหรับรถไฟ 1 ใน 3 แห่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมทางรถไฟข้ามหุบเขาบนเส้นทางรถไฟสายเหนือ ระหว่างสถานีรถไฟแม่ตานน้อย กับสถานีรถไฟขุนตาน บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 676.754 เป็นสะพานคอมโพสิตแห่งแรกของการรถไฟแห่งประเทศไทย สะพานคอมโพสิต ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาพร้อมกับเส้นทางรถไฟสายนี้ แต่เป็นสะพานที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อทดแทนสะพานห้าหอ ที่สร้างขึ้นใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2458 ซึ่งมีสภาพไม่สมบูรณ์ ไม่มั่นคงปลอดภัย และไม่มีความคุ้มค่าที่จะบูรณะซ่อมแซม ผู้เชี่ยวชาญจากการรถไฟแห่งชาติญี่ปุ่น ได้ให้คำแนะนำว่าควรสร้างสะพานขึ้นใหม่ใกล้เคียงกับสะพานเดิม การรถไฟแห่งประเทศไทย จึงสร้างเป็นสะพานคอมโพสิต (Composite Girder) โดยมีช่วงสะพาน 5 ช่วง ความยาวแต่ละช่วงยาว 15 30 30 30 15 เมตรตามลำดับ รวมความยาวทั้งสิ้น 120.00 เมตร ตอม่อสะพานเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กภายในกลวง คานสะพานเป็นเหล็ก ตัวสะพานเป็นกระบะคอนกรีต สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2510 และเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2510 โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 6,782,000 บาท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสะพานคอมโพสิต · ดูเพิ่มเติม »

สาวิทย์ แก้วหวาน

วิทย์ แก้วหวาน นายสาวิทย์ แก้วหวาน เกิดเมื่อ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสาวิทย์ แก้วหวาน · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสุจินดา คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง

นีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง หรือ ไอซีดี ลาดกระบัง (Inland Container Depot: ICD) เป็นสถานีรถไฟชั้นพิเศษ ของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่สร้างขึนเพื่ออำนวยความสะดวก ให้บริการแก่ผู้ส่งออก ผู้นำเข้า และบุคคลทั่วไป ในกิจกรรมทุกอย่างเกี่ยวกับสินค้าประเภทตู้คอนเทนเนอร์ ทั้งขาเข้า และขาออก เสมือนท่าเรือบก ตั้งอยู่ในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 645 ไร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางกรวย-กฟผ. (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน)

นีบางกรวย-กฟผ. เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงสถานีเดียวที่อยู่ในเขตจังหวัดนนทบุรี ยกระดับตามแนวเส้นทางรถไฟสายใต้ บริเวณเชิงสะพานพระราม 6 และสะพานพระราม 7 ฝั่งธนบุรี ใกล้จุดตัดทางรถไฟถนนจรัญสนิทวงศ์ ทางแยกถนนบางกรวย-ไทรน้อย และทางเข้าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เขตเทศบาลเมืองบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบางกรวย-กฟผ. (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ

นีบางซื่อ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซ่อน

นีบางซ่อน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบางซ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบ้านทับช้าง

นีบ้านทับช้าง (Ban Thap Chang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีบ้านทับช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพญาไท

มุมสูง สถานีพญาไทของรถไฟฟ้าทั้ง 2 ระบบ สถานีพญาไท เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีพหลโยธิน เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร บริเวณห้าแยกลาดพร้าว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพหลโยธิน (แก้ความกำกวม)

นีพหลโยธิน อาจหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีพหลโยธิน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกำแพงเพชร

นีกำแพงเพชร (รหัส KAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนกำแพงเพชร กรุงเทพมหานคร ใช้ชื่อตามถนนกำแพงเพชร ซึ่งตั้งตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งค้าขายที่สำคัญคือตลาดนัดจตุจักร ตลาดกลางองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และตลาดสัตว์เลี้ยง องค์การส่งเสริมกิจการโคมนมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีมักกะสัน

นีมักกะสัน สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีมักกะสัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานียมราช

นียมราช สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานียมราช · ดูเพิ่มเติม »

สถานียศเส

นียศเส สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานียศเส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

นีราชปรารภ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางทุกสถานีจากสถานีพญาไทไปจนถึงสุวรรณภูมิ ยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก ที่จุดตัดถนนราชปรารภ กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกนิคมมักกะสัน ในอนาคต จะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีราชปราร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรามคำแหง

นีรามคำแหง (Ramkhamhaeng Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟ

นีรถไฟแกรนด์เซ็นทรัล นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สถานีรถไฟ คืออาคารหรือกลุ่มอาคาร ที่ใช้เป็นจุดจอด แวะพัก เปลี่ยนขบวน สำหรับการเดินรถไฟ มีการรับส่งผู้โดยสารเป็นภารกิจหลัก และรับส่งสินค้าบ้างเป็นครั้งคราว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชะม่วง

นีรถไฟชะม่วง ตั้งอยู่ บ้านชะม่วง หมู่ 3 ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชะอำ

นีรถไฟชะอำ เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ เดิมชื่อ สถานีบ้านชะอำ ตั้งอยู่ถนนนราธิป ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชะอำ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบันไดม้า

นีรถไฟบันไดม้า (Bandai Mah) ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 4 บ้านบันไดม้า ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 173.64 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟปางอโศก และ สถานีรถไฟปากช่อง ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ตัวย่อของสถานีนี้คือ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบันไดม้า · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบางสะพานน้อย

นีรถไฟบางสะพานน้อย ตั้งอยู่ บ้านบางสะพานน้อย หมู่ 4 ตำบลบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบางสะพานน้อย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบางสะพานใหญ่

นีรถไฟบางสะพานใหญ่ ตั้งอยู่ หน้าสถานีตำรวจภูธรบางสะพาน (กำเนิดนพคุณ)ถนนทองกำเนิด เขตเทศบาลตำบลกำเนิดนพคุณ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้เป็นเขตควบคุมของชุมพร อยู่ในความควบคุมของงานเดินรถแขวงหัวหิน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบางสะพานใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบางปะอิน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบางปะอิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมพร

นีรถไฟชุมพร ตั้งอยู่ ถนนนวมินทร์รวมใจ ตำบลท่าตะเภา อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีชุมพร เป็นจุดเติมน้ำมัน จุดแรก ของทางรถไฟสายใต้ หลังจากออกมาจากสถานีกรุงเทพ, สถานีธนบุรี และ ย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน และ รถไฟจากเส้นทางสายใต้ทุกขบวนที่จะเข้าสถานีกรุงเทพ สถานีธนบุรี และย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน ดังนั้นรถไฟต้องจอดทุกขบวน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ

'''สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ''' อาคารผู้โดยสาร 2 (สายใต้-สายตะวันตก) ปัจจุบันอาคารผู้โดยสาร 2 ใช้สำหรับ'''ร'''ถไฟทางไกลสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือและสายใต้ (มองไปทางอาคารผู้โดยสาร1 ปัจจุบันได้มีการรื้อถอนแล้ว) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ (Bang Sue Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีชุมทางรถไฟหลักของประเทศไทย ซึ่งแยกทางรถไฟสายใต้ ออกจากทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงยังเป็น 1 ใน 2 สถานีชุมทางรถไฟที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร คือ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ และสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี

นีรถไฟชุมทางบ้านภาชี เป็นสถานีรถไฟประจำตำบลภาชี และอำเภอภาชี อยู่ในเส้นทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟระดับ 1มีจำนวนราง 17 ราง เป็นทางหลัก 3 ราง ทางหลีก 14 ราง เป็นรางติดชานชาลา 8 ทาง โดยเป็นสถานีชุมทางแห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ที่ระดับสถานี 1 ในจังหวัดอยุธยา โดยมีสถานีอยุธยา สถานีบางปะอิน สถานีชุมทางบ้านภาชีและสถานีท่าเรือ ซึ่งสถานนีรถไฟชุมทางบ้านภาชี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 89.95 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ ถนนเทศบาล 5 หมู่5 บ้านตลาด ตำบลภาชี อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์13140 ทางเหนือของสถานีเป็นทางคู่แยกระหว่างสายเหนือกับสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเลี้ยวซ้ายเป็นเส้นทางสายเหนือไปสถานีหนองวิวัฒน์ จนถึงสถานีเชียงใหม่กับสถานีสวรรคโลก โดยสุดทางคู่ที่สถานีลพบุรีแล้วใช้ทางเดี่ยวไปตลอดทาง ส่วนทางตรงเป็นเส้นทางสายตะวันออกเฉียงเหนือไปสถานีหนองกวย จนถึงสถานีหนองคายกับสถานีอุบลราชธานี โดยสุดทางคู่ที่สถานีมาบกะเบาแล้วใช้ทางเดี่ยวไปตลอดทาง ส่วนทางใต้ของสถานีเป็นทางสามไปสถานีพระแก้ว จนถึงสถานีรถไฟกรุงเทพ โดยสุดทางสามที่สถานีรังสิตแล้วใช้ทางคู่ไปตลอดทาง และเป็น 1 ใน 16 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไทยในปัจจุบัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ

นีรถไฟชุมทางถนนจิระ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 266 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โทร.0-4424-2363 เป็นชุมทางรถไฟแยกไปหนองคาย และอุบลราชธานี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน

นีรถไฟชุมทางตลิ่งชันในอดีต สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตั้งอยู่ที่ซอยฉิมพลี 12 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 5.21 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี/สถานีรถไฟบางบำหรุ และ สถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์ ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี ตัวย่อของสถานีคือ ต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา

นีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 บนทางรถไฟสายตะวันออกของการรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีชุมทางฉะเชิงเทรา เป็นจุดรับส่งผู้โดยสาร ถึง สถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วและ สถานีรถไฟบ้านพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และติด 1 ใน 10 ของสถานีรถไฟขนาดใหญ่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นสถานีที่ขบวนรถไฟสินค้าที่มาจากสายชายฝั่งทะเลตะวันออกต้องแวะ เพื่อเปลี่ยนเส้นทางไปยังอีกช่วง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบุ่งหวาย

นีรถไฟบุ่งหวาย เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่ตำบลบุ่งหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 556 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบุ่งหวาย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ่อตะคร้อ

นีรถไฟบ่อตะคร้อ ตั้งอยู่บ้านบ่อตะคร้อ หมู่ 3 ตำบลบ่อกระดาน อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ่อตะคร้อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ่อนอก

นีรถไฟบ่อนอก ตั้งอยู่บ้านบ่อนอก หมู่ 6 ตำบลบ่อนอก อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ่อนอก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านกรูด

นีรถไฟบ้านกรูด ตั้งอยู่บ้านกรูด หมู่ 7 ตำบลธงชัย อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านกรูด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านกล้วย

นีรถไฟบ้านกล้วย ตั้งอยู่ ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านวะตะแบก

นีรถไฟบ้านวะตะแบก เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ตั้งอยู่ที่อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 263.13 กิโลเมตรสถานีนี้เป็นสถานีประจำอำเภอเทพสถิต และเป็นสถานีที่ตั้งอยู่ใกล้กับอุทยานแห่งชาติป่าหินงามมากที.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านวะตะแบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านคอกม้า

นีรถไฟบ้านคอกม้า ตั้งอยู่บ้านคอกม้า หมู่ 6 ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านคอกม้า · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านคูบัว

นีรถไฟบ้านคูบัว ตั้งอยู.บ้านกลาง-บ้านปู่ฟ้า บ้านคูบัว หมู่ 3 ตำบลคูบัว อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านคูบัว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านตูม

นีรถไฟบ้านตูม เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 400 กิโลเมตร ตั้งอยู่บ้านตูม หมุ่ 2 ตำบลปากโทก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านตูม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านปิน

นีรถไฟบ้านปิน เป็นสถานีรถไฟประจำตำบลบ้านปิน และอำเภอลอง อยู่ในเส้นทางรถไฟสายเหนือ เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียวในจังหวัดแพร่ที่ระดับสถานีรถไฟ เป็นระดับ 2 มีจำนวนราง 5 ราง เป็นทางหลัก 2 ราง ทางหลีก 3 ราง ทางตัน 1 ราง รางติดชานชาลา 2 ทาง โดยเป็นสถานีรองจากสถานีรถไฟเด่นชัย ที่เป็นสถานีประจำอำเภอเด่นชัย และจังหวัดแพร่ ซึ่งสถานนีรถไฟบ้านปินอยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 563.86 กิโลเมตร ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 203 ถนนเทศบาลตำบลบ้านปิน บ้านใหม่ หมู่ที่4 ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ รหัสไปรษณีย์ 54150 ทางเหนือของสถานี มีอุโมงค์ห้วยแม่ลาน ความยาว 130.20 เมตร ระหว่างกิโลเมตรที่ 574.04 ถึง 574.17อยู่ระหว่างสถานีบ้านปิน กับสถานีผาคันและทางด้านขวามีเนินเขาที่ขบวนรถไฟจากกรุงเทพลงเขาก่อนถึงสถานีบ้านปินโดยสถานีรถไฟบ้านปิน อยู่ระหว่างสถานีห้วยแม่ต้า หรือที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้าหมู่ที่7 บ้านห้วยแม่ต้า ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ กับสถานีรถไฟผาคัน หมู่ที่10 บ้านผาคัน ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านปิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านแหลม

นีรถไฟบ้านแหลม เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 ของทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นสถานีต้นของเส้นทางช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ตั้งอยู่ถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผู้โดยสารที่เดินทางไปกรุงเทพ จะต้องลงจากขบวนรถที่สถานีรถไฟบ้านแหลม และต่อเรือข้ามฟากที่ท่าฉลอม ไปขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟมหาชัย มีปลายทางที่สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ระยะทาง 31 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านแหลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านใหม่

นีรถไฟบ้านใหม่ เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 375.31 กิโลเมตร ตั้งอยู่ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1063 ตำบลวัดพริก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านโพ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านโพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านโป่ง

นีรถไฟบ้านโป่ง ตั้งอยู่ถนนหลังสถานี ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ปริมาณการใช้บริการของประชาชนค่อนข้างจะหนาแน่นมาก มีรางเดินรถไฟทั้งหมด 4 รางโดยสถานีนี้จะมีการขนส่งสินค้าอย่างต่อเนื่อง ในอดีตนั้นสถานีบ้านโป่งเป็นสถานีที่ทหารญี่ปุ่นลำเลียงเชลยศึกมาจากคุกชางงี ประเทศสิงคโปร์ เพื่อเดินทางไปก่อสร้างทางรถไฟสายมรณะที่จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟบ้านโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟพหลโยธิน

นีรถไฟพหลโยธิน หรือ ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน หรือ ย่านพหลโยธิน เป็นย่านสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ถนนกำแพงเพชร 2 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ฝั่งตรงข้ามสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) (หรือที่เรียกกันติดปากว่า หมอชิต 2) อยู่ในบริเวณเดียวกับที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน มีจำนวนรางมากกว่า 50 ราง เป็นย่านสับเปลี่ยนขนาดใหญ่ รวมความยาว (ตามแนวเส้นทาง) ถึง 4 กม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟพิชัย

นีรถไฟพิชัย ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 ตำบลในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สถานีรถไฟระดับ 2 ระยะทางจากกรุงเทพถึงสถานีพิชัย คือ 447.55 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟพิชัย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกระสัง

นีรถไฟกระสัง (Kra Sang Railway Station) ตั้งอยู่ที่ถนนเทศบาล 6 ตำบลกระสัง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 398.65 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟห้วยราช และ สถานีรถไฟหนองเต็ง ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกระสัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกระเบียด

นีรถไฟกระเบียด (Krabiat Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 4 บ้านถนนตก ตำบลกะเปียด อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 709.87 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟห้วยปริก และ สถานีรถไฟทานพอ ใช้สัญญาณแบบหางปลา ประแจกลเดี่ยว ตัวย่อของสถานีคือ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกระเบียด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกลางดง

นีรถไฟกลางดง (Klang Dong Railway Station) ตั้งอยู่ที่ตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 160.03 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟมวกเหล็ก และ สถานีรถไฟปางอโศก ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ตัวย่อของสถานีคือ าง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกลางดง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกันทรารมย์

นีรถไฟกันทรารมย์ (Kanthararom Railway Station) ตั้งอยู่ที่ตำบลดูน อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 542.18 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟบ้านคล้อ และ สถานีรถไฟห้วยขยุง ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ าร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกันทรารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกันตัง

ทางรถไฟฝั่งอันดามัน ตัวอาคารสถานี สถานีรถไฟกันตัง (Kantang Railway Station) เป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายใต้ ฝั่งทะเลอันดามัน ตั้งอยู่ที่ถนนหน้าค่าย ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 850.08 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ ฝั่งทะเลอันดามัน ใช้สัญญาณแบบหลักเขตสถานี ตัวย่อของสถานีคือ กต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกันตัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกาญจนบุรี

นีรถไฟกาญจนบุรี (Kanchanaburi Railway Station) ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 117.04 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟท่าเรือน้อย และ สถานีรถไฟวังเย็น ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ กญ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟภูเขาลาด

นีรถไฟภูเขาลาด เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 257 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟภูเขาลาด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟมวกเหล็ก

นีรถไฟมวกเหล็ก เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่ตำบลมวกเหล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 152 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟมหาชัย

นีรถไฟมหาชัย เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ถนนสุขาภิบาล ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาครห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 31 กิโลเมตร การรถไฟฯ จัดเดินขบวนรถวันละ 34 ขบวน (เที่ยวไป 17 ขบวน และเที่ยวกลับ 17 ขบวน) สถานีรถไฟมหาชัยเป็นสถานีปลายทางของเส้นทางช่วงวงเวียนใหญ่-มหาชัย ผู้โดยสารที่ต้องการโดยสารรถไฟต่อไปยังจังหวัดสมุทรสงครามจะต้องลงจากขบวนรถและเดินตามถนนเป็นระยะทาง 500 เมตร จากนั้นต่อเรือข้ามฟากไปที่ท่าฉลอมเพื่อขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟบ้านแหลม มีปลายทางที่สถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟมหาชัย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟมาบกะเบา

นีรถไฟมาบกะเบา เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ตั้งอยู่ในเขตตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ตั้งอยู่ใกล้กับย่านขนถ่ายสินค้าของโรงงานปูนซีเมนต์นครหลวง สร้างขึ้นใช้งานแทนสถานีรถไฟทับกวาง ที่ลดระดับเป็นที่หยุดรถไฟเพราะเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 134 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟมาบกะเบา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟมาบอำมฤต

นีรถไฟมาบอำมฤต ตั้งอยู่บ้านมาบอำมฤต หมู่ 12 ตำบลดอนยาง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟมาบอำมฤต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟรังสิต

นีรถไฟรังสิตในอดีต สถานีรถไฟรังสิต เป็นสถานีชั้น 1 ที่สร้างขึ้น เพื่อทดแทนสถานีคลองรังสิตซึ่งถูกลดชั้น เป็นที่หยุดรถ เปิดใช้งานเมื่อ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 สถานีดังกล่าว เป็นจุดเริ่มต้นของ ทางรถไฟรางที่ 3 ซึ่งสร้างจาก รังสิตไปยังสถานีชุมทางบ้านภาชี เปิดใช้งานทางที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟราชบุรี

นีรถไฟราชบุรี ตั้งอยู่ถนนคฑาธร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีนี้แต่ก่อนเป็นจุดเติมน้ำและฟืนสำหรับรถไฟสายใต้ และปลายทางรถไฟสายใต้ บางขบวน ดังนั้น จึงมีถังน้ำ งวงเติมน้ำและวงเวียนกลับรถจักร เป็นอนุสรณ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟลพบุรี

นีรถไฟลพบุรี สถานีรถไฟลพบุรีมีรูปปั้นลิงอยู่ 2 ตัว เป็นสัญลักษณ์เพื่อให้รู้ว่าท่านกำลังเข้าสู่จังหวัดลพบุรี สถานีรถไฟลพบุรี เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 132.81 กิโลเมตร ตั้งอยู่ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี หมายเหตุ ที่สถานีลพบุรี เป็นเขตสิ้นสุดทางคู่(กรุงเทพ-ชท.บ้านภาชี-ลพบุรี) เริ่มทางเดี่ยว(ลพบุรี-เชียงใหม่).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟลาดบัวขาว

นีรถไฟลาดบัวขาว เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 209 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟลาดบัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวังก์พง

นีรถไฟวังก์พง ตั้งอยู่บ้านวังก์พง ตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ เป็นจุดลงรถ ไป ที่ศูนย์การทหารราบ (ค่ายธนะรัชต์) ระยะทาง 6 กิโลเมตร เดิมแต่ก่อน สถานีวังก์พงเป็นจุดเติมน้ำ และ ฟืน เพราะอยู่ใกล้แม่น้ำปราณบุรี และ เป็นที่สูงไม่เป็นที่ลุ่มเหมือนสถานีปราณบุรี สถานีวังก์พงมีโรงเก็บรถจักร และวงเวียนกลับรถจักร สำหรับรถรวม ธนบุรี - ปราณบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟวังก์พง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวังด้วน

นีรถไฟวังด้วน ตั้งอยู่บ้านวังด้วน หมู่ 9 ตำบลห้วยทราย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟวังด้วน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวิสัย

นีรถไฟวิสัย ตั้งอยู่ บ้านวิสัย หมู่ 1 ตำบลวิสัยเหนือ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟวิสัย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟศรีสะเกษ

นีรถไฟศรีสะเกษ เป็น สถานี ระดับสถานีชั้น 1 ในทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ทำการสถานีตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นสถานีรถไฟที่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง การคมนาคมสะดวก ระยะทางจากกรุงเทพถึงสถานีศรีสะเกษ คือ 515 กิโลเมตร ปัจจุบัน การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้บริการรถไฟทั้งขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว จากสถานีกรุงเทพ อีกทั้งยังมีรถท้องถิ่นเดินระหว่างสถานีนครราชสีมา และสถานีลำชี จังหวัดสุรินทร์ รวมทั้งสิ้น 24 ขบวนต่อวัน จากสถานีกรุงเทพใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 - 11 ชั่วโมง ตามแต่ประเภทขบวนร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์

นีรถไฟศาลาธรรมสพน์ ตั้งอยู่ที่ถนนศาลาธรรมสพน์ ซอย 26 แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 13.18 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และ สถานีรถไฟศาลายา ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ประแจกลหมู่ ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด และสัญญาณไฟสี ตัวย่อของสถานีคือ ท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟศิลาอาสน์

นีรถไฟศิลาอาสน์ ตั้งอยู่ที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1045 (ถนนย่านศิลาอาสน์) ตำบลท่าเสา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อาคารสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ สถานีรถไฟศิลาอาสน์เป็นย่านสถานีรถไฟที่สำคัญของภาคเหนือ และศูนย์คอนเทนเนอร์ของรถไฟสายเหนือ ระยะทางจากกรุงเทพถึงสถานีศิลาอาสน์ คือ 487.52 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7ชั่วโมง สถานีรถไฟศิลาอาสน์ เริ่มก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟศิลาอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสระบุรี

นีรถไฟสระบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ถนนพหลโยธิน 6 เทศบาลเมืองสระบุรี อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 113 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสวี

นีรถไฟสวี ตั้งอยู่ ตำบลนาโพธิ์ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสะพลี

นีรถไฟสะพลี ตั้งอยู่บ้านสะพลี หมู่ 7 ตำบลสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสะพลี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสามกระทาย

นีรถไฟสามกระทาย ตั้งอยู่บ้านสามกระทาย หมู่ 2 ตำบลสามกระทาย อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้(เดิมชื่อสังกระทาย).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสามกระทาย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสามร้อยยอด

นีรถไฟสามร้อยยอด ตั้งอยู่ บ้านสามร้อยยอด หมู่ 2 ตำบลไร่เก่า อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสามร้อยยอด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสามเสน

การก่อสร้างที่ชานชลาสถานีรถไฟสามเสน ต้นปี พ.ศ. 2560 สถานีรถไฟสามเสน เป็นสถานีรถไฟที่สำคัญสถานีหนึ่ง เพราะอยู่ในย่านชุมชนใจกลางย่านที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ขบวนรถไฟที่วิ่งผ่านคือ รถไฟสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และขบวนรถชานเมือง เดิมมีอาคารทรงดอกเห็ดที่เป็นเอกลักษณ์สวยงาม ได้รับการออกแบบโดยอภัย เผดิมชิต แต่ต่อมารื้อลงเนื่องจากต้องใช้พื้นที่ ในการวางตอม่อโครงการโฮปเวลล์ สถานีรถไฟสามเสนตั้งอยู่ริมถนนเทอดดำริ มีพื้นที่อยู่ในแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีชุมทางบางซื่อ (ตัวอาคารสถานี) และบางส่วนอยู่ในแขวงพญาไท เขตพญาไท ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี

นีรถไฟสุราษฎร์ธานี สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี หรือเดิมชื่อ สถานีรถไฟพุนพิน เปิดเมื่อปี 2458 แต่ได้เปลี่ยนชื่อในราวๆ ปี 25xx เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อจังหวัด เป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำตาปี ตำบลท่าข้าม อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ห่างจากตัวอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ อาคารสถานีสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2458 ต่อมาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพญี่ปุ่นใช้อาคารสถานีเป็นที่ทำการหน่วยทหาร อาคารสถานีถูกระเบิดทำลายทั้งหมด โดยเครื่องบินทิ้งระเบิดของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2488 พร้อมกับสะพานจุลจอมเกล้า ที่ข้ามแม่น้ำตาปี กรมรถไฟหลวง (ปัจจุบันคือ การรถไฟแห่งประเทศไทย) ได้สร้างสถานีชั่วคราวขึ้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำตาปี ตรงกันข้ามกับสถานีเดิม ใช้ชื่อว่า สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี 2 เมื่อมีการก่อสร้างอาคารสถานีหลังใหม่ บนพื้นที่เดิม จึงได้รื้อถอนสถานีรถไฟชั่วคราวลง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสูงเนิน

นีรถไฟสูงเนิน เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่ตำบลสูงเนิน อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 234 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสูงเนิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสีคิ้ว

นีรถไฟสีคิ้ว เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่เทศบาลเมืองสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 224 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟสีคิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหลังสวน

นีรถไฟหลังสวน ตั้งอยู่ ถนนสุขประชา ตำบลขันเงิน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหลังสวน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวหมาก

นีรถไฟหัวหมาก เป็นสถานีรถไฟของรถไฟทางไกลสายตะวันออก สถานีนี้สามารถเชื่อมต่อกับสถานีหัวหมากของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ และในอนาคตจะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน อีกทั้งเป็นช่วงเริ่มต้นระบบทางสามไปจนถึงสถานีชุมทางฉะเชิงเทราด้ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหัวหมาก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวหวาย

นีรถไฟหัวหวาย เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 204.06 กิโลเมตร ตั้งอยู่ตำบลหัวหวาย อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ในอดีต สถานีรถไฟหัวหวายเคยเป็นต้นทางของทางรถไฟขนฟืน สายหัวหวาย-ท่าตะโกที่เปิดใช้งานเมื่อปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหัวหวาย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวตะเข้

นีรถไฟหัวตะเข้ เป็นสถานีรถไฟระดับ 2 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานครเป็นสถานรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออก หากจะไปเขตลาดกระบัง หรือ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ให้ลงที่สถานีนี้ได้ สถานีรถไฟหัวตะเข้ อยู่ห่างจากป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพียง 580 เมตรเท่านั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหัวตะเข้ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหินลับ

นีรถไฟหินลับ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 144 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี สถานีรถไฟหินลับเป็นสถานที่หนึ่งที่มีการรบกันระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาลกับฝ่ายกบฏ ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช โดยนายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) แม่ทัพฝ่ายกบฏ ถูกทหารฝ่ายรัฐบาลจากกองพันทหารราบที่ 6 นำโดยพันตรีหลวงวีรวัฒน์โยธายิงตายในที่รบที่สถานีรถไฟแห่งนี้ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2476.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหินลับ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองบัว

นีรถไฟหนองบัว เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่ตำบลตลิ่งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 119 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองศาลา

นีรถไฟหนองศาลา ตั้งอยู่บ้านหนองศาลา หมู่ 2 ตำบลหนองศาลา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองศาลา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองหิน

นีรถไฟหนองหิน ตั้งอยู่บ้านหนองหิน หมู่ 2 ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้จุดนี้ เป็นจุดที่แคบสุดในสยาม นักท่องเที่ยวที่จะมาเที่ยว ตำบลคลองวาฬ สามารถมาลงที่สถานีนี้ได้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองหิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองจอก

นีรถไฟหนองจอก ตั้งอยู่ ตำบลหนองจอก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองคาง

นีรถไฟหนองคาง ตั้งอยู่บ้านหนองคาง หมู่ 3 ตำบลศิลาลอย อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองคาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองปลาไหล

นีรถไฟหนองปลาไหล ตั้งอยู่บ้านหนองปลาไหล หมู่ 2 ตำบลหนองปลาไหล อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองปลาไหล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองน้ำขุ่น

นีรถไฟหนองน้ำขุ่น เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่บ้านหนองน้ำขุ่น ตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 218 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองน้ำขุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองแก

นีรถไฟหนองแก ตั้งอยู่ถนนตะเกียบ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองแก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองไม้เหลือง

นีรถไฟหนองไม้เหลือง ตั้งอยู่ซอยเจริญสุข ตำบลหนองกระเจ็ด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟหนองไม้เหลือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้วยยาง

นีรถไฟห้วยยาง ตั้งอยู่ถนนเพชรเกษม-สถานีรถไฟห้วยยาง ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้วยยาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้วยสัก

นีรถไฟห้วยสัก ตั้งอยู่ บ้านห้วยสัก หมู่ 7 ตำบลทรายทอง อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้วยสัก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้วยทรายใต้

นีรถไฟห้วยทรายใต้ ตั้งอยู่บ้านห้วยทรายใต้ หมู่ 5 ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้วยทรายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้วยทรายเหนือ

นีรถไฟห้วยทรายเหนือ ตั้งอยู่บ้านห้วยทรายเหนือ หมู่ 6 ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้วยทรายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้วยไร่

นีรถไฟห้วยไร่ (Huai Rai Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 บ้านห้วยไร่ ตำบลห้วยไร่ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 521.485 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟปางต้นผึ้ง และ สถานีรถไฟเด่นชัย ตัวย่อของสถานีคือ ห.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้วยไร่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟห้างฉัตร

นีรถไฟห้างฉัตร (Hang Chat Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 4 บ้านสถานี ตำบลห้างฉัตร อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 654.85 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟนครลำปาง และ สถานีรถไฟปางม่วง ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ หฉ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟห้างฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอยุธยา

นีรถไฟอยุธยา เป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตัวอาคารเดิมสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นอาคารไม้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2464 จึงเปลี่ยนเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังจากเปลี่ยนชื่อจาก "สถานีกรุงเก่า" เป็น "สถานีอยุธยา" ตามพระบรมราชวินิจฉัยในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2460 สถานีรถไฟอยุธยาตั้งอยู่นอกเกาะเมืองฝั่งตะวันออก ริมแม่น้ำป่าสัก เป็นสถานีระดับที่ 1 ขบวนรถไฟทุกขบวน จะจอดรับส่งที่สถานีนี้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอุบลราชธานี

นีรถไฟอุบลราชธานีเป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ถนนรถไฟ ตำบลวารินชำราบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 575 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอุตรดิตถ์

นีรถไฟอุตรดิตถ์ เดิมเขียนว่า "สถานีรถไฟอุตตรดิตถ์" ตั้งอยู่ที่ถนนสำราญรื่น ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะทางจากสถานีกรุงเทพถึงสถานีอุตรดิตถ์ คือ 485.17 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟผาคัน

นีรถไฟผาคัน เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 เป็นสถานีประจำหมู่บ้าผาคัน อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 578.46 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 10 บ้านผาคัน ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ ทางใต้ของสถานี มีอุโมงค์ห้วยแม่ลาน ความยาว 130.20 เมตร ระหว่างกิโลเมตรที่ 574.04 ถึง 574.17 โดยการก่อสร้างสถานีนั้น เวลาไกล้เคียงกับสถานีรถไฟบ้านปิน ที่อยู่ทางทิศใต้ในสถานีถัดไป โดยมีราง 3ราง ทางหลัก1ราง ทางหลีก1ราง ทางตัน1ราง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟผาคัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟผาเสด็จ

นีรถไฟผาเสด็จ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 138 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี อยู่ใกล้กับผาเสด็จ เป็นหน้าผาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เคยเสด็จมาเมื่อคราวเปิดเดินรถไฟสายกรุงเทพ-นครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. 2438 และทรงจารึกพระปรมาภิไธย จปร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟผาเสด็จ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟจัตุรัส

นีรถไฟจัตุรัส เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 310.19 กิโลเมตรสถานีนี้เป็นสถานีประจำจังหวัดชัยภูมิและเป็นสถานีที่ตั้งอยู่ใกล้กับตัวเมืองชัยภูมิมากที่สุด โดยผู้โดยสารสามารถลงรถไฟที่สถานีนี้และต่อรถเข้าไปยังจังหวัดชัยภูมิได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟจัตุรัส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟจันทึก

นีรถไฟจันทึก เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่ตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 196 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟจันทึก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟจิตรลดา

นีรถไฟจิตรลดา หรือ สถานีรถไฟหลวงสวนจิตรลดา เป็นสถานีที่สร้างขึ้น สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อมีการเสด็จฯ ทางรถไฟ อีกทั้งได้เคยใช้เป็นสถานที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะในบางโอกาส ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ถนนสวรรคโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของทางรถไฟ โดยอาคารหลังปัจจุบันนี้ สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟจิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)

นีรถไฟธนบุรี อาจหมายถึงสองสถานีที่การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ทำการเปลี่ยนชื่อ ระหว่างสถานีบางกอกน้อย และสถานีธนบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)

นีรถไฟธนบุรี (เดิม) ภาพในปี พ.ศ. 2549 สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) (ภาพในอดีต เมื่อยังมีการเดินรถ) ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ตั้งอยู่ ณ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร มีความสำคัญในฐานะเคยเป็นสถานีต้นทางแห่งแรกของรถไฟสายใต้ ตัวสถานีรถไฟได้รับการออกแบบโดย หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ ซึ่งสร้างแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟทับสะแก

นีรถไฟทับสะแก ตั้งอยู่ บ้านทับสะแก หมู่ 4 ตำบลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟทับสะแก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟทาชมภู

นีรถไฟทาชมภู (Tha Chomphu) ตั้งอยู่ในตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 691.89 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟศาลาแม่ทา และ สถานีรถไฟขุนตาน ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟทาชมภู · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟทุ่งมะเม่า

นีรถไฟทุ่งมะเม่า ตั้งอยู่บ้านทุ่งมะเม่า ตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟทุ่งมะเม่า · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟทุ่งคา

นีรถไฟทุ่งคา ตั้งอยู่ บ้านทุ่งคา หมู่ 4 ตำบลทุ่งคา อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟทุ่งคา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟทุ่งประดู่

นีรถไฟทุ่งประดู่ ตั้งอยู่ถนนทุ่งประดู่ 1 บ้านทุ่งประดู่ หมู่ 2 ตำบลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟทุ่งประดู่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟขุนตาน

นีรถไฟขุนตาน (Khuntan Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 บ้านขุนตาน ตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นระยะทาง 683.140 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่างสถานีรถไฟทาชมภู และ สถานีรถไฟแม่ตานน้อย ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ ขน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟขุนตาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟดอนทราย

นีรถไฟดอนทราย ตั้งอยู่บ้านดอนทราย หมู่ 2 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟดอนทราย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟดอนเมือง

นนวิภาวดีรังสิตช่วงหน้าท่าอากาศยานดอนเมือง มองเห็นสถานีรถไฟดอนเมืองอยู่ด้านขวาของภาพ สถานีดอนเมือง เป็นสถานีชั้น 1 เนื่องจากสถานีดังกล่าว อยู่ตรงข้ามกับท่าอากาศยานดอนเมือง รถไฟทุกขบวนต้องจอ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองบางตาล

นีรถไฟคลองบางตาล ตั้งอยู่ ตำบลหนองกบ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองบางตาล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองวังช้าง

นีรถไฟคลองวังช้าง ตั้งอยู่บ้านคลองวังช้าง หมู่ 4 ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองวังช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองขนาน

นีรถไฟคลองขนาน ตั้งอยู่บ้านคลองขนาน หมู่ 10 ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองขนาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองขนานจิตร

นีรถไฟคลองขนานจิตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 202 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองขนานจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองตาคต

นีรถไฟคลองตาคต ตั้งอยู่บ้านคลองตาคต หมู่ 1 ตำบลคลองตาคต อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองตาคต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคลองไผ่

นีรถไฟคลองไผ่ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 206 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคลองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟควนหินมุ้ย

นีรถไฟควนหินมุ้ย ตั้งอยู่ บ้านควนหินมุ้ย หมู่ 9 ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟควนหินมุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคั่นกระได

นีรถไฟคั่นกระได ตั้งอยู่บ้านคั่นกระได หมู่ 3 ตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟคั่นกระได · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตรัง

นีรถไฟตรัง เป็นสถานีระดับ 1 เป็นสถานีหนึ่งในเส้นทางรถไฟสายอันดามัน (ชุมทางทุ่งสง-กันตัง) ตั้งอยู่ที่ ต.ทับเที่ยง (เขตเทศบาลนครตรัง) อำเภอเมือง จังหวัดตรัง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟตรัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตะพานหิน

นีรถไฟตะพานหิน เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 319 กิโลเมตร ตั้งอยู่เขตเทศบาลเมืองตะพานหิน ตำบลในเมือง อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร อำเภอทับคล้อ อำเภอโพทะเล อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตรและอำเภอชนแดน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถมาขึ้นที่สถานีได้ เนื่องจากในอดีตอำเภอตะพานหิน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในจังหวัดพิจิตร แล้วมีรถจอดทุกขบวน ปัจจุบันขบวน 1/2 11/10และ13/14 ไม่มีการหยุดรับส่งผู้โดยสารที่สถานีนี้แล้ว เนื่องจากในอำเภอเมือง มีความเจริญขึ้นมา แทนอำเภอตะพานหินแทน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟตะพานหิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตันหยงมัส

นีรถไฟตันหยงมัส เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ในเส้นทางรถไฟสายใต้ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส มีจำนวนราง 3 ชานชลาราง ใช้อาณัติสัญญาณแบบประแจสายลวด และแบบหางปลา ระยะทางห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ 1,215.50 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 18-21 ชั่วโมง หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายใต้ หมวดหมู่:แขวงบำรุงทางตันหยงมัส.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟตันหยงมัส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟซับม่วง

นีรถไฟซับม่วง (Sab Muang) ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 4 บ้านซับม่วง ตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 187.89 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟปากช่อง และ สถานีรถไฟจันทึก ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ตัวย่อของสถานีนี้คือ ซม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟซับม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปราณบุรี

นีรถไฟปราณบุรี ตั้งอยู่ถนนรัฐบำรุง ตำบลปราณบุรี อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปราณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปากท่อ

นีรถไฟปากท่อ ตั้งอยู่บ้านปากท่อ หมู่ 5 ตำบลปากท่อ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปากท่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปากตะโก

นีรถไฟปากตะโก ตั้งอยู่ ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปากตะโก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปากปาน

นีรถไฟปากปาน เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 538.43 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่บ้านปากปาน หมู่ที่ 1 ตำบลไทรย้อย อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เป็นสถานีเดียวในจังหวัดแพร่ ที่ใช่เสาสัญญาณระบบอาณัตืสัญญาณไฟสามสีสามท่า ชนิดประแจสายลวดควบคุม มี 3 ทาง ทางหลัก 1 ทาง ทางหลีก 2 ทาง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปากปาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปางอโศก

นีรถไฟปางอโศก เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่ตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 165 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปางอโศก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปางต้นผึ้ง

นีรถไฟปางต้นผึ้ง เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 509.36 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 10 บ้านปางต้นผึ้ง ตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ อักษรย่อของสถานีคือ ปต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปางต้นผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปางป๋วย

นีรถไฟปางป๋วย เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 591.07 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟปางป๋วย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนาชะอัง

นีรถไฟนาชะอัง ตั้งอยู่บ้านนาชะอัง หมู่ 2 ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนาชะอัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนาพู่

นีรถไฟนาพู่ เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ตั้งอยู่ที่บ้านนาพู่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 580 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนาพู่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนาผักขวง

นีรถไฟนาผักขวง ตั้งอยู่ ถนนวุฒิกร บ้านนาผักขวง หมู่ 2 ตำบลกำเนิดนพคุณ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนาผักขวง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครชุมน์

นีรถไฟนครชุมน์ ตั้งอยู่บ้านนครชุมน์ หมู่ 4 ตำบลนครชุมน์ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนครชุมน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครราชสีมา

นีรถไฟนครราชสีมา (ชื่อสามัญ หัวรถไฟ หรือ หัวรถฯ) สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เดิมชื่อสถานีโคราช เป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่บนถนนมุขมนตรี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทางประมาณ 264 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครสวรรค์

นีรถไฟนครสวรรค์ เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 245.78 กิโลเมตร ตั้งอยู่ตำบลหนองปลิง อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ หมายเหตุ เป็นย่านขบวนรถสินค้าแก๊ส ปตท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครปฐม

นีรถไฟนครปฐม ตั้งอยู่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟแม่กลอง

นีรถไฟแม่กลอง เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลองช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ตั้งอยู่ถนนประสิทธิ์พัฒนา ตำบลแม่กลอง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม สถานีรถไฟแม่กลอง เป็นสถานีปลายทางของเส้นทางช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ระยะทาง 33 กิโลเมตร ผู้โดยสารที่เดินทางไปกรุงเทพ จะต้องลงจากขบวนรถที่สถานีรถไฟบ้านแหลม และต่อเรือข้ามฟากที่ท่าฉลอม ไปขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟมหาชัย มีปลายทางที่สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ระยะทาง 31 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟแม่จาง

นีรถไฟแม่จาง เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 600.33 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟแม่จาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟแม่เมาะ

นีรถไฟแม่เมาะ เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 609.16 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟแม่เมาะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟแสงแดด

นีรถไฟแสงแดด ตั้งอยู่ ถนนสายพัฒนกิจ ตำบลตากแดด อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟแสงแดด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโพธาราม

นีรถไฟโพธาราม ตั้งอยู่ถนนโพธาราม ตำบลคลองข่อย อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟโพธาราม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโยทะกา

นีรถไฟโยทะกา เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายตะวันออก อักษรย่อ ยท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟโยทะกา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโคกกรวด

นีรถไฟโคกกรวด เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่ตำบลโคกกรวด อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 250 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟโคกกรวด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโคกสะอาด

นีรถไฟโคกสะอาด เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ตั้งอยู่ที่บ้านโคกสะอาด ตำบลสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 229 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟโคกสะอาด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเชียงราก

นีรถไฟเชียงราก เป็นจุดลงรถสำหรับผู้ที่ต้องการไปที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เพราะสถานีนี้มีรถกระบะ สองแถวคอยให้บริการรับส่งผู้โดยสารไปยัง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สถานีรถไฟเชียงรากเป็นสถานีชั้นที่ 2 งานการเดินรถแขวงกรุงเทพ กองจัดการเดินรถเขต1 ศูนย์กรุงเทพปริมณฑลและภาคตะวันออก การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม สถานีรถไฟเชียงรากเปิดให้บริการเดินรถทุกวันทั้งขาขึ้นและขาล่องวันละ 27ขบวน สถานีรถไฟเชียงรากยังเป็นสถานีสำคัญในการขนส่งสิ้นค้ามายังตลาดไทอีกด้วยและยังเคยเป็นสถานีรับ-ส่งนักกีฬาในการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 1998 (ครั้งที่13) ที่ไทยเราเป็นเจ้าภาพ ทั้งนี้สถานีเชียงรากยังเป็นที่นิยมในกองถ่ายละครและนักศึกษาในการมาถ่ายทำภาพยนตร์ เรียนการถ่ายภาพและภาพรับปริญญา เพราะมีทัศนียภาพที่สวยงาม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเชียงราก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเพชรบุรี

นีรถไฟเพชรบุรียามค่ำคืน มองจากด้านถนน สถานีรถไฟเพชรบุรี ตั้งอยู่ถนนรถไฟ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเจ็ดเสมียน

นีรถไฟเจ็ดเสมียนในอดีต สถานีรถไฟเจ็ดเสมียน ตั้งอยู่บ้านเจ็ดเสมียน หมู่ 3 ตำบลเจ็ดเสมียน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเจ็ดเสมียน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาพนมแบก

นีรถไฟเขาพนมแบก (Khao Phanom Baek Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 4 บ้านเขาพนมแบก ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 574.45 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 558.40 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟท่าชนะ และ สถานีรถไฟไชยา ใช้สัญญาณแบบหางปลา ประแจกลเดี่ยว ตัวย่อของสถานีคือ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเขาพนมแบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาย้อย

นีรถไฟเขาย้อย ตั้งอยู่บ้านเขาย้อย หมู่ 5 ตำบลเขาย้อย อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเขาย้อย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาสวนทุเรียน

นีรถไฟเขาสวนทุเรียน ตั้งอยู่ บ้านเขาสวนทุเรียน หมู่ 1 ตำบลนาโพธิ์ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเขาสวนทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาทโมน

นีรถไฟเขาทโมน ตั้งอยู่ตำบลดอนยาง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเขาทโมน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาเต่า

นีรถไฟเขาเต่า (Khao Tao Railway Station) ตั้งอยู่ที่บ้านเขาเต่า ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 241.09 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 225.04 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟหนองแก และ สถานีรถไฟวังก์พง ใช้สัญญาณแบบไฟสี ไฟฟ้า-รีเลย์ ตัวย่อของสถานีคือ ขต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีรถไฟเขาเต่า · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)

นีวุฒากาศ แผนผังสถานีวุฒากาศ สถานีวุฒากาศ (Wutthakat Station รหัสสถานี S11) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายแยกตากสิน-บางหว้า โดยสถานียกระดับเหนือ ถนนราชพฤกษ์ กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกราชพฤกษ์-วุฒากาศและจะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางกับระบบ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ในอนาคต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวงเวียนใหญ่

นีวงเวียนใหญ่ สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีวงเวียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหลักสี่

นีหลักสี่ สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง

นีหัวลำโพง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีหัวลำโพง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

นีหัวหมาก (Hua Mak Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสถานีรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ (โครงการในอนาคต).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)

นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือเรียกว่า หมอชิตใหม่ หรือที่เรียกกันติดปากว่า หมอชิต 2 ตั้งอยู่บนถนนกำแพงเพชร 2 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งมีบริการรถโดยสารปรับอากาศสำหรับเดินทางไป ภาคเหนือ, ภาคกลาง, ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้บางเส้นทาง สถานที่ใกล้เคียงสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) ได้แก่ กรมการขนส่งทางบก, สวนจตุจักร, ตลาดนัดจตุจักร, เจเจมอลล์, พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพฯ, สถานีกลางบางซื่อ (กำลังก่อสร้าง).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีตลิ่งชัน

นีตลิ่งชัน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี

นีเพชรบุรี สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีเพชรบุรี (รหัส PET) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศก-ดินแดง กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศก-เพชรบุรี เป็นสถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง หรือสถานีมักกะสัน (อโศก).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สปรินเทอร์

รถไฟสปรินเทอร์ที่สถานีรถไฟเคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร สปรินเทอร์ เป็นยี่ห้อรถไฟดีเซลรางประเภทหนึ่ง ใช้งานหลักในสหราชอาณาจักร สร้างในทศวรรษที่ 1980 - 1990 โดยบริษัท เบรล, เมโทร แคมเมล และ บริติช เลย์แลนด์ ตัวรถไฟใช้เครื่องยนต์คัมมินส์และเกียร์แบบวออ์ท (แต่คลาส 158 ได้เปลี่ยาใช้เครื่องยนต์เพอร์กินส์แทน) สปรินเทอร์ เป็นรถดีเซลรางของเจ้าของกิจการรถไฟต่างๆ มากมาย ได้แก่ การรถไฟอังกฤษเหนือ การรถไฟเกรทอังกฤษตะวันตก การรถไฟเกรทเทอร์แองเกลีย การรถไฟเวลส์ การรถไฟอังกฤษใต้และตะวันตก การรถไฟอังกฤษตะวันออกกลาง การรถไฟลอนดอน การรถไฟสกอตแลนด์ และ การรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสปรินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สปรินเทอร์ในประเทศไทย

รถดีเซลรางสปรินเทอร์ในประเทศอังกฤษ รถดีเซลรางสปรินเทอร์ในประเทศไทย ที่ได้รับการปรับปรุงทำสีตัวรถใหม่ สปรินเทอร์ (Sprinter) หรือ บริติช เรล คลาส 158 (British Rail Class 158) ในประเทศไทย เป็นรถดีเซลรางประเภทรถปรับอากาศ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย มีจำนวนรถทั้งสิ้น 20 คัน นำเข้ามาจากประเทศอังกฤษ ซึ่งต่างกับรถดีเซลรางประเภทอื่นๆ ที่ถูกนำเข้ามาจากประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสปรินเทอร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สปรินเตอร์

ปรินเตอร์ (sprinter) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและสปรินเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม (17 สิงหาคม พ.ศ. 2427 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าเม้า รองทรง พระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ ราชสกุลวังหน้าในรัชกาลที่ 2 ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2427 พระองค์ทรงรับราชการเป็นที่ปรึกษากฎหมายในกรมรถไฟหลวง ต่อมาจึงเข้ารับราชการในกระทรวงเกษตราธิการ และทรงตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมทะเบียนการค้า (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์) ระหว่าง พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2476 พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระบิดาพระมารดา เดียวกั.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)

อำมาตย์ตรี หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์) (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — 30 มีนาคม พ.ศ. 2473) วิศวกรการรถไฟชาวไทย อดีตนายช่างกลอำนวยการโรงงานมักกะสัน ซึ่งมีหน้าที่ซ่อมหนักรถจักรและรถโดยสาร ของการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและหลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)

ันตรี หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์) อำมาตย์ตรี นายพันตรี หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ อดีตนักการเมือง และรัฐมนตรีหลายกระทรวง หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ มีชื่อจริงว่า หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและหลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ันเอก อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2463 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อายุ 61 ปี) บุตรของพลเอก หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) อดีตแม่ทัพกองทัพพายัพ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ และกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยตามลำดับ พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ สมรสกับสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พ.ศ. 2487 นับเป็นพระเชษฐภาดา (พี่เขย) ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีธิดาคือ ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 ที่สวิตเซอร์แลนด์) พันเอกอร่าม รัตนกุล เป็นบุคคลเดียวที่โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช อยู่ในรถยนต์พระที่นั่งขณะที่เกิดอุบัติเหตุรถชนกับรถบรรทุก ที่ทะเลสาบเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และได้รับบาดเจ็บสาหัส เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ได้รับราชการเป็นอาจารย์สอนหนังสือ เมื่อ..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออมสิน ชีวะพฤกษ์

นายออมสิน ชีวะพฤกษ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รองประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง และเลขานุการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ (ศตส.) คนปัจจุบัน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและออมสิน ชีวะพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะเดย์

อะเดย์ (a day) เป็นนิตยสารเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปในสังคมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นนิตยสารที่เป็นต้นแบบนิตยสารทางเลือกของวัยรุ่น ถึงขั้นวงการนิตยสารไทยยกให้นิตยสารอะเดย์เป็นดั่งนิตยสาร 'ขวัญใจเด็กแนว' นิตยสารอะเดย์ ผลิตโดย บริษัท เดย์ โพเอ็ทส์ จำกัด (Day Poets Co. Ltd.) โดยบริษัทก่อตั้งขึ้นโดยบุคคล 3 คน ได้แก่ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์, นิติพัฒน์ สุขสวย และ ภาสกร ประมูลวงศ์ ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทำหนังสือเหมือนทำชีวิต" จนถึง..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอะเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเทพา

อำเภอเทพา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอำเภอเทพา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล

อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูนและอำเภอห้างฉัตร อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง สภาพพื้นที่เป็นป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้ำ สามารถเดินทางโดยรถไฟมาลงที่สถานีรถไฟขุนตาน ซึ่งเป็นที่ตั้งอุโมงค์ขุนตาน อุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สร้างโดยชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์ขุนตาน

อุโมงค์ขุนตาน อุโมงค์ขุนตาน เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดผ่านที่ยาวที่สุดในประเทศไทย จากจำนวนทั้งสิ้น 7 อุโมงค์มีความยาวถึง 1,352.15 เมตร (1 กิโลเมตร 352 เมตร 15 เซนติเมตร) ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล ระหว่างอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง กับอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2450 แล้วเสร็จ พ.ศ. 2461 โดยการรถไฟหลวงแห่งกรุงสยาม ที่มีพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยาการ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินเป็นผู้บัญชาการ และมีนายช่างชาวเยอรมันชื่อ เอมิล ไอเซนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างทั้งหมด ใช้เวลาสร้างทั้งหมด 11 ปี ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 1,362,050 บาท อุโมงค์ขุนตาน มีขนาดกว้าง 5.20 เมตร สูง 5.50 เมตร และยาว 1,352.15 เมตร เป็นอุโมงค์ชนิดคอนกรีตเสริมเหล็กตลอดแนว อุโมงค์ด้านเหนือสูงกว่าด้านใต้ประมาณ 14 เมตร ด้านหนึ่งของอุโมงค์ขุนตาน คือ สถานีรถไฟขุนตาน บังกะโลรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย และอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอุโมงค์ขุนตาน · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์เขาพลึง

อุโมงค์เขาพลึง อุโมงค์เขาพลึง เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอด 1 ใน 7 แห่งของไทย และเป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดในเส้นทางรถไฟสายเหนือ ตั้งอยู่ในพื้นที่ระหว่าง ตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ กับ ตำบลห้วยไร่ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ระหว่างที่หยุดรถไฟเขาพลึง(จ.อุตรดิตถ์)กับ ห้วยไร่(จ.แพร่) มีความยาว 362.44 เมตร อยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 516.410-516.773 ภายในอุโมงค์เป็นผนังคอนกรีต แต่จะมีบางส่วนที่เป็นหินล้วนๆ ไม่ได้มีการดาดคอนกรีตลอดอุโมงค์ ใช้หมอนไม้เนื้อแข็งและราง 70 อาร์ (12 เมตร) บริเวณปากอุโมงค์ฯ จะมีที่หยุดรถไฟเขาพลึง ที่ผู้โดยสารสามารถลงที่นี่ได้ โดยมีขบวนรถที่หยุด ณ สถานีนี้เพียง 2 ขบวนรถท้องถิ่น คือ นครสวรรค์-เชียงใหม่ (ขาขึ้น-ขาล่อง) อุโมงค์เขาพลึง อยู่ห่างกันกับอุโมงค์ปางตูบขอบ เพียง 2 กิโลเมตร หากเดินทางจากสถานีรถไฟปางต้นผึ้ง ไปยังที่หยุดรถไฟเขาพลึง ต้องผ่านอุโมงค์ทั้ง 2 แห่งนี้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอุโมงค์เขาพลึง · ดูเพิ่มเติม »

อีสเทิร์นแอนด์โอเรียนทัลเอ็กซ์เพรส

วนรถไฟ E&O ที่สถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย อีสเทิร์นแอนด์โอเรียนทัลเอ็กซ์เพรส (Eastern and Oriental Express, ตัวย่อ: E&O) เป็นขบวนรถไฟผู้โดยสารขบวนหนึ่ง วิ่งในประเทศไทย, ประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์ รถไฟขบวนนี้ติดอันดับขบวนรถไฟที่ดีที่สุดในโลก 25 อันดับแรก วิ่งระหว่างจุดผ่านรถไฟวูดแลนด์ กับสถานีรถไฟกรุงเทพ หยุดตามสถานีรายทางสำคัญ ได้แก่ สถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์, สถานีรถไฟบัตเตอร์เวอร์ธ และสถานีรถไฟกาญจนบุรี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอีสเทิร์นแอนด์โอเรียนทัลเอ็กซ์เพรส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกับการจัดบริการสาธารณะ

ทั่วไปแล้วองค์การทุกแห่งย่อมมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานเสมอ ถ้าเป็นองค์การในภาคธุรกิจเอกชน เช่น ธุรกิจที่มีผู้ประกอบการเพียงรายเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชน มักจะมีเป้าหมายที.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและองค์การกับการจัดบริการสาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ หรือ ร... เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในอดีตของไทย ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินกิจการขนส่งสินค้า ให้บริการแก่หน่วยงานราชการ และประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; Bangkok Mass Transit Authority, BMTA) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2554) แบ่งเป็นรถธรรมดา 1,659 คัน รถปรับอากาศ 1,850 คัน และมีรถร่วมบริการโดยบริษัทเอกชน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ จำนวน 4,016 คัน, รถประจำทางขนาดเล็ก (mini bus) แบ่งเป็นส่วนที่ให้บริการบนถนนสายหลัก จำนวน 844 คัน และที่ให้บริการภายในซอยย่อย จำนวน 2,312 คัน, รถตู้โดยสารปรับอากาศ แบ่งเป็นส่วนที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สปิโตรเลียมเหลว จำนวน 5,315 คัน และที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัด จำนวน 213 คัน รวมทั้งสิ้น 16,209 คัน 495 เส้นทาง นอกจากนี้ ยังเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ขาดทุนมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากการรถไฟแห่งประเทศไทย คือขาดทุนเป็นเงิน 4,990 ล้านบาท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ กรุแก้ว

ตราจารย์อนันต์ กรุแก้ว อดีตอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (พ.ศ. 2527 - พ.ศ. 2531).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอนันต์ กรุแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อนินทิตา อาขุบุตร

ณหญิง อนินทิตา อาขุบุตร (ชื่อเดิม: เสงี่ยม นาวีเสถียร; 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 — 13 สิงหาคม พ.ศ. 2507) เป็นนักแสดงหญิงคนแรกของไทยจากภาพยนตร์เรื่อง นางสาวสุวรรณ ต่อมาเสงี่ยมได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า อนินทิตา และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า และเมื่อสมรสแล้วจึงนามว่า คุณหญิงอนินทิตา อาขุบุตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและอนินทิตา อาขุบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ฮิตะชิ (รถจักร)

ตะชิ (Hitachi) หรือ เอชไอดี (HID) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่มีจำนวนรถรองจาก จีอี จีอีเอ และ เอเอชเค แต่มีมากกว่า เอแอลดี และ เอดีดี หมายเลขรถ 4501-4522 รวมจำนวนรถทั้งสิ้น 22 คัน โดยตัวถังด้านข้างของรถจักรรุ่นนี้จะมีสีฟ้า และด้านหน้าของรถจะมีสีเหลืองคาดด้วยสีแดง รถจักรดีเซลไฟฟ้า Hitachi หมายเลข 4519 ที่สถานีรถไฟลพบุรี ชน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและฮิตะชิ (รถจักร) · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อและดอกไม้

ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและผีเสื้อและดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อและดอกไม้ (ละครโทรทัศน์)

ผีเสื้อและดอกไม้ (อังกฤษ: Butterfly and Flowers) เป็น ละครโทรทัศน์ไทย ที่สร้างจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกันของนิพพานฯ (มกุฏ อรฤดี) ผลงานการกำกับโดย สถาพร นาควิไลโรจน์ หรือ สถาพร นาควิลัย ซึ่งยังได้ร่วมแสดงอีกด้วย บทโทรทัศน์โดย มารยาท ไทยนิวัฒน์วิไล ออกฉายทางทีวีไทย ทุกวันจันทร์และอังคาร เวลา 20.20 - 21.10 น. ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 จำนวน 12 ตอน โดยทุกตอนไม่มีการโฆษณาคั่นระหว่างการออกอาก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและผีเสื้อและดอกไม้ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองคาย

หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จีอี (รถจักร)

นอรัล อิเล็คทริค (จีอี) รุ่น ยูเอ็ม 12 ซี (UM12C) หรือ จีอีเค (GEK) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้า ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยนำเข้าและได้รับมอบมาจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งการรถไฟฯมีรถจักรรุ่นนี้ใช้งานอยู่มากเป็นอันดับสอง รองจากรถจักร เอแอลเอส มีจำนวนรถทั้งสิ้น 50 คัน หมายเลขรถ 4001 - 4050 โดยการนำเข้ามาใช้งาน แบ่งเป็นสองช่วง (ล็อต) ต่อไปนี้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจีอี (รถจักร) · ดูเพิ่มเติม »

จีอีเอ

ีอีเอ (GEA) หรือ จีอี ซีเอ็มสองสอง-เจ็ดไอ (GE CM22-7i) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยได้สั่งนำเข้ามาเพื่อทำขบวนรถโดยสารและรถสินค้า GEA ทำขบวนรถไฟวิ่งผ่านเขื่อนป่าสักชลสิท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและจีอีเอ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกำแพงเพชร

นนกำแพงเพชร (Thanon Kamphaeng Phet) เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ ในตอนแรก การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์ที่จะตั้งชื่อถนนชุดนี้ว่า "ถนนบุรฉัตร" ตามพระนามเดิมใน กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้พระราชทานนามถนนในเขตที่ดินรถไฟชุดนี้ว่า "ถนนกำแพงเพชร".

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและถนนกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรถไฟ (เขตบางกอกน้อย)

นนรถไฟ (Thanon Rotfai) เป็นถนนสายสั้นในเขตสถานีรถไฟธนบุรีของการรถไฟแห่งประเทศไทย ในพื้นที่แขวงบ้านช่างหล่อและแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากปลายถนนอิสรภาพ จุดบรรจบถนนสุทธาวาส ผ่านตลาดศาลาน้ำร้อน (ใหม่) ลอดใต้สะพานอรุณอมรินทร์ ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองบางกอกน้อยตามแนวถนนอรุณอมรินทร์ ผ่านวัดอมรินทรารามโดยแบ่งพื้นที่วัดออกเป็นสองส่วน ผ่านด้านหลังโรงพยาบาลศิริราช และสิ้นสุดที่สถานีรถไฟบางกอกน้อย (สถานีรถไฟธนบุรีเดิม) ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและถนนรถไฟ (เขตบางกอกน้อย) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุทธาวาส

นนสุทธาวาส (Thanon Sutthawat) เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ (สายธนบุรี) ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ใกล้สถานีรถไฟธนบุรี พื้นที่แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากปลายถนนอิสรภาพ จุดบรรจบถนนรถไฟ เลียบทางรถไฟสายใต้ด้านขวาทาง ผ่านวัดสุทธาวาส มาสิ้นสุดที่ถนนจรัญสนิทวงศ์ บริเวณป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ ตรงข้ามกับจุดเริ่มต้นของถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ใกล้แยกบางขุนนนท์ ถนนสายนี้เป็นหนึ่งในโครงการในพระราชดำริเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งช่วยลดปริมาณการจราจรบนถนนจรัญสนิทวงศ์บริเวณสามแยกไฟฉาย และเป็นเส้นทางลัดเชื่อมต่อไปยังย่านสำคัญ ได้แก่สถานีรถไฟธนบุรี โรงพยาบาลศิริราช และตลาดพรานนก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและถนนสุทธาวาส · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร

ทางพิเศษสายศรีรัช–วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางพิเศษที่เชื่อมระหว่างฝั่งตะวันตกกับฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร และบางส่วนของจังหวัดนนทบุรี แนวสายทางเริ่มจากถนนกาญจนาภิเษก (บริเวณใกล้โรงงานผลิตน้ำมหาสวัสดิ์ของการประปานครหลวง) มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกผ่านถนนสวนผัก, ถนนราชพฤกษ์ ข้ามคลองบางกอกน้อย ไปยังสะพานพระราม 6 ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปยังบางซื่อ และไปเชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัชบริเวณสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) เขตจตุจักร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก

ทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทยการรถไฟแห่งประเทศไทย ใช้ชื่อ สายชายฝั่งทะเลตะวันออก ในเส้นทางชุมทางแก่งคอย-ท่าเรือแหลมฉบัง หรือ ทางรถไฟสายฉะเชิงเทรา–สัตหีบ เป็นเส้นทางเดินรถไฟทางไกลระหว่างจังหวัดของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสองช่วงหลักคือ - และ ชุมทางฉะเชิงเทรา--- โดยมีช่วงชุมทางฉะเชิงเทรา- ซ้อนทับกับทางรถไฟสายตะวันออกตามอ้างอิงระบุว่าช่วง ชุมทางฉะเชิงเทรา-ชุมทางคลองสิบเก้า-อรัญประเทศ เป็นสายตะวันออก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายชุมทางหาดใหญ่–ปาดังเบซาร์

| ทางรถไฟสายชุมทางหาดใหญ่–ปาดังเบซาร์ เป็นทางรถไฟระหว่างประเทศที่เชื่อมระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย มีจุดเริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผ่านพรมแดนไทยกับมาเลเซีย จนถึงสถานีปลายทางคือสถานีรถไฟปาดังเบซาร์ รัฐปะลิส ซึ่งบรรจบกับทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันตกของมาเลเซี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายชุมทางหาดใหญ่–ปาดังเบซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง

| ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง หรือ ทางแยกกันตัง เป็นเส้นทางรถไฟสายหนึ่งที่แยกมาจากทางรถไฟสายใต้ (ธนบุรี–สุไหงโก-ลก) ที่สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีปลายทางที่สถานีรถไฟกันตัง จังหวัดตรัง ปัจจุบันถือเป็นเส้นทางรถไฟเพียงสายเดียวของภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายชุมทางคลองสิบเก้า–ชุมทางแก่งคอย

| ทางรถไฟสายชุมทางคลองสิบเก้า–ชุมทางแก่งคอย หรือ ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–คลองสิบเก้า เป็นทางรถไฟอันเป็นส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก โดยเป็นเส้นทางขนส่งสินค้าระบบรางที่เชื่อมต่อระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือสู่ภาคตะวันออกโดยไม่ต้องผ่านเข้ากรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการขยายตัวของท่าเรือแหลมฉบังและมาบตาพุด ทางรถไฟสายนี้พาดผ่านจังหวัดฉะเชิงเทรา, นครนายก และสระบุรี ผ่านอุโมงค์หนึ่งแห่งคืออุโมงค์พระพุทธฉาย ทางรถไฟสายนี้ใช้สำหรับวิ่งขนส่งสินค้าเพียงอย่างเดียวและไม่มีบริการรับส่งผู้โดยสาร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายชุมทางคลองสิบเก้า–ชุมทางแก่งคอย · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่

ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ เดิมเรียก ทางรถไฟเลียบลำน้ำป่าสัก เป็นเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ไปจนถึงอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย–ชุมทางบัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายมรณะ

องเขาขาด ทางรถไฟสายมรณะ หรือ ทางรถไฟสายพม่า หรือ ทางรถไฟสายกาญจนบุรี ทางรถไฟสายนี้เริ่มต้นจากสถานีชุมทางหนองปลาดุก อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ผ่านจังหวัดกาญจนบุรีข้ามแม่น้ำแควใหญ่ โดยสะพานข้ามแม่น้ำแคว ไปทางทิศตะวันตกจนถึงด่านเจดีย์สามองค์ เพื่อให้ถึงปลายทางที่เมืองทันบูซายัด ประเทศพม่าทางรถไฟสายมรณะมีความยาวจากหนองปลาดุกถึงสถานีทันบูซายัดรวม 415 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟอยู่ในเขตประเทศไทยประมาณ 303.95 กิโลเมตร และอยู่ในเขตพม่า 111.05 กิโลเมตร มีสถานีจำนวน 37 สถานี ทางรถไฟสายนี้สร้างขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยใช้แรงงานเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรและกรรมกรชาวเอเชียที่กองทัพญี่ปุ่นเกณฑ์มาสร้าง เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศพม่า ปัจจุบันเส้นทางนี้ไปสุดปลายทางที่บ้านท่าเสาหรือสถานีน้ำตก ระยะทางจากสถานีกาญจนบุรีถึงสถานีน้ำตกเป็นระยะทางประมาณ 77 กิโลเมตร การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดเดินรถบนเส้นทางนี้ทุกวันและจัดรถไฟขบวนพิเศษสายกรุงเทพฯ - น้ำตก ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ จุดที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจมากคือช่วงสะพานข้ามแม่น้ำแคว และช่วงโค้งมรณะหรือถ้ำกระแซ ซึ่งเป็นสะพานโค้งเลียบแม่น้ำแควน้อยยาวประมาณ 400 เมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายลพบุรี

ทางรถไฟสายลพบุรี เป็นทางรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (SRT) เป็นทางรถไฟรางคู่  มีจุดหมายหลัก ๆ อาทิเช่น รังสิต, อยุธยา และ ลพบุรี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายสวรรคโลก

ทางรถไฟสายสวรรคโลก เป็นทางรถไฟสายรองในระบบรถไฟระหว่างเมืองของการรถไฟแห่งประเทศไทย แยกมาจากสายเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา ตำบลบ้านดารา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ผ่านสถานีรถไฟคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย มาสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย หมวดหมู่:เส้นทางรถไฟที่เปิดทำการในปี พ.ศ. 2453.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายสวรรคโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี

ทางแยกจากชุมทางหนองปลาดุก ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี ถือเป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางรถไฟสายตะวันตก ชุมทางหนองปลาดุก - ชุมทางบ้านภาชี ซึ่งได้ระงับการก่อสร้างลงไปเมื่อก่อสร้างมาถึงที่หยุดรถไฟมาลัยแมน เริ่มเปิดเดินรถเมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2506 โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเกิดของท่านพอดี ปัจจุบันทางรถไฟสายนี้ได้ยุบสถานีรายทางเหลือเพียงสถานีเดียว คือ สถานีสุพรรณบุรี ที่เหลือมีฐานะเป็นเพียงที่หยุดรถ และป้ายหยุดรถ ประกอบด้วย ป้ายหยุดรถไฟทุ่งบัว ที่หยุดรถไฟโรงเรียนการบิน ที่หยุดรถไฟศรีสำราญ และป้ายหยุดรถไฟดอนทอง ในเส้นทางนี้มีขบวนรถไฟเพียงวันละ 2 ขบวน คือ กรุงเทพ-สุพรรณบุรี-กรุงเท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายสงขลา

ทางรถไฟสายสงขลาในสมัยรัชกาลที่ 6 เลียบถนนสงขลา-หาดใหญ่สมุดแสดงภาพที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๘ ทางรถไฟสายสงขลา แยกจากทางรถไฟสายใต้ที่ชุมทางหาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร เปิดเดินรถครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหนองคาย–ท่านาแล้ง

| ทางรถไฟสายหนองคาย–ท่านาแล้ง หรือ ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์ เป็นทางรถไฟระหว่างประเทศที่เชื่อมประเทศไทยและประเทศลาว มีระยะทางทั้งหมด 5.35 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากสถานีรถไฟหนองคายข้ามสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 จนถึงสถานีปลายทางคือท่านาแล้ง ถือเป็นเส้นทางรถไฟเพียงสายเดียวของประเทศลาว มีระยะทาง 3.5 กิโลเมตรในเขตแดนของลาว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายหนองคาย–ท่านาแล้ง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย

| ทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย เป็นทางรถไฟสายหนึ่งในจังหวัดลพบุรี ที่แยกออกมาจากเส้นทางรถไฟสายเหนือ (ชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่) สร้างสำหรับขนส่งแร่เหล็กจากเขาทับควาย เบื้องต้นได้มีการเวนคืนที่ดินที่จะสร้างทางรถไฟแยกจากสถานีรถไฟหนองเต่ามุ่งไปยังที่ตั้งของเขาทับควาย ผ่านตำบลหนองเต่า ตำบลพุคา อำเภอบ้านหมี่ และตำบลห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต

| ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต หรือเดิมคือ ทางรถไฟสายอรัญญประเทศ–มงคลบุรี เป็นทางรถไฟระหว่างประเทศที่เชื่อมระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา มีจุดเริ่มต้นจากสถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ผ่านสะพานคลองลึกข้ามคลองพรหมโหดจนถึงสถานีปลายทางคือสถานีรถไฟปอยเปต จังหวัดบันทายมีชัย ในอดีตสามารถเชื่อมต่อการเดินรถในเส้นทางไปยังสถานีรถไฟพระตะบอง จังหวัดพระตะบอง อันเป็นส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายพนมเปญ–ปอยเปต หรือทางรถไฟสายตะวันตกของกัมพูชา เส้นทางรถไฟสายนี้ หยุดการเดินรถและเส้นทางถูกรื้อถอนออกหลายครั้งด้วยเหตุผลทางการเมืองของกัมพูชา รถไฟสายตะวันออกของไทยจึงเดินรถเพียงสถานีรถไฟอรัญประเทศมากว่า 40 ปี ปัจจุบันรัฐบาลกัมพูชาได้บูรณะเส้นทางรถไฟนี้ใหม่เพื่อประโยชน์ด้านการค้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคม

ทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคมเป็นเส้นทางรถไฟสายรอง เป็นเส้นทางรถไฟสายใต้ โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอพุนพินไปจนถึงอำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟสายสุราษฎร์ธานี-พังงา-ท่านุ่น และในอนาคตมีแผนจะขยายไปถึงพังงา-ท่านุ่นอีกด้ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคม · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายตะวันออก

ทางรถไฟสายตะวันออก เป็นเส้นทางเดินรถไฟทางไกลระหว่างจังหวัดของการรถไฟแห่งประเทศไทย เริ่มต้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ สิ้นสุดที่สถานีรถไฟอรัญประเทศ ชายแดนกัมพู.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แยกออกจากทางรถไฟสายเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี โดยในเส้นทางตอนล่าง จะผ่านจังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ สุดปลายทางที่สถานีรถไฟอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง 575 กิโลเมตร ส่วนเส้นทางตอนบนแยกจากเส้นทางตอนล่างที่สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ จังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย ข้ามสะพานมิตรไทย-ลาวแห่งที่ 1 และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง ประเทศลาว รวมระยะทาง 628 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จะมีเส้นทางลัดไปเชื่อมที่สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของเส้นทางตอนบน ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นทางที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์รถไฟไทย เนื่องจากเป็นเส้นทางที่เปิดเดินรถสายแรก จากสถานีรถไฟกรุงเทพ เดินรถถึงสถานีรถไฟนครราชสีม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายปากน้ำ

| ทางรถไฟสายปากน้ำ เป็นทางรถไฟเอกชนที่เดินรถระหว่างสถานีรถไฟหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นระยะทาง 21.3 กิโลเมตร ตั้งแต..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายนครศรีธรรมราช

ทางรถไฟสายนครศรีธรรมราชเป็นเส้นทางรถไฟสายรอง เป็นเส้นทางรถไฟสายใต้ โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอร่อนพิบูลย์ไปจนถึงอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายแม่กลอง

ทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ถึงสถานีรถไฟมหาชัย ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจากสถานีรถไฟบ้านแหลม ถึงสถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้นเรือข้ามฟากข้ามแม่น้ำท่าจีน เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิดถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟปากคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตคือรางรถไฟ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายใต้

ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจาง ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายเหนือ

ทางรถไฟสายเหนือ หรือ ทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่ แยกออกจากทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี ผ่านจังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ (อำเภอเด่นชัย อำเภอลอง) จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟเชียงใหม่ ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รวมระยะทาง 751 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา จะมีทางแยกไปยังสถานีรถไฟสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย รวมระยะทาง 457 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายเขากระโดง

| ทางรถไฟสายบุรีรัมย์–เขากระโดง หรือ ทางแยกเขากระโดง เป็นเส้นทางรถไฟขนส่งหินระยะสั้นในเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ เริ่มจากสถานีรถไฟบุรีรัมย์ไปยังลานเก็บกองหินเขากระโดงใกล้กับช้างอารีนาและเขากระโดงสเตเดี้ยม โดยหินดังกล่าวจะใช้สำหรับโรยทางของกิจการรถไฟ ไม่มีบริการขนส่งประชาชน และมีเพียงรถไฟบรรทุกสินค้าที่มีการวิ่งบนเส้นทางครั้งหรือสองครั้งต่อปี ด้วยเหตุนี้ทางรถไฟสายดังกล่าวจึงถูกประชาชนบุกรุกบ่อยครั้ง และพื้นที่บางส่วนการรถไฟได้เปิดให้ประชาชนเช่าใช้..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายเขากระโดง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ

ทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เป็นหนึ่งในโครงการของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นหนึ่ง(ในสอง) ส่วนต่อขยายของทางรถไฟสายเหนือ มีวัตถุประสงค์รองรับการเดินทางและขนส่งสินค้าภาคเหนือ รวมถึงรองรับศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้าเชียงของที่กำลังก่อสร้างจะเชื่อมการค้าระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้จากไทยไป สปป.ลาว จีน เวียดนาม และเขตเศรษฐกิจตามนโยบายของรัฐบาล เดิมมีกำหนดการสร้างในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบางกระบูน

ที่หยุดรถไฟบางกระบูน ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 30+160 บนทางรถไฟสายแม่กลอง บริเวณ ตำบลลาดใหญ่ อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงครามมีขบวนรถไฟผ่าน ไป 4 ขบวน กลับ 4 ขบวน ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟบางกระบูน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบางระมาด

ที่หยุดรถไฟบางระมาด ตั้งอยู่ที่ถนนฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 3.42 กิโลเมตร เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี และ สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตัวย่อของที่หยุดรถคือ รม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟบางระมาด · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบ้านทรัพย์สมบูรณ์

ที่หยุดรถ บ้านทรัพย์สมบูรณ์ ตั้งอยู่บ้านทรัพย์สมบูรณ์ หมู่ 7 ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นที่หยุดรถ ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟบ้านทรัพย์สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบ้านครน

ที่หยุดรถ บ้านครน ตั้งอยู่ บ้านครน หมู่ 3 ตำบลครน อำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟบ้านครน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์

อาคารเดิมของสถานีรถไฟหลวงพระราชวังสนามจันทร์ สร้างราว พ.ศ. 2453 ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับอาคารที่พักผู้โดยสารในปัจจุบัน ห่างออกไปประมาณ 360 เมตร http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟสทล.10+375

ที่หยุดรถไฟ สทล 10+375 ตั้งอยู่ที่ถนนประชาชื่น แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพ เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟสทล.10+375 · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟหัวมาด

ที่หยุดรถไฟหัวมาด (Hua Mat Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 บ้านหัวมาด ตำบลทุ่งหลวง อำเภอละแม จังหวัดชุมพร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 562.58 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 546.03 กิโลเมตร เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟคลองขนาน และ สถานีรถไฟละแม ตัวย่อของสถานีคือ มั.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟหัวมาด · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟหนองมงคล

ที่หยุดรถ บ้านหนองมงคล ตั้งอยู่บ้านหนองมงคล หมู่ 7 ตำบลธงชัย อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นที่หยุดรถ ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟหนองมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟหนองเนียน

ที่หยุดรถ หนองเนียน ตั้งอยู่บ้านหนองเนียน หมู่ 11 ตำบลบางลึก อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟหนองเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า

ที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า เป็นที่หยุดรถไฟ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 554.42 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยแม่ต้า หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ อยู่ระหว่างสถานีรถไฟแก่งหลวง กับสถานีรถไฟบ้านปิน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟห้วยโรง

ที่หยุดรถห้วยโรง ตั้งอยู่บ้านห้วยโรง หมู่ 2 ตำบลวังมะนาว อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้ ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีประมาณ 123 กิโลเมตร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟห้วยโรง · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟห้วยเรียน

ที่หยุดรถไฟห้วยเรียน (Huai Rian) ตั้งอยู่ที่หมู่ 7 บ้านห้วยเรียน ตำบลเวียงตาล อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจาก สถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นระยะทาง 665.09 กิโลเมตร เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟแม่ตานน้อย และ สถานีรถไฟปางม่วง ตัวย่อของที่หยุดรถไฟคือ ห.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟห้วยเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟผาคอ

ที่หยุดรถไฟผาคอ อดีตเคยเป็นสถานีรถไฟผาคอ มีจำนวน 2 ราง เป็นทางหลัก 1 ราง ทางหลีก 1 ราง ปัจจุบันการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ลดระดับสถานีนี้กลายเป็นที่หยุดรถ และได้รื้อทางหลีกออกให้เป็นทางเดียว ซึ่งมีขบวนรถจอดเพียง 2 ขบวน คือรถท้องถิ่น 407(ขาขึ้น)และ408(ขาล่อง) โดยอยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 581.22 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่บ้านผาคอ หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟผาคอ · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟทุ่งน้ำซึม

ที่หยุดรถไฟทุ่งน้ำซึม เป็นที่หยุดรถไฟ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 231 กิโลเมตร เปิดใช้งานเมื่อ 10..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟทุ่งน้ำซึม · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟท่าทอง

ที่หยุดรถท่าทอง ตั้งอยู่ บ้านท่าทอง หมู่ 1 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟท่าทอง · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟท่าฉลอม

ป้ายที่หยุดรถท่าฉลอม ตรงข้ามวัดสุทธิวาตวราราม ที่หยุดรถไฟท่าฉลอม ตั้งอยู่ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตรงข้ามกับวัดสุทธิวาตวราราม (วัดช่องลม) เป็นที่หยุดรถ ของทางรถไฟสายแม่กลอง ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟท่าฉลอม · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟท่าเสา

ที่หยุดรถไฟท่าเสา เป็นที่หยุดรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย ระยะทางจากกรุงเทพถึงที่หยุดท่าเสา คือ 489.35 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ถนนสำราญรื่น ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่หยุดรถท่าเสาเดิม คือ สถานีรถไฟท่าเสา สร้างขึ้นเมื่อปี...

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟท่าเสา · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟคลองยาง

ที่หยุดรถไฟวัดคลองยาง เป็นที่หยุดรถไฟ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 479 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟคลองยาง · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟโคกตาหอม

ที่หยุดรถ โคกตาหอม ตั้งอยู่บ้านโคกตาหอม หมู่ 9 ตำบลอ่างทอง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นที่หยุดรถ ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟโคกตาหอม · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟเขาพลึง

ที่หยุดรถไฟเขาพลึง เป็นที่หยุดรถไฟ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 521.02 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ที่หยุดรถไฟเขาพลึงตั้งอยู่บริเวณปากทางอุโมงค์เขาพลึง ห่างจากปากอุโมงค์เพียง 250 เมตร เมื่อเดินทางจากสถานีรถไฟปางต้นผึ้ง มายังที่หยุดรถไฟเขาพลึง จะต้องผ่านอุโมงค์ 2 อุโมงค์ คือ อุโมงค์ปางตูมขอบ ความยาว 120.09 เมตร ที่กิโลเมตรที่ 513.72 ถึง 513.84 และอุโมงค์เขาพลึง ความยาว 362.44 เมตร ที่กิโลเมตรที่ 516.41 ถึง 516.77.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟเขาพลึง · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟเขาปีบ

ที่หยุดรถ เขาปีบ ตั้งอยู่ บ้านเขาปีบ หมู่ 6 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและที่หยุดรถไฟเขาปีบ · ดูเพิ่มเติม »

ทีเอชเอ็น

้านข้างของรถดีเซลรางทีเอชเอ็น ทีเอชเอ็น (THN) เป็นรถดีเซลรางชนิดมีห้องขับ ประเภทรถพัดลม ของการรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นรถดีเซลรางที่นำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและทีเอชเอ็น · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือแหลมฉบัง

ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา และ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทยในเรื่องการบริหารท่าเรือโดยรวม และมีเอกชนรับผิดชอบในเรื่องปฏิบัติการ เปิดดำเนินการท่าเทียบเรือ B1 เป็นท่าแรกเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและท่าเรือแหลมฉบัง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)

ตัวอย่างผลงานของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต หรือ เปล่ง ไตรปิ่น เป็นนักเขียนปกและภาพล้อในสมัย รัชกาลที่ 6 ซึ่งภายหลังได้รับการยกย่องให้เป็นนักเขียนการ์ตูนคนแรกของเมืองไทย ทั้งยังเป็นผู้นำวิชาการทำบล็อกเข้ามาเผยแพร่ในเมืองไทย ผู้ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง "ไม่คิดเลย" และครูสอนวิชาวาดเขียนในโรงเรียนเพาะช่าง ประวัติของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตนั้นไม่ใคร่ชัดเจนนัก ไม่มีข้อมูลว่าท่านเกิดที่ไหน เมื่อไร ทราบแต่ว่าเป็นบุตรของนายสอนกับนางเภา ท่านเคยดั้นด้นไปเรียนวิชาจิตรกรรมที่อังกฤษ แล้วเดินทางไปนอร์เวย์ เดนมาร์ก อิตาลี สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย รวมระยะเวลากว่า 20 ปี ต่อมาได้เดินทางกลับเมืองไทยพร้อมคณะซื้อม้าของพระยาคทาทรธรนินทร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) เมื่อกลับมาแล้ว กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน อธิบดีกรมรถไฟหลวง ได้บรรจุให้เปล่งเข้าทำงานในตำแหน่งช่างถ่ายภาพกรมรถไฟหลวง แต่ลาออกในภายหลังเนื่องจากไปขัดแย้งกับเจ้าหน้าที่ฝรั่ง จากนั้นท่านจึงไปเขียนภาพล้อตามหนังสือพิมพ์ต่างเช่น กรุงเทพฯ เดลิเมล์, ไทยหนุ่ม, บางกอกไตม์ เป็นต้น แล้วจึงไปเป็นครูโรงเรียนเพาะช่าง ท่านได้รับบรรดาศักดิ์เป็นขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต เนื่องจากได้นำเทคโนโลยีการพิมพ์อย่างใหม่ คือ การทำบล็อกแม่พิมพ์ เข้ามาในเมืองไทย แนวการเขียนการ์ตูนของขุนปฏิภาคฯ นั้น เป็นแนวการ์ตูนล้อนักการเมืองสำคัญในยุคนั้น และเคยได้รับรางวัลการประกวดภาพล้อจาก ร. 6 จากการเขียนการ์ตูนแนวดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2470 หลังจากบริษัทกรุงเทพภาพยนตร์สร้างภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น และออกฉายในเดือนกรกฎาคมของปีนั้นแล้ว บริษัทถ่ายภาพยนตร์ไทย จึงสร้างภาพยนตร์เรื่อง ไม่คิดเลย ออกมาแข่งบ้าง โดยขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต ซึ่งเคยเป็นหัวหน้าช่างถ่ายภาพยนตร์กรมรถไฟหลวงมาก่อน เป็นผู้ถ่ายภาพและกำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ (ต่อมาได้ออกฉายในเดือนกันยายนของปีเดียวกัน) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2485 ด้วยโรคลำไส้พิการ มีบุตรชายคนหนึ่งคือ.ไตรปิ่น เป็นนักเขียนนวน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

ขนาดความกว้างรางรถไฟ

นาดความกว้างรางรถไฟ (Track gauge) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เกจ (gauge) คือระยะห่างของรางรถไฟ โดยวัดจากหัวรางด้านในข้างซ้ายถึงหัวรางด้านในข้างขวา สแตนดาร์ดเกจ (standard gauge) เป็นชื่อของขนาดความกว้างรางที่นิยมใช้มากที่สุดทั่วโลก โดยประมาณ 60% ของรางรถไฟทั้งหมด โดยมีขนาด 1,435 มม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและขนาดความกว้างรางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวผัด (ไทย)

้าวผัดกะเพราหมู ข้าวผัด เป็นอาหารไทยประเภทข้าวผัด เป็นการนำข้าวสวยลงไปผัดคลุกกับซอส น้ำพริก หรือเครื่องปรุงรสต่าง ๆ เพื่อให้ได้รสชาติ เช่น ซอสมะเขือเทศ, ซอสพริก, ซีอิ๊วดำ, ซอสถั่วเหลือง หรือน้ำพริกชนิดต่าง ๆ และมีการใส่เนื้อสัตว์ชนิดต่าง ๆ ลงไป เช่น หมู, ไก่, ปลาหมึก, ปู, กุ้ง หรือมันกุ้ง แหนม เป็นต้น โดยเรียกชื่อข้าวผัดชนิดนั้น ๆ ตามชื่อเนื้อสัตว์ที่ใส่ลงไป เช่น ข้าวผัดหมู, ข้าวผัดกุ้ง, ข้าวผัดปู, ข้าวผัดไก่, ข้าวผัดไข่ รวมถึงผักอย่างอื่นที่ใช้เป็นส่วนผสมด้วย เช่น ข้าวผัดกะเพรา, ข้าวผัดสับปะรด, ข้าวผัดเจ หรือข้าวผัดรถไฟ ที่เป็นข้าวผัดที่ปรุงขึ้นมาเพื่อขายบนรถไฟโดยเฉพาะ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่การเดินทางด้วยรถไฟได้รับความนิยมในยุคเริ่มแรกโดยเฉพาะรถไฟสายใต้ ข้าวผัดมักรับประทานโดยใช้น้ำมะนาวบีบ มีต้นหอมและแตงกวาหั่นชิ้นเป็นเครื่องเคียง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและข้าวผัด (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวผัดอเมริกัน

้าวผัดอเมริกัน ข้าวผัดอเมริกัน (American fried rice) เป็นข้าวผัดที่ผัดด้วยซอสมะเขือเทศ นิยมผัดกับเนยมากกว่าน้ำมัน มักใส่ลูกเกดด้วยเสมอ อาจมีเมล็ดถั่วลันเตา หัวหอมหั่นชิ้นเล็ก ๆ และแฮมหั่นชิ้นเล็ก ๆ ผัดรวมกันด้วยก็ได้ โดยมีไก่ทอด ไก่ย่าง ไก่อบ ไส้กรอก แฮม และไข่ดาว เป็นเครื่องประกอ.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและข้าวผัดอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่เป็นอันดับ 2 ผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ตราบุรฉัตร

ตราบุรฉัตร ตราบุรฉัตร เป็นตราวงกลมทำจากเหล็กหล่อสีแดงน้ำหมาก สร้างขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในการที่พระองค์ทรงนำรถจักรดีเซลคันแรกมาใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยตราบุรฉัตรจะติดข้างรถจักรดีเซลไฟฟ้าทุกคัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและตราบุรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดซันเดย์

ตลาดซันเดย์ เป็นส่วนของตลาดนัดจตุจักรที่ติดกับถนนกำแพงเพชร 2 ส่วนมากเป็นร้านขายปลาสวยงาม ทั้งขายส่งและปลีก เป็นที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยให้ บริษัท ธนสารสมบัติ เป็นผู้เช่าต่อ ในปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา ผู้ค้าในตลาดนัดจตุจักรหลายรายได้ย้ายมาขายในบริเวณตลาดซันเดย์มากขึ้น ทำให้มีสินค้าหลากหลายประเภทมากขึ้น ทั้ง สัตว์เลี้ยงหลากหลายประเภท เครื่องประดับตกแต่งบ้าน อาหาร โดยคืนวันอาทิตย์จนถึงวันจันทร์เป็นวันขายส่งปลา ในปี พ.ศ. 2549 เมื่อสัญญาเช่าที่หมดลง แต่ผู้ค้าหลายรายไม่ยอมย้ายออกไป ทำให้มีการคุกคามด้วยการรื้อถอนแผงร้านค้าในเวลากลางคืนและกลางวันหลายครั้ง ตลอดจนทำร้ายร่างกายด้วย จนปรากฏเป็นข่าวโด่งดัง ปัจจุบัน ตลาดซันเดย์ได้มีการปรับปรุงพื้นที่ให้ดีขึ้น โดยสร้างเป็นอาคารร้านค้าถาวร และเปลี่ยนวันขายส่งปลาเป็นวันพฤหัสบดีแทน ในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ได้เกิดเหตุไฟไหม้ร้านค้าปลาสวยงามที่นี่วอดไปทั้งสิ้น 10 คูห.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและตลาดซันเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดนัดจตุจักร

รรยากาศตลาดนัดจตุจักร บริเวณถนนหน้าโครงการ 11 - 13 คนหนาแน่นในช่วงเย็น บริเวณโครงการ 1 และ โครงการ 26 ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานคร มีจำนวนแผงค้าทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและตลาดนัดจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

ซุลเซอร์

ซุลเซอร์ (Sulzer) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยนำเข้ามาใช้ในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2474 ปัจจุบันรถจักรดังกล่าวได้ถูกตัดบัญชีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและซุลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอสอาร์ ชิซูเยี่ยน

ซีเอสอาร์ เอสดีเอสาม ยูยี่สิบ (CSR SDA3 U20) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งนำเข้ามาเพื่อใช้ในการทำขบวนรถสินค้าโดยเฉพาะ ภาพรถจักรดีเซลไฟฟ้า CSR ขณะทำขบวนรถสินค้า บนทางรถไฟสายตะวันออก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและซีเอสอาร์ ชิซูเยี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสร์ จงสงวน

ประภัสร์ จงสงวน อดีตผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 อดีตผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 3 วาระ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและประภัสร์ จงสงวน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2534

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2534 ในประเทศไท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟยมราช

ป้ายหยุดรถไฟยมราช หรือ ที่หยุดรถไฟยมราช เป็นป้ายหยุดรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณห้าแยกยมราช ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งเขตของ 4 แขวง 2 เขต ได้แก่ แขวงสี่แยกมหานาค แขวงจิตรลดา ของเขตดุสิต และแขวงถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท ของเขตราชเทวี เป็นป้ายหยุดรถที่รถไฟทุกขบวนที่จะเดินทางเข้า-ออกสถานีกรุงเทพ เพื่อรอให้เครื่องกั้นถนนลงมากั้นรถยนต์ (ด้วยการควบคุมของเจ้าหน้าที่หอประแจจิตรลดา) เนื่องด้วยห้าแยกยมราชเป็นจุดที่มีการจราจรหนาแน่นมาก และเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ขบวนรถส่วนใหญ่ล่าช้ากว่าเวลาที่กำหนด ในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟยมราช · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟสวนสนประดิพัทธ์

ป้ายหยุดรถสวนสนประดิพัทธ์ ตั้งอยู่ในบริเวณสถานพักผ่อนริมทะเลของกองทัพบก สวนสนประดิพัทธ์ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นป้ายหยุดรถของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟสวนสนประดิพัทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟสะพานจุฬาลงกรณ์

ป้ายหยุดรถไฟสะพานจุฬาลงกรณ์ ตั้งอยู่ที่ สะพานจุฬาลงกรณ์หรือสะพานราชบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี มีฐานะเป็นป้ายหยุดรถไฟ และอยู่ระหว่างการพิจารณาเลื่อนขั้นขึ้น เป็นสถานีชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟสะพานจุฬาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟหินกอง

ที่หยุดรถไฟหินกอง (Hin Gong Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 บ้านหินกอง ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 399.63 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 383.58 กิโลเมตร เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟบางสะพานใหญ่ และ สถานีรถไฟชะม่วง ตัวย่อของสถานีคือ หก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟหินกอง · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์

ป้ายหยุดรถไฟจรัลสนิทวงศ์ ตั้งอยู่ที่ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 0.67 กิโลเมตร เป็นป้ายหยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี และ สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตัวย่อของสถานีคือ รว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟประดิพัทธ์

ป้ายหยุดรถไฟประดิพัทธ์ เป็นป้ายหยุดรถของรถไฟทางไกลสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ ตั้งอยู่ใกล้ทางแยกเทอดดำริ บริเวณถนนประดิพัทธ์ตัดกับถนนกำแพงเพชร 5 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันไม่มีขบวนรถหยุดรับส่งแล้ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟประดิพัทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟแจมโบรี

ป้ายหยุดรถไฟแจมโบรี ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลหาดยาว อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ใกล้กับท่าเรือจุกเสม็ด เป็นป้ายหยุดรถไฟ ของทางรถไฟสายตะวันออก ห่างจากสถานีกรุงเทพ ระยะทาง 193.09 กิโลเมตร และสถานีพลูตาหลวง ระยะทาง 2.41 กิโลเมตร ป้ายหยุดรถไฟแจมโบรี เป็นป้ายหยุดรถไฟที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับการจัดงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ 20 โดยมีขบวนรถไฟสำหรับลูกเสือที่จะเดินทางมาร่วมงาน ในปัจจุบันป้ายหยุดรถนี้เหลือเพียงป้ายชื่อสถานีเท่านั้น ในปัจจุบันเหลือแต่เพียงซากของป้ายหยุดรถเท่านั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและป้ายหยุดรถไฟแจมโบรี · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวสุวรรณ

นางสาวสุวรรณ (Suvarna of Siam) เป็นภาพยนตร์ใบ้ แนวรักใคร..1923 ขนาดสามสิบห้ามิลลิเมตร ความยาวแปดม้วน เขียนบทและกำกับโดย เฮนรี แม็กเร (Henry MacRae) เป็นเรื่องแรกที่ถ่ายทำในประเทศสยาม (ต่อมาคือ ประเทศไทย) โดยฮอลลีวูด ที่ใช้นักแสดงชาวสยามทั้งหมด เริ่มถ่ายทำเมื่อต้นเดือนมีนาคมและสร้างเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2465 ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1923 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และได้เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาด้วย ใช้ชื่อว่า "Kingdom of Heaven" เข้ามาฉายในประเทศไทยได้เพียง 3 วัน ฟิล์มต้นฉบับก็สูญหาย นับเป็นโชคร้ายที่ปัจจุบันไม่เหลือสิ่งใดเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่องนี้อีกเลย นอกจากวัสดุประชาสัมพันธ์และของชำร่วยเล็ก ๆ น้อย ซึ่งรักษาไว้ที่ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)Sukwong, Dome and Suwannapak, Sawasdi.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและนางสาวสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ 2003

รายการแฟนพันธุ์แท้ในปี 2003 ใช้รูปแบบเช่นเดียวกันกับรูปแบบของปี 2002 ซึ่งในปีนี้มีรายการแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 29 เรื่อง เป็นเรื่องใหม่ 18 เรื่อง เรื่องเก่าที่นำมาจัดแข่งขันใหม่ 11 เรื่อง มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 25 ท่าน จาก 24 เรื่อง ตอบคำถามสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ผิด 5 ท่าน โดยในการชิงชัยสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2003 ได้มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ร่วมเข้าชิงชัยทั้งหมด 25 ท่าน และสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2003 ก็คือ ป๋อง สุพรรณ สุดยอดแฟนพันธุ์แท้พระเครื่อง ครั้งที่ 2 นั่นเอง นอกจากนี้ ในแฟนพันธุ์แท้ปี 2003ได้นำคำขวัญ "เที่ยวเมืองไทย ปลอดภัยทุกที่" มาแสดงที่ด้านล่าง หลังจากที่ไตเติ้ลเริ่มรายการจบลง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและแฟนพันธุ์แท้ 2003 · ดูเพิ่มเติม »

แม่เมาะ

แม่เมาะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและแม่เมาะ · ดูเพิ่มเติม »

แยกนพวงศ์ (กรุงเทพมหานคร)

แยกนพวงศ์ (Nopphawong Intersection) เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนหลวง, ถนนกรุงเกษม และถนนมิตรพันธ์ สะพานนพวงศ์ โดยชื่อ "นพวงศ์" นั้นมาจากสะพานนพวงศ์ที่อยู่ใกล้เคียงบนถนนหลวง (ซึ่งตัวสะพานอยู่ในแขวงรองเมือง เขตปทุมวัน) อันเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและแยกนพวงศ์ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

แดวู (รถราง)

รถดีเซลรางแดวู (Daewoo Diesel Railcar) เป็นรถดีเซลรางประเภทปรับอากาศของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นรถดีเซลรางที่มีความเร็วสูงสุดในประเทศไทย มีจำนวนรถรวมทุกรุ่นย่อยทั้งสิ้น 40 คัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและแดวู (รถราง) · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

โม่ สัมบุณณานนท์

ม่ สัมบุณณานนท์ เกิดเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2449 ที่กรุงเทพฯ เป็นบุตรของนายกิ๊ด-นางอุ่น สัมบุณณานนท์ เป็นพี่ชายของคำรณ สัมบุณณานนท์ นักร้องชื่อดัง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโม่ สัมบุณณานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

รงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมในประเทศไทย

การโรงแรมในประเทศไทย เริ่มต้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ในราวปี พ.ศ. 2406 โดยหนังสือพิมพ์ของหมอบรัดเลย์ ได้กล่าวถึงการเปิดบริการโรงแรมในประเทศไทย คือ โรงแรมยูเนี่ยนโฮเต็ล และโรงแรมบอร์ดดิ้งโฮเต็ล.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงแรมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนภราดานุสรณ์

รงเรียนภราดานุสรณ์ เป็นโรงเรียนเอกชน จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 112 ถนนอินใจมี ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัด คณะกรรมการการศึกษาเอกชน ประเภทสามัญศึกษา ภายใต้การดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนภราดานุสรณ์ เดิมชื่อว่า โรงเรียนการรถไฟอุปถัมภ์ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2497 โดยใช้อาคารสถานที่ทำการของการรถไฟแห่งประเทศไทย (สถานีรถไฟอุตรดิตถ์เก่า) มาดัดแปลงเป็นอาคารเรียน ปัจจุบันโรงเรียนภราดานุสรณ์เปิดทำการสอนเป็น 3 ระดับชั้น คือระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาลศึกษาปีที่ 1) จนถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี นายณรงค์ โภชนจันทร์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนภราดานุสรณ์คนปัจจุบัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงเรียนภราดานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมักกะสันพิทยา

รงเรียนมักกะสันพิทยา เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตการศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 ถือกำเนิดจาก โรงเรียนการรถไฟอนุกูลศึกษา ตั้งโดยกลุ่มพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทยในปีพุทธศักราช 2502 ในระยะเริ่มแรกเปิดสอนตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึง ป.7.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงเรียนมักกะสันพิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิสุทธรังษี

รงเรียนวิสุทธรังษี (Visuttharangsi School) (อักษรย่อ: ว.ส.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (ราชบุรี-กาญจนบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2447 โดย พระวิสุทธิรังษี หรือ หลวงปู่เปลี่ยน อินฺทสโร เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ครบรอบการก่อตั้ง 100 ปี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ปัจจุบันมีอายุ ปี ปัจจุบัน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชายล้วน ยกเว้นแผนการเรียน Education Hub Classroom/Enrichment Science Classroom/Intensive Program/English Program/โครงการส่งเสริมศักยภาพฯ) ถึงตอนปลายสายสามัญ (ชาย - หญิง ทุกแผนการเรียน) ปัจจุบันมีนักเรียนมากกว่า 4,000 คน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงเรียนวิสุทธรังษี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

โครงการโฮปเวลล์

รงการโฮปเวลล์ หรือ โครงการระบบการขนส่งทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพมหานคร (Bangkok Elevated Road and Train System - BERTS) เป็นโครงการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้ายกระดับ บนพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดยบริษัท โฮปเวลล์ (ประเทศไทย) ในเครือโฮปเวลล์โฮลดิงส์ บริษัทสัญชาติฮ่องกง ของนายกอร์ดอน วู โครงการก่อสร้างประกอบด้วย โครงสร้างยกระดับทางรถไฟขึ้นไปเหนือผิวการจราจร เพื่อลดจุดตัดกับทางรถยนต์ (Grade Crossing) เพื่อลดปัญหาการให้รถยนต์ต้องหยุดรอรถไฟ ก่อสร้างคร่อมทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระยะทางทั้งสิ้น 60.1 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 80,000 ล้านบาท และให้ผลตอบแทนรายปี 30 ปี รวม 53,810 ล้านบาท โดยโฮปเวลล์จะได้รับสิทธิสร้างถนนยกระดับ เรียกเก็บค่าผ่านทาง คู่ขนานกับทางรถไฟยกระดับ และได้รับสัมปทานเดินรถบนทางรถไฟยกระดับด้วย และสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ใต้ทางรถไฟยกระดับ และอสังหาริมทรัพย์สองข้างทาง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 600 ไร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและโครงการโฮปเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว ไสวแสนยากร

ลตำรวจเอก พลเอก ไสว ไสวแสนยากร (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ,อดีตผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 2, อดีตเจ้ากรมทหารสื่อสาร และอดีตจเรทหารสื่อสาร.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและไสว ไสวแสนยากร · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตรชาย 1 คน คือ นายไชย ณศีลวันต.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเชาวน์ ณศีลวันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู

รถไฟระหว่างเมืองขบวนหนึ่งของเคทีเอ็ม เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) (Keretapi Tanah Melayu, كريتاڤي تانه ملايو برحد) หรือ การรถไฟมลายา เป็นผู้ดำเนินการรถไฟในมาเลเซียตะวันตก เริ่มสร้างในสมัยอาณานิคมอังกฤษ ชื่อเดิมคือ การรถไฟสหพันธรัฐมลายู (FMSR) และองค์การบริหารรถไฟมลายา (MRA) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู" ในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู · ดูเพิ่มเติม »

เสริมสุข กษิติประดิษฐ์

นายเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ นักหนังสือพิมพ์ เป็นอดีตหัวหน้าข่าวสายทหารของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เป็นผู้เขียนรายงานข่าวว่า ผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ยืนยันว่ารันเวย์ของสนามบินสุวรรณภูมิแตกร้าว ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ฉบับวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และเป็นข่าวไปทั่วโลก ส่งผลให้กระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ยื่นฟ้องหมิ่นประมาทหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เรียกค่าเสียหายหนึ่งพันล้านบาท.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ระบุว่าเป็นการเต้าข่าว ไม่รักชาติ ผลจากการฟ้องร้องของกระทรวงคมนาคม ส่งผลให้ทางหนังสือพิมพ์กดดันให้ นายเสริมสุข ลาออกจากงานพร้อมกับนายชฎิล เทพวัลย์ บรรณาธิการข่าว เพื่อเป็นการรับผิดชอบ กรณีนี้ยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ถึงการแทรกแซงสื่อ จากฝ่ายการเมืองในขณะนั้น เสริมสุข กษิติประดิษฐ์ และชฎิล เทพวัลย์ ได้รับการยกย่องจากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็น นักข่าวเกียรติยศ ประจำปี 2549 เนื่องในวันนักข่าว ครั้งที่ 52 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2550 ในปัจจุบัน เสริมสุข เป็นบรรณาธิการข่าวการเมืองและความมั่นคง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย และมีชื่อเรียกเล่น ๆ ในแวดวงสื่อมวลชนว่า พี่เป๊ปซี.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาว์ บุญเสนอ

ว์ บุญเสนอ (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2452 - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2544) นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ เพลินจิตต์ ประมวลวัญ และ ประมวลสาร เป็นเจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเสาว์ บุญเสนอ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุรถไฟชนกันที่ตลิ่งชัน พ.ศ. 2522

หตุการณ์รถไฟชนกันที่ตลิ่งชัน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเหตุรถไฟชนกันที่ตลิ่งชัน พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุรถไฟตกรางในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2552

กเว็บไซต์สำนักนายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ลงพื้นที่เกิดเหตุ เหตุการณ์รถไฟตกรางที่หัวหิน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเหตุรถไฟตกรางในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุหัวรถจักรชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529

350px เหตุการณ์หัวรถจักรพุ่งชนสถานีกรุงเท..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเหตุหัวรถจักรชนสถานีกรุงเทพ พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

เอทีอาร์ (รถราง)

อทีอาร์ (ATR) หรือ เอทีซี (ATC) เป็นรถดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่นำเข้ามาใช้งานจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอทีอาร์ (รถราง) · ดูเพิ่มเติม »

เอดีดี

อดีดี (ADD) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย ผลิตโดย อัลสธอม แอตแลนติก ประเทศฝรั่งเศส หมายเลขรถ 4401 - 4420 รวมจำนวนรถทั้งสิ้น 20 คัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอดีดี · ดูเพิ่มเติม »

เอแอลดี

อแอลดี (ALD) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย สร้างโดยบริษัทอัลสธอม ประเทศฝรั่งเศส หมายเลขรถ 4301 - 4309 รวมจำนวนทั้งหมด 9 คัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอแอลดี · ดูเพิ่มเติม »

เอแอลเอส

อัลสธอม รหัสเอแอลเอส (ALS) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ผลิตโดยโดยบริษัทอัลสธอม (Alsthom) ประเทศฝรั่งเศส หมายเลขรถ 4101 - 4154 รวมจำนวนรถทั้งสิ้น 54 คัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอแอลเอส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเคเอฟ

้านข้างของรถดีเซลรางเอ็นเคเอฟ เอ็นเคเอฟ (NKF) เป็นรถดีเซลรางชนิดมีห้องขับ ประเภทรถพัดลม ของการรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นรถไฟที่ถูกขนส่งมาจากประเทศญี่ปุ่น มีลักษณะคล้ายกับรถดีเซลรางทีเอชเอ็น เพียงแต่ภายในเป็นเก้าอี้พลาสติกแข็ง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอ็นเคเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอชเค

อเอชเค (AHK) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ผลิตโดยบริษัทอัลสธอม เฮนเชล กรุป (Alsthom Henschel Krupp) ประเทศเยอรมนี (เป็นที่มาของชื่อรุ่นรถจักรรุ่นนี้) หมายเลขรถ 4201 - 4230 รวมจำนวนรถทั้งสิ้น 30 คัน.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเอเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่

อำมาตย์ตรี เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 − 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2504−2508) และเป็นบิดาของเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเทศบาลนครหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครเชียงราย

นครเชียงราย หรือ เทศบาลนครเชียงราย (120px) เป็นหนึ่งในเทศบาลนคร 30 แห่ง ของประเทศไทย เป็นเทศบาลนครที่จัดตั้งเป็นลำดับที่ 3 ของภาคเหนือ ถัดจากเทศบาลนครเชียงใหม่และเทศบาลนครลำปาง เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายและประตูสู่อินโดจีน ตั้งอยู่ในบริเวณอำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเทศบาลนครเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองบุรีรัมย์

ทศบาลเมืองบุรีรัมย์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดบุรีรัมย์ มีพื้นที่ทั้งหมด 6.0 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,750 ไร่ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองศรีราชา

ทศบาลเมืองศรีราชา หรือ เมืองศรีราชา เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของอ่าวไทยริมฝั่งภาคตะวันออกของประเทศไทย และที่สำคัญยังเป็นเมืองเศรษฐกิจอีกเมืองหนึ่งของจังหวัดชลบุรีด้ว.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเทศบาลเมืองศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

ื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เป็นเขื่อนดินกักเก็บน้ำที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สืบค้นวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วม เริ่มดำเนินการก่อสร้างในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 โดยกรมชลประทานเป็นผู้รับผิดชอบ สืบค้นวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

SRT

SRT อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและSRT · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและ26 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การรถไฟแห่งประเทศไทยและ5 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

State Railway of Thailandกรมรถไฟกรมรถไฟหลวงร.ฟ.ท.รฟทรฟท.ขบวนรถรวมขบวนรถสินค้าขบวนรถธรรมดาขบวนรถท้องถิ่นขบวนรถด่วนขบวนรถด่วนพิเศษขบวนรถนำเที่ยวขบวนรถเร็ว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »